SlideShare a Scribd company logo
ห น้ า | ๑

ธัมมะฐิตะกะถา๑
เรื่อง ผู้ดารงอยู่ในธรรม
พหุนฺนปาน ฆรมาวสนฺโต
สทฺโธ มุทู สวิภาคี วทญฺญู
เอเตสุ ธมฺเมสุ ฐิโต จตูสุ
ธมฺเม ฐิโต ปรโลก น ภาเยติฯ
สํ.ส. ๑๕/๒๐๘/๕๙

ณ บัดนี้จักได้แสดงพระธรรมเทศนาในธัมมะฐิตะกะถา ว่าด้วยเรื่องการดารงตนอยู่ในธรรม

โดยอนุรูปแก่ทักษิณานุปทานกิจ ที่คณะเจ้าภาพประกอบด้วยลูกๆ หลานๆ ผู้มีจิตอันประกอบด้วยหิต
สุข มุ่ง ให้สาเร็ จประโยชน์ และเป็ นอปจายนมัย ให้เป็ นไป ในวารดิถีส ตมวารคารบ ๑๐๐ วัน ได้มี
สามัคคีสมานฉันท์พร้อมกันบาเพ็ญ อุทิศวิปากสมบัติปัตติทานมัย เพื่อเป็นธรรมพลีปัจโจปการ แด่คุณ
แม่ย าน มาลี หวล ด้วยกุศลจิต กอปรด้ว ยกตั ญญูกตเวทิต าธรรม ตามเชิงชั้นแห่งสัป ปุริส ชนผู้เป็ น
บัณฑิต ณ ธรรมสภาแห่งนี้ ตามสมควรแก่เวลาสืบไป
การบาเพ็ญกุศลแด่บุพการีชนตามคราวสมัยที่นิ ยมกันนี้ ได้ชื่อว่า ทาแบบอย่าง อันดีงามให้
ปรากฏ ที่ว่าได้ทาแบบไว้นี้ คือได้ทาแบบแผนไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้ดูเป็นตัวอย่าง เป็นการนาทางให้
สามารถปฏิบัติถูกในโอกาสหน้าโดยไม่ขาดสาย การทาแบบนี้มีศาสนโวหารว่า นิทัสสะนะ ดังพระบาลี
ว่า โส ญาติธมฺโม จ อย นิทสฺสิโต แปลว่า “ญาติธรรมนี้ อันท่านทั้งหลายได้ทาเป็นตัวอย่างไว้แล้ว ”
ดังนี้ ส่วนการทาอย่างนั้น หมายถึงได้ทาตามแบบตามอย่างที่บุรพชนได้เคยทากันมาแล้ว เป็นการ
รักษาแบบปฏิบัติไว้เป็นตัวอย่างในอนาคต การทาแบบนี้เรียกตามภาษานิยมว่า ทิฏฐานุคติ คือการ
ดาเนินตามแบบอย่าง ดังนี้ จึงการที่คณะเจ้าภาพได้บาเพ็ญกุศลทักษิณานุปทานอุทิศแด่คุณแม่ยาน
มาลีหวล และญาติๆ ผู้ล่วงลับไปแล้วนี้ นับว่าได้ทาแบบอย่างครบทั้ง ๒ ประการในโอกาสเดียวกัน
คุณแม่ยาน มาลีหวล หรือคุณยายยานตามที่อาตมภาพเคยเรียกขานท่านเมื่อครั้งท่านมาพัก
อยู่ที่วัด ยามบ่าย ยามเย็น เวลาที่มองจากกุฎีของอาตมาไปยังกุฏิหลวงตาอัมพร ฐิตธมฺโม ซึ่งเป็นพระ
ลูกชายของท่าน มักจะเห็นภาพผู้หญิงแก่ๆ คนหนึ่ง นั่งพูดคุยกับลูกชาย หรือไม่ก็นั่งตาหมาก พระเณร
รูปไหนผ่านไปท่านก็มักจะสนทนาถามไถ่อยู่เสมอๆ สิ่งหนึ่งที่อาตมาอดที่จะนามากล่าวไม่ได้ในที่นี้ คือ

๑

พระมหาเฉลิมเกียรติ จิรวฑฺฒโน. เทศน์งานทาบุญ ๑๐๐ วัน คุณยายยาน มาลีหวล ณ วัดป่าโยธาประสิทธิ์ เมื่อวันที่
๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เวลา ๑๐.๐๐ น.
ห น้ า | ๒

คุณยายดูเป็นคนใจเย็น พูดจากสุภาพ มีความอ่อนโยน แม้ลูกๆ ของท่านก็ดูมีบุคลิกภาพเหมือนกัน
ทั้งลูกหญิงลูกชาย ถ้าภาษาโลกเขาเรียกว่าเป็นกรรมพันธุ์ คือมีการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น ท่านเป็นผู้
เจริญด้วยชาติ คือถึงแม้จะเกิดมาในตระกูลที่เป็นชาวไร่ชาวนา แต่ก็ไม่เคยดูถูกชาติตระกูลของตน หมั่น
ประพฤติ ตนเข้า วั ดปฏิ บัติ ธรรมอยู่ เ สมอ ถือว่า มีชาติ ที่เ จริญ ปัจจุบันไม่ส าคัญโยม แต่ ชาติ ที่จะไป
ข้างหน้าสาคัญมากนะ เป็นผู้เจริญด้วยวัย ท่านเป็นหญิงรัตตัญญู ผ่านร้อนผ่านหนาวมามาก ลาบาก
ตรากตราเลี้ยงลูกๆ จนเติบโตได้ดีมีความมั่นคงในชีวิต จนในที่สุดเห็นการทาความดีเพื่อหนีสงสาร
สาคัญเป็นอันดับหนึ่ง และเป็นผู้เจริญด้วยคุณ คือคุณงามความดีทั้งหลาย ดังคากล่าวว่า “แนะให้ทา
นาให้ดู อยู่ให้เห็น เป็นตัวอย่าง” ซึ่งสามารถดูได้จากลูกๆ ของคุณยายแต่ละคน ต่างก็ซึมซับวิถี
ธรรมต่างมา อาจกล่าวได้ว่าลูกๆ จะไม่รู้สึกว่าบุพการีชนของตนได้จากไป เพราะคุณธรรมทั้งหลายที่
ท่านเหล่านั้นเคยพาปฏิบัติยังประทับอยู่ในจิตใจของตน คุณงามความดีของคุณยายยังคงสถิตอยู่ใน
โลกไปตราบนานเท่านาน ไม่เสื่อมสิ้นสูญไปตามสังขารที่เปื่อยเน่าไปตามสภาวะ ดังพระพุทธองค์ตรัสไว้
ว่า รูปํ ชีรติ มจฺจาน นามโคตฺต น ชีรติฯ (ส.ส.๑๕/๒๑๐/๕๙) มีใจความว่า
ตัวตาย กายดับ ลับสูญ
ปฏิกูล เป็นเหยื่อ หมู่หนอน
มีแต่ จมสิ้น ดินดอน
สะท้อน อยู่ทั่ว ชั่วดี
เหลือไว้ ในหล้า ปรากฏ
นอกนั้น พลันลด หมดศรี
ร่างกาย ไม่เที่ยง เยี่ยงนี้
ความดี ทาไว้ เถิดเอย ฯ
การที่คุณยายได้วางตัวปฏิบัติตนจนเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับลูกหลานได้ ก็ด้วยอานาจแห่งใจที่
มุ่งมั่นดารงอยู่ในความไม่ประมาท ดังโบราณว่า “เกิดเป็นคนต้องรู้จักการเตรียมตัวให้พร้อม” เตรียม
ตอนไหน คือเตรียมตัวก่อนตาย ก่อนที่คุณยายจะถูกพญามัจจุราชนาไปนั้น ท่านได้ถือศีลเป็นแม่ชีอยู่
ตลอดเวลา อบรมตนเองให้อยู่ในศีล แถมยังคอยเป็นกาลังใจให้กับลูกๆ ทุกคนในการดิ้นรนต่อสู้ชีวิต
ปฏิปทาในการครองตนของคุณยายได้แสดงให้เห็นว่าท่านเป็นผู้ไม่กลัวต่อการไปสู่ปรโลก คือโลกภาย
ภาคหน้าที่เราทุกคนจะต้องไปกัน โดยไม่รู้ว่าการไปของท่านเหล่านั้นจะได้ไปพบเจอกันอีกหรือเปล่า
สาหรับบุคคลผู้มีการเตรียมตัวไว้พร้อมแล้วย่อมมั่นใจได้ว่าการไปของตนนั้นย่อมมีสภาพที่อยู่ดีมีสุข
ส าหรั บ เรื่ องนี้มี ป รากฏให้ ภี ต สู ต ร เทวตาสั ง ยุ ต ว่ า ในสมั ย พุ ทธกาลมีเ ทวดาตนหนึ่ง กราบทูล ถาม
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า
“ข้าแต่พระโคดมผู้มีปัญญาดุจแผ่นดิน ข้าพระองค์ขอถามถึงเหตุนั้นว่า บุคคล
ตั้งอยู่ในอะไรแล้วไม่พึงกลัวปรโลก” ดังนี้
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสตอบตามพระบาลีที่ได้ยกขึ้นเป็นอุทเทศเบื้องต้ นนั้นว่า พหุนฺนปาน
ฆรมาวสนฺโต ดังนี้เป็นต้น ซึ่งมีใจความว่า
ห น้ า | ๓

