SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
บทที่ 7
นวัตกรรมทางการศึกษา
โดย
553050054-8 นางสาวกัลยาณี ทองทับ
553050090-4 นางสาวภัทรสุดา ประสานพันธ์
553050102-3 นางสาวศศิธร พลไธสง
สถานการณ์ปัญหา
(Problem-based learning)
อธิบายความหมายและจาแนกประเภทของ
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
ความหมาย
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ คือ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นการสร้างความรู้
ด้วยตนเอง โดยการลงมือกระทาหรือปฏิบัติที่ผ่านกระบวนการคิด และ
อาศัยประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิมที่มีอยู่แล้วเชื่อมโยงกับ
ประสบการณ์ใหม่หรือความรู้ใหม่ เพื่อขยายโครงสร้างทางปัญญา
(Schema) ซึ่งผู้เรียนต้องเป็นผู้สร้างและขยายโครงสร้างทางปัญญา
ด้วยตนเอง โดยครูเป็ นผู้จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้หรือสร้าง
ความรู้ของผู้เรียน ด้วยการนาวิธีการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมหรือสื่อ
ตลอดจนภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ร่วมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ
เรียนรู้
ประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็น
ออกแบบโดยใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เป็นพื้นฐานที่ประสานร่วมกับ
คุณลักษณะของสื่อบนเครือข่ายที่สนองต่อการสร้างความรู้ของผู้เรียน
2) 2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เป็นการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิ
สต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ โดยประสานร่วมกับคุณลักษณะของ
มัลติมีเดียที่นาเสนอทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง
รวมทั้งการเชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlink)
3) ชุดสร้างความรู้ เป็นการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการ
ออกแบบ โดยประสานร่วมกับการนาสื่อประเภทต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์
หนังสือ วีดีทัศน์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น อุปกรณ์การทดลอง รวมทั้งกิจกรรม
ต่างๆ มาใช้ร่วมกัน
วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้
สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้
นวัตกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะ คือ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
คอมพิวเตอร์ถูกขึ้นและพัฒนานามาประยุกต์ใช้เพื่อการเรียนการสอน
และการบริหารงานด้านการเรียนการ สอนต่างๆ ในการนาเสนอสาระ
ความรู้ (Tutor) เป็นเครื่องมือ (Tool) ประกอบการเรียนการสอน
และใช้เป็นเครื่องมือฝึ ก (Tutee) ทักษะในด้านต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้
นักเรียนสนใจในบทเรียนที่แตกต่างไปจากที่เคยเจอในห้องเรียนทุกวัน
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์
นวัตกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะ คือ E-learning ซึ่งผู้เรียนสามารถเรียน
ได้ทุกที่ทุกเวลา โดยระบบนี้จะตอบโต้ระหว่างผู้เรียนกับระบบได้
ผู้เรียนสามารถกาหนดเนื้อหาที่ต้องการจะเรียนและยังเชื่อมโยงข้อมูล
การเรียนรู้ไปกับคนอื่นอีกด้วย ซึ่งการเรียนแบบนี้จะเป็นห้องเรียน
เสมือนจริงเป็นการเปิดโลกทัศน์ทางการศึกษาใหม่ๆให้นักเรียนเพราะมี
การนาเทคโนโลยี มัลติมีเดีย ภาพและเสียงเข้ามามีส่วนช่วยในการศึกษา
โรงเรียนมหาชัย
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
นวัตกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะ คือ หน่วยการเรียนการสอน หรือ บทเรียน
แบบโมดูล ซึ่งมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย
โปรแกรมเป็นโครงร่างไม่เกิดความซ้าซ้อน สิ่งที่สาคัญคือ ยึดผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง เน้นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง โดยใช้เทคนิควิธีการสอนแบบ
ต่างๆไว้หลายอย่างโดยมีหลักการและเหตุผล สมรรถภาพพื้นฐาน
จุดประสงค์ การประเมินผลก่อนและหลังเรียนและมีการเรียนซ่อมเสริม
เพื่อให้เหมาะสมกับผู้เรียน
จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบท
ที่ 7 ให้นักศึกษาเสนอนวัตกรรมการเรียนรู้ที่
สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะ
ปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
E-learning วิชาคณิตศาสตร์
ซึ่งจะนามาให้นักเรียนได้ศึกษาในลักษณะออนไลน์ หรือ จากแผ่น
ซีดี-รอมก็ได้ และที่สาคัญอีกส่วนคือ เนื้อหาต่างๆ ของ e-Learning
สามารถนาเสนอโดยอาศัยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia
Technology) และเทคโนโลยีเชิงโต้ตอบ (Interactive
Technology) จะจัดการเรียนการสอนโดยให้นักเรียนเข้าสู่
บทเรียนและมีวีดีโออธิบายบทเรียนพร้อมทาแบบฝึกหัดทบทวนและทิ้ง
คาถามที่ไม่เข้าใจไว้ การเรียนแบบนี้จะทาให้ผู้เรียนเข้าเรียนได้
ตลอดเวลาและมีผู้สอนเป็นผู้ช่วยเหลือในการเรียน

More Related Content

What's hot

ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Charuni Samat
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
Rainbow Tiwa
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
Mod DW
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
Fern's Supakyada
 
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
Sana T
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
panggoo
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
Vachii Ra
 
พฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมพฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยม
Eye E'mon Rattanasiha
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
Kiw E D
 

What's hot (20)

ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
พฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมพฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยม
 
09 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv209 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv2
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kw
 

Similar to บทที่ 7นวัต

บทที่สองนวัตกรรม22
บทที่สองนวัตกรรม22บทที่สองนวัตกรรม22
บทที่สองนวัตกรรม22
Bome Fado
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
Weerachat Martluplao
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
Darika Roopdee
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
Albert Sigum
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
Sukanya Burana
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
moohmed
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
noiiso_M2
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่
Moss Worapong
 

Similar to บทที่ 7นวัต (20)

บทที่สองนวัตกรรม22
บทที่สองนวัตกรรม22บทที่สองนวัตกรรม22
บทที่สองนวัตกรรม22
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
Chapter 7
Chapter  7 Chapter  7
Chapter 7
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 

บทที่ 7นวัต