SlideShare a Scribd company logo
ศึกษาเรืองหนีตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
                                                                                         ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศ์ พรพวัณ
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความเบืองต้น
          เมือเอ่ยถึง“หนี” ไม่มีใครอยากมี อยากเป็ น หรื ออยากติดหนีใครๆ เพราะคําว่าหนี มีสภาวะทีแบกไว้
ซึงภาระไม่หนักก็เบาอย่างใดอย่างหนึง หรื อบางคนอาจจะปฏิเสธทันทีเมือได้ยินคําว่าหนี นี ว่า ฉันไม่เคยมี
หนี และไม่คิดอยากจะเป็ นหนีใคร โดยยึดหลักพุทธสุภาษิตทีว่า “อิณํ ทุกฺขํ โลเก” แปลว่า “การเป็ นหนีเป็ น
ทุกข์ ในโลก” แต่ก็ยงมีคนอีกจํานวนมากทีชอบเอาชีวิตไปผูกพันอยู่กบหนี จนบางครั งมีหนี สิ นล้นพ้นตัวจน
                       ั                                                         ั
ไม่สามารถจะใช้หนี ได้ เมือถูกเจ้าหนี ทวงมากเข้าหาทางออกไม่เจอตัดสิ นใจปลิดชีวิตตัวเองเพือปลดหนี
ให้แก่เจ้ากรรมนายเวรไปก็มีมากถมไปในสังคมปัจจุบน                 ั
          แท้จริ งแล้ว ทุกคนทีเกิดมาในโลกนี ล้วนมีหนี ด้วยกันทังนัน ใครจะยอมรับหรื อไม่ก็ตาม หนี คํานี ก็
ยังติดสอยห้อยตามไปทัวทุกหนทุกแห่งทังในโลกนี และโลกหน้า แม้แต่พระอรหันตสาวกหรื อองค์สมเด็จ
พระผูมีพระภาคเจ้าผูทรงเป็ นบรมครู ของโลกก็ยงต้องเผชิญกับหนีในชาติปัจจุบน แต่คาว่าหนี จะหมดสิ นไป
       ้                 ้                                ั                                    ั       ํ
ก็ต่อเมือสามารถปฏิบติจนจิตเข้าสู่สภาวะแห่ งความหลุดพ้นจากอาสาวกิเลสทังหลายทังปวงตัดภพตัดชาติ
                           ั
ไม่กลับมาเกิดอีกอย่างเช่นพระขีณาสพทังหลาย

ความหมายของหนี
         คําว่า “หนี” ตามหนังสือพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้ให้ความหมายไว้ว่า
นิติสมพันธ์ระหว่างบุคคลตังแต่ ๒ ฝ่ ายขึนไป ซึงฝ่ ายหนึงเรี ยกว่า “เจ้ าหนี” มีสิทธิทีจะบังคับบุคคลอีกฝ่ าย
     ั
หนึงซึงเรี ยกว่า “ลูกหนี” ให้กระทําการหรื องดเว้นกระทําการอย่างใดอย่างหนึง และโดยปริ ยาย หมายถึงการ
ที จะต้องตอบแทนบุ ญ คุ ณ เขาโดยการสํานึ ก ในอุ ปการคุ ณ ของผูทีมีบุญ คุ ณ ต่ อตนเองมี บิด ามารดา ครู
                                                                   ้
อุปัชฌาย์ อาจารย์ เป็ นต้น๑ หนี ในความหมายทังสองดังกล่าวนี ไม่ว่าจะเป็ นหนี ทางรู ปธรรมทีเกิดจากการ
กูยมทรัพย์สินเงินทองคนอืนเขามา หรื อหนี ทางนามธรรมอันเกียวเนื องด้วยจริ ยธรรม หนี ทังหมดเป็ นสิ งที
  ้ื
บุคคลจะต้องชดใช้ จะหลบเลียงเบียงบายไม่ได้ มิฉะนันจะถือว่ามีความผิด ไม่ผิดกฎหมายก็ผิดกฎแห่ งศิล
ธรรม
         การชําระหนี ตามหน้าทีศีลธรรม เป็ นหน้าที ทีมีความผูก พันกันทางด้านจิ ตใจหรื อด้านศีลธรรม
ความรู้สึกทีดีงามต่อกัน แต่ขณะเดียวกันก็ไม่มีความผูกพันใดๆ ต่อกันทางกฎหมาย กล่าวคือถึงจะไม่ชาระ      ํ
หนี นัน กฎหมายก็ทาอะไรไม่ได้ คืออีกฝ่ ายหนึงไม่อาจใช้อานาจทางกฎหมายชําระหนี นันได้ แต่ความรู้สึก
                     ํ                                   ํ