“ผู้อยู่ครองเรือนที่มีข้าวและน้ามากตั้งอยู่ในธรรม ๔ ประการเหล่านี้ คือเป็นผู้มี
ศรัทธา เป็นผู้อ่อนโยน เป็นผู้เอื้อเฟ้อเผื่อแผ่ เป็นผู้รู้ใจคนอื่น ชื่อว่าดารงตนอยู่
ในธรรมแล้ว ก็ไม่ต้องกลัวปรโลก” ดังนี้
จากบาลี พุ ท ธพจน์ ก ล่ า วอ้ า งในเบื้ อ งต้ น ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า บุ ค คลผู้ เ ป็ น ฆราวาสอยู่ ค รองเรื อ น
ท่ามกลางภรรยา สามี บุตร ธิดา และสัมพันธชนทั้งหลาย ประกอบอาชีพต่างๆ จนสามารถตั้งตัวได้ มี
ทรัพย์สินมากพอจับจ่ายไม่ฝืดเคือง ที่เรียกว่ามีข้าวและน้ามาก ไม่ลาบากขัดสนด้วยความเป็นอยู่ เป็น
คนประมาทไม่รู้หรือไม่ยอมรับความเป็นจริงว่า สักวันตนและคนเป็นที่รักจะต้องมีการพลัดพรากจากกัน
ไป ปล่อยให้วันคืนล่วงไปๆ ท่ามกลางความสุขจากการทรัพย์สมบัติ และความสุขจากครอบครัว นั่น
มิใช่จะผ่านพ้นล่วงไปเฉพาะวันเวลานาทีเท่านั้น หากแต่ได้พาเอาอายุให้ล่วงเลยไปด้วย ผู้ไม่รู้หรือไม่
ยอมรับความจริงเช่นนี้ย่อมกลัวต่อความตาย และกลัวต่อปรโลกอย่างแน่นอน หากแต่ผู้อยู่ครองเรือน
ที่มีข้าวและน้ามากเช่นนั้น เป็นคนฉลาดมีปัญญารักษาตนและมีสติรั บรู้ยอมรับสภาพความเป็นจริงว่า
ชีวิตนี้มีความตายเป็นที่สุดรอบ ไม่มีใครสามารถหลีกหนีจากอานาจความตายไปได้ ผู้ครองเรือนเมื่อ
ได้รู้อย่างนี้แล้วย่อมหาทางป้องกัน เป็นการเตรียมตัวก่อนไปสู่ปรโลก เปรียบเสมือนคนฉลาดเวลาจะ
ออกเดินทางไกล ย่อมต้องตระเตรียมเสบียงและสิ่งของที่จาเป็นต้องใช้ให้พร้อมสรรพก่อนออกเดินทาง
สิ่งที่เตรียมนั้นย่อมอานวยความสะดวกเวลาเดินทาง ไม่รู้สึกกลัว วิตก ว่าตนจะประสบพบเจออะไรใน
ระหว่างทาง ซึ่งเป็นการตั้งอยู่บนพื้นฐานแห่งความไม่ประมาท
หลักธรรมที่เปรียบเสมือนเสบียงของคนจะออกเดินทางไปสู่ปรโลก มีนัยตามพระบาลีที่ได้ยกมา
กล่าวในเบื้องต้น ได้แก่ธรรม ๔ ประการ คือ ศรัทธา ความอ่อนโยน ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และการ
รู้ใจผู้อื่น ซึ่งมีอรรถาธิบายโดยสังเขปดังนี้
ศรัทธา หมายถึง ความเชื่อ มี ๒ นัยสาคัญ คือเชื่ออย่างมีเหตุผล กับเชื่อแบบไม่มีเหตุผล
เชื่ออย่างมีเหตุผลนั้น จาแนกไว้ ๔ อย่าง คือ เชื่อกรรม เชื่อผลแห่งกรรม เชื่อความที่ทุกคนมีกรรมเป็น
ของตน และเชื่อว่าพระพุ ทธเจ้า ตรัสรู้จริง กล่าวโดยสรุป แล้วก็คือเชื่อตามคาสอนของพระพุทธเจ้า
นั่นเอง ศรัทธานั้นเมื่อเกิดขึ้นภายในใจแล้ว ย่อมทาให้ใจมีความกล้ าหาญ เชื่อมั่นตนเอง สามารถ
กระทากิจที่สุจริตธรรมให้สาเร็จได้ นามาซึ่งความเจริญรุ่งเรืองและความผาสุก ตลอดทั้งเป็นบ่อเกิด
แห่งคุณธรรด้านอื่นด้วย ดังนั้น ศรัทธานักปราชญ์ท่านเปรียบเสมือนเพื่อนสนิทของทุกคน ดังพระบาลี
ว่า สทฺธา ทุติยา ปุริสสฺส โหติ. ศรัทธาเป็นเพื่อนของคน (ส.ส.๑๕/๑๑๓/๓๕)ดังนี้
ความอ่อนโยน หมายถึง เป็นผู้มีอัธยาศัยอ่อนโยน ปราศจากถัมภะคือความดื้อถือรั้นด้วย
ความทรนงตัว เมื่อมีคนมาแนะนาตักเตือนหรือให้สติรู้สึกตัวด้วยความปรารถนาดี และด้วยเหตุด้วยผล
ก็เอื้อเฟื้อรับฟังตั้งแต่ต้นจนจบความ ผู้มีความอ่อนโยนนั้นย่อมประพฤติตัววางตนมีสัมมาคารวะต่อ
ผู้ใหญ่ มีนิสัยไม่กระด้างต่อผู้น้อย หรือคนเสมอกัน วางตนสม่าเสมอ ไม่ดูหมิ่นเหยียดหยามผู้อื่นด้วย
ห น้ า | ๔

มานะ ความถือตัวถือตนว่าเด่นกว่าเขาสูงกว่าเขาทั้งโดยชาติกาเนิด ตระกูล ตาแหน่งหน้าที่ การศึกษา
ผู้มีความอ่อนโยน มีจิตใจอ่อนโยน ไม่กระด้างด้วยทิฏฐิมานะหรือขุ่นมัวฟั่นเฟือนฟุ้งซ่านด้วยนิวรณ์ จิต
ย่อมเป็นสมาธิเร็ว หากใช้ช่องโอกาสนี้ในการบาเพ็ญความเพียรทางจิต
ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ หมายถึง เป็นผู้มีน้าใจแบ่งปันสิ่งของและความสุขที่ตนมีให้แก่ผู้อื่นตาม
สมควรด้วยอัธยาศัยงดงาม ปราศจากความเห็นแก่ตัวและเห็นแก่ได้ มุ่งให้ผู้รับมีความสุข พ้นจาก
ความเดือดร้อนเป็นสาคัญ หลักธรรมข้อนี้เป็นธรรมสาหรับคนที่มีอัธยาศัยกว้างใหญ่ มีน้าใจต่อผู้อื่น
เท่านั้นจึงจะปฏิบัติได้ คนที่มีความตระหนี่ถี่เหนียว เห็นแก่ตัว แม้จะมั่งมีศรีสุขขนาดไหนก็ไม่สามารถ
ประพฤติธรรมข้อนี้ได้เลย ธรรมข้อนี้จัดเป็นสังคหวัตถุธรรม เปรียบเสมือนลิ้มสลักรถที่ยึดชิ้นส่วนของ
รถไว้ฉะนั้น ผู้ปฏิบัติได้ทาบุญ เพราะการให้ที่การเจือจานผู้อื่นด้วยน้าใจเช่นนี้ จัดเป็นทาน คือบุญที่
เกิดจากให้การเสียสละ สามารถฟอกจิตให้สะอาดหมดจด โดยเฉพาะโลภะ ทั้งนี้บุญยังเป็นที่พึ่งของผู้ทา
ได้ในโลกหน้า ดังพระบาลีว่า “ปุญฺญานิ ปรโลกสฺมึ ปติฏฺฐา โหนฺติ ปาณิน แปลความว่า บุญเป็นที่
พึ่งของสัตว์ทั้งหลายในโลกหน้า ” (ส.ส.๑๕/๘๘/๒๖) ดังนี้ แท้ที่จริงการให้การเสียสละทรัพย์พัสดุ
สิ่งของให้แก่ผู้อื่นจะเพื่อสงเคราะห์อนุเคราะห์ก็ดี เพื่อฟอกจิตของตนให้หมดจดจากกิเลสคือโลภะความ
โลภและมัจฉริยะคือความตระหนี่ก็ดี เป็นการถ่ายโอนทรัพย์พัสดุสิ่งของเหล่านั้นออกจากโลกนี้ไปฝาก
เก็บไว้ยังปรโลก เป็นการเตรียมการไว้ล่วงหน้า ก่อนที่ตนจะไปยังสถานที่นั้นๆ
เรื่องนี้มีนันทิยมาณพเป็นตัวอย่าง ซึ่งมีใจความโดยย่อปรากฏว่า นันทิยะมาณพเป็นบุตรของ
ตระกูลที่มีศรัทธา เมื่อบิดามารดาสิ้นไปแล้ว ได้นาทรัพย์สินออกมาจาแนกแจกทานแก่ผู้คนทั้งหลาย
ตั้งโรงทานไว้เพื่อคนกาพร้า คนอนาถา และคนสัญจรไปมา ภายหลังได้สร้างศาลาสี่ห้องไว้ที่ป่าอิสิปต
นะหลังหนึ่ง พร้อมจัดหาข้าวของเครื่องใช้ไว้พร้อม เมื่อสร้างเสร็จก็จัดให้มีการฉลองและน้อมถวาย
เป็นของสงฆ์แด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขณะที่พระสงฆ์ทั้งมวลกาลังอนุโมทนาและนันทิยะมาณพกาลัง
กรวดน้าอยู่นั่นเอง ทันใดนั้นปราสาททิพย์อันประดับประดาด้วยรัตนชาติ มีเหล่านางเทพอัปสรอยู่กัน
พร้อมหน้าก็เกิดผุดขึ้นรอนันทิยะมาณพอยู่ที่สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เรื่องนี้แม้นันทิยะมาณพเองก็ไม่ทราบ
จนกระทั้งพระมหาโมคคัลลานะท่องสวรรค์ไปพบเข้า จึงได้ทราบความเป็นมา แล้ วกลั บมาทูล ถาม
พระพุทธเจ้า ส่งข่าวให้นันทิยะมาณพทราบ ตัวอย่างนี้ชี้ให้เห็นว่าผู้บริจาคเสียสละสิ่ง ใดไว้ สิ่งนั้นย่อม
รอท่าอยู่ในปรโลกแล้ว
การรู้ใจผู้อื่น หมายถึง ความเป็นผู้มีใจประกอบด้วยเมตตากรุณา รู้ความประสงค์ของผู้อื่น
ซึ่งตรงกับภาษาบาลีว่า วทัญญู คือเป็นผู้รู้ อ่านใจคนเป็น มองเห็นอัธยาศัยข้างในของผู้อยู่รอบข้างได้
ใครตกทุกข์ได้ยากก็ยื่นมือเข้าไปช่วยเหลือ มีจิตใจหวั่นไหวเมื่อเห็นผู้อื่นลาบาก แม้ตัวจะลาบากยังไงก็
ต้องเข้าไปช่วย เข้าทานองว่า “มีอะไรอยู่ก็ให้ ได้อะไรมาก็แจก แบกเพื่อให้เขาสบาย ยอมตายเพื่อให้
เขาอยู่เป็นสุข” พฤติกรรมเหล่านี้เป็นลักษณะของมหาบุรุษผู้มุ่งทาประโยชน์เพื่อผู้อื่น หากพิจารณา
ห น้ า | ๕