          
             ป.ธ.๖, พธ.บ., M.A.(Phil.), M.A.(Bud.), Ph.D.(Phil.) อาจารย์ประจําวิทยาลัยสงฆ์เลย
          ๑
            พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ (กรุ งเทพฯ : อักษรเจริ ญทัศน์, ๒๕๓๙), หน้า ๘๖๘.
ผิดชอบ ความรู้สึกละอายต่อบาป การรู้คิดถึงหน้าทีทางใจของฝ่ ายทีถูกผูกพันยังเรี ยกร้องอยูในใจ เพือให้การ
                                                                                         ่
ส่งใช้ทรัพย์สินตามหน้าทีบางอย่างนัน เมือมีหน้าทีเรี ยกร้องอยูดงนี ความในใจของผูใช้หนี มิใช่ว่าจะใช้ก็ได้
                                                              ่ ั                  ้
ไม่ใช้ก็ได้ แต่ตามหน้าทีทีรู้สึกอยูในใจย่อมจะต้องเรี ยกร้องให้ใช้หนี๒ เพราะหนี ดังกล่าวเกิดจากความรู้สึก
                                   ่
ทีผูกพันกันระหว่างเจ้าหนี (อันหมายถึง พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ตลอดถึงผูทีมีอุปการคุณ บุญคุณทังหลาย) กับ
                                                                       ้
ลูก หนี (อัน หมายถึ ง ลูก หลาน ตลอดถึง ผูทีเคยรั บอุป การคุ ณ จากคนอืน) ซึ งเป็ นหนี ที ต้องชดใช้ทาง
                                            ้
จริ ยธรรม

ประเภทของหนี
          ถึงแม้ว่าคนทัวไปจะไม่ชอบกับคําว่าหนี เพราะมันเป็ นสิงทีมนุ ษย์จะต้องปลดเปลือง หรื อชดใช้ไม่
โดยวิ ธีก ารใดก็วิ ธีก ารหนึ งอย่างแน่ นอน ถึงกระนันหนี ก็ ยงเป็ นสิ งทีผูกพันกับชี วิต มนุ ษย์อยู่ตลอดเวลา
                                                            ั
เหมือนล้อกับเกวียนคอยติดตามโคถึงตัวลากเกวียนไปทุกหนทุกแห่งอย่างไม่มีวนลดละ วิธีการปลดหนี มีอยู่
                                                                               ั
วิธีเดียวคือการชดใช้หนี หรื อถ้าไม่อยากมีหนี ใดๆ ติดตัวเลย ก็ตองพยายามปฏิบติตนโดยการเดินตามรอย
                                                                 ้               ั
พระอริ ยเจ้าผูเ้ ข้าถึงความหลุด พ้นตัดรากเหง้าแห่ งอกุศลธรรมทังปวงแล้วไม่กลับมาเกิดเพือใช้หนี ในภพ
ต่อไปอีก ส่วนผูทียังเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในวัฏฏะสงสารหนาแน่ นไปด้วยกิเลสทังหลาย ก็จะต้องมีการเกิด
                   ้
แล้วเกิดอีกเพือชดใช้หนี กรรมอย่างหลีกเลียงไม่ได้
          หนี ทีคนเราจะต้องชดใช้ตามหลักจริ ยธรรมและกฎหมายบ้านเมืองนัน มีอยู่ ๔ ประเภทด้วยกันคือ
หนีชีวต หนีบุญคุณ หนีกรรม และ หนีทรัพย์สินเงินทอง ซึงหนี ทัง ๔ ประเภทนี มีหนี ทรัพย์สินเงินทอง
        ิ
เท่านันทีคนเราไม่จาเป็ นต้องเป็ นหรื อติดหนี ใครก็ได้ ส่วนหนี นอกนันเป็ นสิงทีติดตัวมากับเราตังแต่เกิด และ
                       ํ
เป็ นสิ งทีจะต้องชดใช้ตามหลักจริ ย ธรรมทางพระพุทธศาสนา ซึงจะได้อธิบายในรายละเอียดแต่ละหัวข้อ
ดังนี

        หนีชีวติ
        คําว่า “หนีชีวิต” หมายถึง หนี ทีเกิดจากเลือดเนื อของพ่อแม่ผให้กาเนิ ด ชีวิต ซึงถือว่ าเป็ นหนี ราย
                                                                       ู้ ํ
ใหญ่และสําคัญทีสุดของลูกๆ เพราะท่านทังสองได้ให้ยอดของทรัพย์คือชีวิต เลือดเนื อตลอดถึงการเลียงดู
ให้การศึกษาเล่าเรี ยน เป็ นต้น เมือมีโอกาสพึงจัดการชําระหนี ด้วยวิธีกตัญ ูกตเวที ตอบแทนพระคุณความดี
ของท่าน ด้วยการเลียงดูท่านทังกายและใจ อย่าปล่อยให้ท่านอดอยากลําบากกายใจในยามแก่ชรา พึงแบ่งเบา
ภาระด้วยการช่วยเหลือกิจการงานของท่าน รักษาวงศ์ดารงตระกูลไว้ ประพฤติปฏิบติตนอยู่ในกรอบแห่ ง
                                                       ํ                           ั
ศีลธรรมอันดีงามเพือให้ท่านวางใจในการทีจะมอบมรดกให้ครอบครองภายในภาคหน้า ยามท่านเจ็บไข้ไม่