เห็ น ว่ า เมื่ อ ท าไปแล้ ว จะท าให้ เ กิ ด ประโยชน์ แ ก่ ส่ ว นรวมมากกว่ า ก็ พ อใจที่ จ ะท าอย่ า งนั้ น ท่ า น
เปรียบเสมือนมารดาบิดาที่ปรารถนาจะให้บุตรธิดาของตนอยู่เย็นเป็นสุข
ธรรมทั้ง ๔ ประการ ดังพรรณนามาฉะนี้ เป็นสิ่งที่จะต้องเตรียมไว้ให้พร้อมก่อนไปสู่ปรโลก
หากมีสติระลึกได้และเตรียมตัวพร้อมด้วยธรรมทั้ง ๔ ข้อนี้ไว้ในตนก่อนที่จะพ้นจากโลกนี้ไป ได้ชื่อว่า
ดารงตนอยู่ในธรรม อันเป็นหลักประกันตนว่าเมื่ออยู่ในโลกก็ย่อมไม่ตกต่า ย่อมไพบูลย์ด้วยความสุข
กายสบายใจพรั่งพร้อมด้วยบริวารพวกพ้อง แม้ละจากโลกนี้ไปแล้วก็ย่อมได้สุข เป็นเหตุให้เกิดความ
แกล้วกล้า ทาให้มีหลักประกันว่าเมื่อไปสู่ปรโลกจะไม่เดือนร้อน สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัส
รับรองปลุกใจไว้ว่า ผู้ตั้งอยู่ในธรรม ๔ ประการเหล่านี้ คือ เป็นผู้มีศรัทธา เป็นผู้อ่อนโยน เป็นผู้
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เป็นผู้รู้ใจผู้อื่น ชื่อว่าดารงอยู่ในธรรมแล้วไม่ ต้องกลัวปรโลก คุณยายยาน มาลีหวล
ได้ปฏิบัติธรรมพระบาลีพุทธพจน์นี้ให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูกๆ หลานๆ มาโดยลาดับ มิใช่สักแต่ว่า
แนะนาคนอื่นเท่านั้น ท่านยังได้เตรียมตัวไว้ก่อนตายนานแล้ว การเตรียมตัวนั้นมิใช่เตรียมเมื่อแก่
ชราภาพไม่ หากแต่ต้องเตรียมมาโดยตลอดด้วยความไม่ประมาท เพราะชีวิตเป็นของไม่แน่นอน ไม่มี
นิมิตหมายให้รู้ว่าจะสิ้นสุดลงเมื่อใด แม้วันพรุ่งก็อาจสายเกินไปที่เตรียมตัว ดังนั้น คุณยายยาน มาลี
หวล ถือเป็ นตั ว อย่ า งในเรื่ องนี้ ได้เ ป็ นอย่ า งดี สมควรเป็ นทิ ฏ ฐานุคติ แ ก่อ นุชนรุ่นหลั ง มีนัย ดัง ได้
อรรถาธิบายมา
อิ มิ น า กตปุ ญฺ เ ญน ด้ ว ยอ านาจบุ ญ กิ ริ ย าปั ต ติ ท านมั ย กุ ศ ล ซึ่ ง คณะท่ า นเจ้ า ภาพ อั น
ประกอบด้วยลูกๆ หลานๆ ของคุณยาย ได้ร่วมกันบาเพ็ญให้เป็นไปในวันนี้ ขอจงเป็นพลปัจจัยบังเกิด
เป็นอิฏฐมนุญผลวิปากสมบัติอันเป็นทิพย์ แด่คุณยายยาน มาลีหวล ในสัมปรายภพให้ยิ่งขึ้นไป สม
ดังเจตนาปรารภของทุกท่านตลอดจิรัฐิติกาล
แสดงพระธรรมเทศนาในธัมมฐิตกถา สมสมัยได้เวลา ขอสมมุติยุติลงคงไว้แต่เพียงเท่านี้.
เอว ก็มีด้วยประการฉะนี้ ฯ

More Related Content

What's hot

PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจKruBowbaro
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sudarat Makon
 
พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่Kiat Chaloemkiat
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
Kornnicha Wonglai
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่ คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่ Kat Suksrikong
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34Kittisak Chumnumset
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
Padvee Academy
 
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมพิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
niralai
 
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดาบทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
niralai
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียงjiko2505
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
niralai
 

What's hot (20)

แบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdfแบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจ
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่ คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมพิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
 
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดาบทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 

Viewers also liked

การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดการบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดKiat Chaloemkiat
 
ธรรมบทเทศนาเล่ม1
ธรรมบทเทศนาเล่ม1ธรรมบทเทศนาเล่ม1
ธรรมบทเทศนาเล่ม1Tongsamut vorasan
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย Maha Duangthip Dhamma
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรม
niralai
 
ใบปวารณาทำบุญ
ใบปวารณาทำบุญใบปวารณาทำบุญ
ใบปวารณาทำบุญTongsamut vorasan
 
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพวรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพItt Bandhudhara
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
niralai
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
niralai
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองniralai
 
ข้อคิด...สะกิดใจ
 ข้อคิด...สะกิดใจ  ข้อคิด...สะกิดใจ
ข้อคิด...สะกิดใจ Na Tak
 

Viewers also liked (12)

การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดการบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
 
ธรรมบทเทศนาเล่ม1
ธรรมบทเทศนาเล่ม1ธรรมบทเทศนาเล่ม1
ธรรมบทเทศนาเล่ม1
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรม
 
โลกธรรม ๘
โลกธรรม ๘โลกธรรม ๘
โลกธรรม ๘
 
Pitee 01
Pitee 01Pitee 01
Pitee 01
 
ใบปวารณาทำบุญ
ใบปวารณาทำบุญใบปวารณาทำบุญ
ใบปวารณาทำบุญ
 
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพวรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทอง
 
ข้อคิด...สะกิดใจ
 ข้อคิด...สะกิดใจ  ข้อคิด...สะกิดใจ
ข้อคิด...สะกิดใจ
 

Similar to ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)

บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เมตตาภาวนาและทารุกขันโธปมสูตรMetta and log
เมตตาภาวนาและทารุกขันโธปมสูตรMetta and logเมตตาภาวนาและทารุกขันโธปมสูตรMetta and log
เมตตาภาวนาและทารุกขันโธปมสูตรMetta and logบริษัทปุ้มปุ้ย
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
Carzanova
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
Songsarid Ruecha
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนDinhin Rakpong-Asoke
 
ประวัติและความสำคัญของพุทธศาสนา
ประวัติและความสำคัญของพุทธศาสนาประวัติและความสำคัญของพุทธศาสนา
ประวัติและความสำคัญของพุทธศาสนา
ครูพัฒวิทย์ ครูพัฒวิทย์
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
บทแผ่เมตตาหลังสมาธิ
บทแผ่เมตตาหลังสมาธิบทแผ่เมตตาหลังสมาธิ
บทแผ่เมตตาหลังสมาธิ
Pojjanee Paniangvait
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
Padvee Academy
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
Pojjanee Paniangvait
 
๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf
๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf
๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 

Similar to ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล) (20)

บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
เมตตาภาวนาและทารุกขันโธปมสูตรMetta and log
เมตตาภาวนาและทารุกขันโธปมสูตรMetta and logเมตตาภาวนาและทารุกขันโธปมสูตรMetta and log
เมตตาภาวนาและทารุกขันโธปมสูตรMetta and log
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจน
 
ประวัติและความสำคัญของพุทธศาสนา
ประวัติและความสำคัญของพุทธศาสนาประวัติและความสำคัญของพุทธศาสนา
ประวัติและความสำคัญของพุทธศาสนา
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
 
บทแผ่เมตตาหลังสมาธิ
บทแผ่เมตตาหลังสมาธิบทแผ่เมตตาหลังสมาธิ
บทแผ่เมตตาหลังสมาธิ
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
 
5-kamma.pdf
5-kamma.pdf5-kamma.pdf
5-kamma.pdf
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
 
Suffeco po(2)
Suffeco po(2)Suffeco po(2)
Suffeco po(2)
 
King film
King filmKing film
King film
 
1กับ2pdf
1กับ2pdf1กับ2pdf
1กับ2pdf
 
๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf
๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf
๐๘ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มจร.pdf
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 

More from Kiat Chaloemkiat

กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นกระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นKiat Chaloemkiat
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้Kiat Chaloemkiat
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมKiat Chaloemkiat
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมKiat Chaloemkiat
 
กัยลาณธรรม
กัยลาณธรรมกัยลาณธรรม
กัยลาณธรรมKiat Chaloemkiat
 
เทวตาธรรม
เทวตาธรรมเทวตาธรรม
เทวตาธรรมKiat Chaloemkiat
 
เมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลกเมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลกKiat Chaloemkiat
 
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์Kiat Chaloemkiat
 
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔Kiat Chaloemkiat
 
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกKiat Chaloemkiat
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีKiat Chaloemkiat
 
ร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนาร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนาKiat Chaloemkiat
 
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโลคำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโลKiat Chaloemkiat
 
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณพระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณKiat Chaloemkiat
 

More from Kiat Chaloemkiat (14)

กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นกระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
 
กัยลาณธรรม
กัยลาณธรรมกัยลาณธรรม
กัยลาณธรรม
 
เทวตาธรรม
เทวตาธรรมเทวตาธรรม
เทวตาธรรม
 
เมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลกเมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลก
 
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
 
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
 
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
 
ร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนาร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนา
 
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโลคำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล
 
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณพระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
 

ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)

  • 1. ห น้ า | ๑ ธัมมะฐิตะกะถา๑ เรื่อง ผู้ดารงอยู่ในธรรม พหุนฺนปาน ฆรมาวสนฺโต สทฺโธ มุทู สวิภาคี วทญฺญู เอเตสุ ธมฺเมสุ ฐิโต จตูสุ ธมฺเม ฐิโต ปรโลก น ภาเยติฯ สํ.ส. ๑๕/๒๐๘/๕๙ ณ บัดนี้จักได้แสดงพระธรรมเทศนาในธัมมะฐิตะกะถา ว่าด้วยเรื่องการดารงตนอยู่ในธรรม โดยอนุรูปแก่ทักษิณานุปทานกิจ ที่คณะเจ้าภาพประกอบด้วยลูกๆ หลานๆ ผู้มีจิตอันประกอบด้วยหิต สุข มุ่ง ให้สาเร็ จประโยชน์ และเป็ นอปจายนมัย ให้เป็ นไป ในวารดิถีส ตมวารคารบ ๑๐๐ วัน ได้มี สามัคคีสมานฉันท์พร้อมกันบาเพ็ญ อุทิศวิปากสมบัติปัตติทานมัย เพื่อเป็นธรรมพลีปัจโจปการ แด่คุณ แม่ย าน มาลี หวล ด้วยกุศลจิต กอปรด้ว ยกตั ญญูกตเวทิต าธรรม ตามเชิงชั้นแห่งสัป ปุริส ชนผู้เป็ น บัณฑิต ณ ธรรมสภาแห่งนี้ ตามสมควรแก่เวลาสืบไป การบาเพ็ญกุศลแด่บุพการีชนตามคราวสมัยที่นิ ยมกันนี้ ได้ชื่อว่า ทาแบบอย่าง อันดีงามให้ ปรากฏ ที่ว่าได้ทาแบบไว้นี้ คือได้ทาแบบแผนไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้ดูเป็นตัวอย่าง เป็นการนาทางให้ สามารถปฏิบัติถูกในโอกาสหน้าโดยไม่ขาดสาย การทาแบบนี้มีศาสนโวหารว่า นิทัสสะนะ ดังพระบาลี ว่า โส ญาติธมฺโม จ อย นิทสฺสิโต แปลว่า “ญาติธรรมนี้ อันท่านทั้งหลายได้ทาเป็นตัวอย่างไว้แล้ว ” ดังนี้ ส่วนการทาอย่างนั้น หมายถึงได้ทาตามแบบตามอย่างที่บุรพชนได้เคยทากันมาแล้ว เป็นการ รักษาแบบปฏิบัติไว้เป็นตัวอย่างในอนาคต การทาแบบนี้เรียกตามภาษานิยมว่า ทิฏฐานุคติ คือการ ดาเนินตามแบบอย่าง ดังนี้ จึงการที่คณะเจ้าภาพได้บาเพ็ญกุศลทักษิณานุปทานอุทิศแด่คุณแม่ยาน มาลีหวล และญาติๆ ผู้ล่วงลับไปแล้วนี้ นับว่าได้ทาแบบอย่างครบทั้ง ๒ ประการในโอกาสเดียวกัน คุณแม่ยาน มาลีหวล หรือคุณยายยานตามที่อาตมภาพเคยเรียกขานท่านเมื่อครั้งท่านมาพัก อยู่ที่วัด ยามบ่าย ยามเย็น เวลาที่มองจากกุฎีของอาตมาไปยังกุฏิหลวงตาอัมพร ฐิตธมฺโม ซึ่งเป็นพระ ลูกชายของท่าน มักจะเห็นภาพผู้หญิงแก่ๆ คนหนึ่ง นั่งพูดคุยกับลูกชาย หรือไม่ก็นั่งตาหมาก พระเณร รูปไหนผ่านไปท่านก็มักจะสนทนาถามไถ่อยู่เสมอๆ สิ่งหนึ่งที่อาตมาอดที่จะนามากล่าวไม่ได้ในที่นี้ คือ ๑ พระมหาเฉลิมเกียรติ จิรวฑฺฒโน. เทศน์งานทาบุญ ๑๐๐ วัน คุณยายยาน มาลีหวล ณ วัดป่าโยธาประสิทธิ์ เมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เวลา ๑๐.๐๐ น.
  • 2. ห น้ า | ๒ คุณยายดูเป็นคนใจเย็น พูดจากสุภาพ มีความอ่อนโยน แม้ลูกๆ ของท่านก็ดูมีบุคลิกภาพเหมือนกัน ทั้งลูกหญิงลูกชาย ถ้าภาษาโลกเขาเรียกว่าเป็นกรรมพันธุ์ คือมีการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น ท่านเป็นผู้ เจริญด้วยชาติ คือถึงแม้จะเกิดมาในตระกูลที่เป็นชาวไร่ชาวนา แต่ก็ไม่เคยดูถูกชาติตระกูลของตน หมั่น ประพฤติ ตนเข้า วั ดปฏิ บัติ ธรรมอยู่ เ สมอ ถือว่า มีชาติ ที่เ จริญ ปัจจุบันไม่ส าคัญโยม แต่ ชาติ ที่จะไป ข้างหน้าสาคัญมากนะ เป็นผู้เจริญด้วยวัย ท่านเป็นหญิงรัตตัญญู ผ่านร้อนผ่านหนาวมามาก ลาบาก ตรากตราเลี้ยงลูกๆ จนเติบโตได้ดีมีความมั่นคงในชีวิต จนในที่สุดเห็นการทาความดีเพื่อหนีสงสาร สาคัญเป็นอันดับหนึ่ง และเป็นผู้เจริญด้วยคุณ คือคุณงามความดีทั้งหลาย ดังคากล่าวว่า “แนะให้ทา นาให้ดู อยู่ให้เห็น เป็นตัวอย่าง” ซึ่งสามารถดูได้จากลูกๆ ของคุณยายแต่ละคน ต่างก็ซึมซับวิถี ธรรมต่างมา อาจกล่าวได้ว่าลูกๆ จะไม่รู้สึกว่าบุพการีชนของตนได้จากไป เพราะคุณธรรมทั้งหลายที่ ท่านเหล่านั้นเคยพาปฏิบัติยังประทับอยู่ในจิตใจของตน คุณงามความดีของคุณยายยังคงสถิตอยู่ใน โลกไปตราบนานเท่านาน ไม่เสื่อมสิ้นสูญไปตามสังขารที่เปื่อยเน่าไปตามสภาวะ ดังพระพุทธองค์ตรัสไว้ ว่า รูปํ ชีรติ มจฺจาน นามโคตฺต น ชีรติฯ (ส.ส.๑๕/๒๑๐/๕๙) มีใจความว่า ตัวตาย กายดับ ลับสูญ ปฏิกูล เป็นเหยื่อ หมู่หนอน มีแต่ จมสิ้น ดินดอน สะท้อน อยู่ทั่ว ชั่วดี เหลือไว้ ในหล้า ปรากฏ นอกนั้น พลันลด หมดศรี ร่างกาย ไม่เที่ยง เยี่ยงนี้ ความดี ทาไว้ เถิดเอย ฯ การที่คุณยายได้วางตัวปฏิบัติตนจนเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับลูกหลานได้ ก็ด้วยอานาจแห่งใจที่ มุ่งมั่นดารงอยู่ในความไม่ประมาท ดังโบราณว่า “เกิดเป็นคนต้องรู้จักการเตรียมตัวให้พร้อม” เตรียม ตอนไหน คือเตรียมตัวก่อนตาย ก่อนที่คุณยายจะถูกพญามัจจุราชนาไปนั้น ท่านได้ถือศีลเป็นแม่ชีอยู่ ตลอดเวลา อบรมตนเองให้อยู่ในศีล แถมยังคอยเป็นกาลังใจให้กับลูกๆ ทุกคนในการดิ้นรนต่อสู้ชีวิต ปฏิปทาในการครองตนของคุณยายได้แสดงให้เห็นว่าท่านเป็นผู้ไม่กลัวต่อการไปสู่ปรโลก คือโลกภาย ภาคหน้าที่เราทุกคนจะต้องไปกัน โดยไม่รู้ว่าการไปของท่านเหล่านั้นจะได้ไปพบเจอกันอีกหรือเปล่า สาหรับบุคคลผู้มีการเตรียมตัวไว้พร้อมแล้วย่อมมั่นใจได้ว่าการไปของตนนั้นย่อมมีสภาพที่อยู่ดีมีสุข ส าหรั บ เรื่ องนี้มี ป รากฏให้ ภี ต สู ต ร เทวตาสั ง ยุ ต ว่ า ในสมั ย พุ ทธกาลมีเ ทวดาตนหนึ่ง กราบทูล ถาม พระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า “ข้าแต่พระโคดมผู้มีปัญญาดุจแผ่นดิน ข้าพระองค์ขอถามถึงเหตุนั้นว่า บุคคล ตั้งอยู่ในอะไรแล้วไม่พึงกลัวปรโลก” ดังนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสตอบตามพระบาลีที่ได้ยกขึ้นเป็นอุทเทศเบื้องต้ นนั้นว่า พหุนฺนปาน ฆรมาวสนฺโต ดังนี้เป็นต้น ซึ่งมีใจความว่า
  • 3. ห น้ า | ๓ “ผู้อยู่ครองเรือนที่มีข้าวและน้ามากตั้งอยู่ในธรรม ๔ ประการเหล่านี้ คือเป็นผู้มี ศรัทธา เป็นผู้อ่อนโยน เป็นผู้เอื้อเฟ้อเผื่อแผ่ เป็นผู้รู้ใจคนอื่น ชื่อว่าดารงตนอยู่ ในธรรมแล้ว ก็ไม่ต้องกลัวปรโลก” ดังนี้ จากบาลี พุ ท ธพจน์ ก ล่ า วอ้ า งในเบื้ อ งต้ น ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า บุ ค คลผู้ เ ป็ น ฆราวาสอยู่ ค รองเรื อ น ท่ามกลางภรรยา สามี บุตร ธิดา และสัมพันธชนทั้งหลาย ประกอบอาชีพต่างๆ จนสามารถตั้งตัวได้ มี ทรัพย์สินมากพอจับจ่ายไม่ฝืดเคือง ที่เรียกว่ามีข้าวและน้ามาก ไม่ลาบากขัดสนด้วยความเป็นอยู่ เป็น คนประมาทไม่รู้หรือไม่ยอมรับความเป็นจริงว่า สักวันตนและคนเป็นที่รักจะต้องมีการพลัดพรากจากกัน ไป ปล่อยให้วันคืนล่วงไปๆ ท่ามกลางความสุขจากการทรัพย์สมบัติ และความสุขจากครอบครัว นั่น มิใช่จะผ่านพ้นล่วงไปเฉพาะวันเวลานาทีเท่านั้น หากแต่ได้พาเอาอายุให้ล่วงเลยไปด้วย ผู้ไม่รู้หรือไม่ ยอมรับความจริงเช่นนี้ย่อมกลัวต่อความตาย และกลัวต่อปรโลกอย่างแน่นอน หากแต่ผู้อยู่ครองเรือน ที่มีข้าวและน้ามากเช่นนั้น เป็นคนฉลาดมีปัญญารักษาตนและมีสติรั บรู้ยอมรับสภาพความเป็นจริงว่า ชีวิตนี้มีความตายเป็นที่สุดรอบ ไม่มีใครสามารถหลีกหนีจากอานาจความตายไปได้ ผู้ครองเรือนเมื่อ ได้รู้อย่างนี้แล้วย่อมหาทางป้องกัน เป็นการเตรียมตัวก่อนไปสู่ปรโลก เปรียบเสมือนคนฉลาดเวลาจะ ออกเดินทางไกล ย่อมต้องตระเตรียมเสบียงและสิ่งของที่จาเป็นต้องใช้ให้พร้อมสรรพก่อนออกเดินทาง สิ่งที่เตรียมนั้นย่อมอานวยความสะดวกเวลาเดินทาง ไม่รู้สึกกลัว วิตก ว่าตนจะประสบพบเจออะไรใน ระหว่างทาง ซึ่งเป็นการตั้งอยู่บนพื้นฐานแห่งความไม่ประมาท หลักธรรมที่เปรียบเสมือนเสบียงของคนจะออกเดินทางไปสู่ปรโลก มีนัยตามพระบาลีที่ได้ยกมา กล่าวในเบื้องต้น ได้แก่ธรรม ๔ ประการ คือ ศรัทธา ความอ่อนโยน ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และการ รู้ใจผู้อื่น ซึ่งมีอรรถาธิบายโดยสังเขปดังนี้ ศรัทธา หมายถึง ความเชื่อ มี ๒ นัยสาคัญ คือเชื่ออย่างมีเหตุผล กับเชื่อแบบไม่มีเหตุผล เชื่ออย่างมีเหตุผลนั้น จาแนกไว้ ๔ อย่าง คือ เชื่อกรรม เชื่อผลแห่งกรรม เชื่อความที่ทุกคนมีกรรมเป็น ของตน และเชื่อว่าพระพุ ทธเจ้า ตรัสรู้จริง กล่าวโดยสรุป แล้วก็คือเชื่อตามคาสอนของพระพุทธเจ้า นั่นเอง ศรัทธานั้นเมื่อเกิดขึ้นภายในใจแล้ว ย่อมทาให้ใจมีความกล้ าหาญ เชื่อมั่นตนเอง สามารถ กระทากิจที่สุจริตธรรมให้สาเร็จได้ นามาซึ่งความเจริญรุ่งเรืองและความผาสุก ตลอดทั้งเป็นบ่อเกิด แห่งคุณธรรด้านอื่นด้วย ดังนั้น ศรัทธานักปราชญ์ท่านเปรียบเสมือนเพื่อนสนิทของทุกคน ดังพระบาลี ว่า สทฺธา ทุติยา ปุริสสฺส โหติ. ศรัทธาเป็นเพื่อนของคน (ส.ส.๑๕/๑๑๓/๓๕)ดังนี้ ความอ่อนโยน หมายถึง เป็นผู้มีอัธยาศัยอ่อนโยน ปราศจากถัมภะคือความดื้อถือรั้นด้วย ความทรนงตัว เมื่อมีคนมาแนะนาตักเตือนหรือให้สติรู้สึกตัวด้วยความปรารถนาดี และด้วยเหตุด้วยผล ก็เอื้อเฟื้อรับฟังตั้งแต่ต้นจนจบความ ผู้มีความอ่อนโยนนั้นย่อมประพฤติตัววางตนมีสัมมาคารวะต่อ ผู้ใหญ่ มีนิสัยไม่กระด้างต่อผู้น้อย หรือคนเสมอกัน วางตนสม่าเสมอ ไม่ดูหมิ่นเหยียดหยามผู้อื่นด้วย
  • 4. ห น้ า | ๔ มานะ ความถือตัวถือตนว่าเด่นกว่าเขาสูงกว่าเขาทั้งโดยชาติกาเนิด ตระกูล ตาแหน่งหน้าที่ การศึกษา ผู้มีความอ่อนโยน มีจิตใจอ่อนโยน ไม่กระด้างด้วยทิฏฐิมานะหรือขุ่นมัวฟั่นเฟือนฟุ้งซ่านด้วยนิวรณ์ จิต ย่อมเป็นสมาธิเร็ว หากใช้ช่องโอกาสนี้ในการบาเพ็ญความเพียรทางจิต ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ หมายถึง เป็นผู้มีน้าใจแบ่งปันสิ่งของและความสุขที่ตนมีให้แก่ผู้อื่นตาม สมควรด้วยอัธยาศัยงดงาม ปราศจากความเห็นแก่ตัวและเห็นแก่ได้ มุ่งให้ผู้รับมีความสุข พ้นจาก ความเดือดร้อนเป็นสาคัญ หลักธรรมข้อนี้เป็นธรรมสาหรับคนที่มีอัธยาศัยกว้างใหญ่ มีน้าใจต่อผู้อื่น เท่านั้นจึงจะปฏิบัติได้ คนที่มีความตระหนี่ถี่เหนียว เห็นแก่ตัว แม้จะมั่งมีศรีสุขขนาดไหนก็ไม่สามารถ ประพฤติธรรมข้อนี้ได้เลย ธรรมข้อนี้จัดเป็นสังคหวัตถุธรรม เปรียบเสมือนลิ้มสลักรถที่ยึดชิ้นส่วนของ รถไว้ฉะนั้น ผู้ปฏิบัติได้ทาบุญ เพราะการให้ที่การเจือจานผู้อื่นด้วยน้าใจเช่นนี้ จัดเป็นทาน คือบุญที่ เกิดจากให้การเสียสละ สามารถฟอกจิตให้สะอาดหมดจด โดยเฉพาะโลภะ ทั้งนี้บุญยังเป็นที่พึ่งของผู้ทา ได้ในโลกหน้า ดังพระบาลีว่า “ปุญฺญานิ ปรโลกสฺมึ ปติฏฺฐา โหนฺติ ปาณิน แปลความว่า บุญเป็นที่ พึ่งของสัตว์ทั้งหลายในโลกหน้า ” (ส.ส.๑๕/๘๘/๒๖) ดังนี้ แท้ที่จริงการให้การเสียสละทรัพย์พัสดุ สิ่งของให้แก่ผู้อื่นจะเพื่อสงเคราะห์อนุเคราะห์ก็ดี เพื่อฟอกจิตของตนให้หมดจดจากกิเลสคือโลภะความ โลภและมัจฉริยะคือความตระหนี่ก็ดี เป็นการถ่ายโอนทรัพย์พัสดุสิ่งของเหล่านั้นออกจากโลกนี้ไปฝาก เก็บไว้ยังปรโลก เป็นการเตรียมการไว้ล่วงหน้า ก่อนที่ตนจะไปยังสถานที่นั้นๆ เรื่องนี้มีนันทิยมาณพเป็นตัวอย่าง ซึ่งมีใจความโดยย่อปรากฏว่า นันทิยะมาณพเป็นบุตรของ ตระกูลที่มีศรัทธา เมื่อบิดามารดาสิ้นไปแล้ว ได้นาทรัพย์สินออกมาจาแนกแจกทานแก่ผู้คนทั้งหลาย ตั้งโรงทานไว้เพื่อคนกาพร้า คนอนาถา และคนสัญจรไปมา ภายหลังได้สร้างศาลาสี่ห้องไว้ที่ป่าอิสิปต นะหลังหนึ่ง พร้อมจัดหาข้าวของเครื่องใช้ไว้พร้อม เมื่อสร้างเสร็จก็จัดให้มีการฉลองและน้อมถวาย เป็นของสงฆ์แด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขณะที่พระสงฆ์ทั้งมวลกาลังอนุโมทนาและนันทิยะมาณพกาลัง กรวดน้าอยู่นั่นเอง ทันใดนั้นปราสาททิพย์อันประดับประดาด้วยรัตนชาติ มีเหล่านางเทพอัปสรอยู่กัน พร้อมหน้าก็เกิดผุดขึ้นรอนันทิยะมาณพอยู่ที่สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เรื่องนี้แม้นันทิยะมาณพเองก็ไม่ทราบ จนกระทั้งพระมหาโมคคัลลานะท่องสวรรค์ไปพบเข้า จึงได้ทราบความเป็นมา แล้ วกลั บมาทูล ถาม พระพุทธเจ้า ส่งข่าวให้นันทิยะมาณพทราบ ตัวอย่างนี้ชี้ให้เห็นว่าผู้บริจาคเสียสละสิ่ง ใดไว้ สิ่งนั้นย่อม รอท่าอยู่ในปรโลกแล้ว การรู้ใจผู้อื่น หมายถึง ความเป็นผู้มีใจประกอบด้วยเมตตากรุณา รู้ความประสงค์ของผู้อื่น ซึ่งตรงกับภาษาบาลีว่า วทัญญู คือเป็นผู้รู้ อ่านใจคนเป็น มองเห็นอัธยาศัยข้างในของผู้อยู่รอบข้างได้ ใครตกทุกข์ได้ยากก็ยื่นมือเข้าไปช่วยเหลือ มีจิตใจหวั่นไหวเมื่อเห็นผู้อื่นลาบาก แม้ตัวจะลาบากยังไงก็ ต้องเข้าไปช่วย เข้าทานองว่า “มีอะไรอยู่ก็ให้ ได้อะไรมาก็แจก แบกเพื่อให้เขาสบาย ยอมตายเพื่อให้ เขาอยู่เป็นสุข” พฤติกรรมเหล่านี้เป็นลักษณะของมหาบุรุษผู้มุ่งทาประโยชน์เพื่อผู้อื่น หากพิจารณา
  • 5. ห น้ า | ๕ เห็ น ว่ า เมื่ อ ท าไปแล้ ว จะท าให้ เ กิ ด ประโยชน์ แ ก่ ส่ ว นรวมมากกว่ า ก็ พ อใจที่ จ ะท าอย่ า งนั้ น ท่ า น เปรียบเสมือนมารดาบิดาที่ปรารถนาจะให้บุตรธิดาของตนอยู่เย็นเป็นสุข ธรรมทั้ง ๔ ประการ ดังพรรณนามาฉะนี้ เป็นสิ่งที่จะต้องเตรียมไว้ให้พร้อมก่อนไปสู่ปรโลก หากมีสติระลึกได้และเตรียมตัวพร้อมด้วยธรรมทั้ง ๔ ข้อนี้ไว้ในตนก่อนที่จะพ้นจากโลกนี้ไป ได้ชื่อว่า ดารงตนอยู่ในธรรม อันเป็นหลักประกันตนว่าเมื่ออยู่ในโลกก็ย่อมไม่ตกต่า ย่อมไพบูลย์ด้วยความสุข กายสบายใจพรั่งพร้อมด้วยบริวารพวกพ้อง แม้ละจากโลกนี้ไปแล้วก็ย่อมได้สุข เป็นเหตุให้เกิดความ แกล้วกล้า ทาให้มีหลักประกันว่าเมื่อไปสู่ปรโลกจะไม่เดือนร้อน สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัส รับรองปลุกใจไว้ว่า ผู้ตั้งอยู่ในธรรม ๔ ประการเหล่านี้ คือ เป็นผู้มีศรัทธา เป็นผู้อ่อนโยน เป็นผู้ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เป็นผู้รู้ใจผู้อื่น ชื่อว่าดารงอยู่ในธรรมแล้วไม่ ต้องกลัวปรโลก คุณยายยาน มาลีหวล ได้ปฏิบัติธรรมพระบาลีพุทธพจน์นี้ให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูกๆ หลานๆ มาโดยลาดับ มิใช่สักแต่ว่า แนะนาคนอื่นเท่านั้น ท่านยังได้เตรียมตัวไว้ก่อนตายนานแล้ว การเตรียมตัวนั้นมิใช่เตรียมเมื่อแก่ ชราภาพไม่ หากแต่ต้องเตรียมมาโดยตลอดด้วยความไม่ประมาท เพราะชีวิตเป็นของไม่แน่นอน ไม่มี นิมิตหมายให้รู้ว่าจะสิ้นสุดลงเมื่อใด แม้วันพรุ่งก็อาจสายเกินไปที่เตรียมตัว ดังนั้น คุณยายยาน มาลี หวล ถือเป็ นตั ว อย่ า งในเรื่ องนี้ ได้เ ป็ นอย่ า งดี สมควรเป็ นทิ ฏ ฐานุคติ แ ก่อ นุชนรุ่นหลั ง มีนัย ดัง ได้ อรรถาธิบายมา อิ มิ น า กตปุ ญฺ เ ญน ด้ ว ยอ านาจบุ ญ กิ ริ ย าปั ต ติ ท านมั ย กุ ศ ล ซึ่ ง คณะท่ า นเจ้ า ภาพ อั น ประกอบด้วยลูกๆ หลานๆ ของคุณยาย ได้ร่วมกันบาเพ็ญให้เป็นไปในวันนี้ ขอจงเป็นพลปัจจัยบังเกิด เป็นอิฏฐมนุญผลวิปากสมบัติอันเป็นทิพย์ แด่คุณยายยาน มาลีหวล ในสัมปรายภพให้ยิ่งขึ้นไป สม ดังเจตนาปรารภของทุกท่านตลอดจิรัฐิติกาล แสดงพระธรรมเทศนาในธัมมฐิตกถา สมสมัยได้เวลา ขอสมมุติยุติลงคงไว้แต่เพียงเท่านี้. เอว ก็มีด้วยประการฉะนี้ ฯ