        ๒
            สุ รศักดิ กิติพงษ์พฒนา, กฎหมายแพ่ ง ๒ : หนี ละเมิด (กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช,๒๕๓๕),
                               ั
หน้า ๓๗๑.
นิ งดูดายต้องเยียวยารักษา หากท่านสิ นชีวิต ไปต้องจัดการงานศพให้สมเกี ยรติหรื อสมฐานะทีท่านเคยได้
สร้างไว้เมือยังมีชีวิตอยู่
              หนี ชีวิตนีนับว่าสําคัญต่อลูกมาก เพราะตังแต่ลกเริ มถือกําเนิ ดเป็ นจุดเล็กๆ ในท้องของแม่ตอง
                                                            ู                                             ้
อาศัยเลือดเนือของแม่เป็ นอาหาร ต้องอาศัยท้องของแม่เป็ นทีอยูอาศัยให้เกิดมาลืมตาดูโลก มีชีวิตอยู่ในโลก
                                                                ่
มาจนทุกวันนี ได้เพราะพ่อแม่เป็ นผูให้ชีวิต ให้อาหาร ให้ทีอยู่อาศัย ให้ทุกอย่างแก่ลูกแต่บางครั งลูกๆ ก็ไม่
                                      ้
เคยมีค วามรู้ สึก ว่ าท่ านทังสองได้ให้ชีวิ ต ตนมา และไม่เคยคิ ด ว่ าวันเกิ ด ของตนนันเป็ นวัน ที แม่มีค วาม
เจ็บปวดทีสุด แต่แม่ก็มีปีติยนดีทีจะได้เห็นหน้าลูก และพร้อมทีจะทําทุกสิ งทุกอย่างเพือลูกนับตังแต่วนทีลูก
                              ิ                                                                       ั
เกิด แต่แม่ก็มีปีติยนดีทีจะได้เห็นหน้าลูก และพร้อมทีจะทําทุกสิงทุกอย่างเพือลูกนับตังแต่วนทีลูกเกิด เมือ
                      ิ                                                                       ั
เป็ นเช่นนี พ่อแม่จึงได้ชือว่าเป็ นหนี รายใหญ่และสําคัญทีสุดของลูกๆ เพราะท่านได้สร้างคุณอันยิงใหญ่ทีไม่
มีใครในโลกจะสร้างได้เสมอเหมือนกับท่าน ดังจะเห็นได้จากการตังอยู่ในฐานะของพ่อแม่โดยตําแหน่ ง
หลายฐานะด้วยกัน คือ๓
              ๑) อยู่ในฐานะเป็ นพระพรหมของบุตร คําว่า “พรหม” ในศาสนาพราหมณ์ (ฮินดู) หมายถึงพระ
พรหมซึ งเป็ นเทพเจ้าผูสร้างสรรพสิ งขึ นมา มี ๔ หน้า ดังทีปรากฏเห็นตามรู ปภาพและรู ปปั นเทวรู ปของ
                           ้
ศาสนาพราหมณ์ตามศาสนสถานทัวๆ ไป แต่คาว่า “พรหม” ในพระพุทธศาสนาก็มีอยู่ ๔ หน้าเหมือนกัน
                                                 ํ
และคําว่า “หน้า” ในทีนี หมายถึงหน้าทีทีมีต่อลูกทัง ๔ หน้า กล่าวคือหน้าเมตตาคือรักลูกดุจดวงตาดวงใจ
หน้ากรุ ณาคือสงสารเห็นใจลูก หน้ามุทุตาคือ ยินดีต่อลูก ไม่อิจฉาไม่ริษยาลูก และหน้าอุเบกขาคือรู้จกวาง     ั
เฉย วางตนวางใจเป็ นกลาง ไม่เหยียบยําซําเติมยามลูกผิดพลาด บาปซํากรรมซัด
              ๒) อยู่ในฐานะเป็ นบุรพเทพของเจ้า คําว่า “บุรพเทพ” หมายถึง เทวดาของลูก วิสัยของเทวดา
คือให้อภัย ไม่ถือโทษโกรธแค้นในความผิดพลาดทีลูกมีต่อพ่อแม่ ตามวิสัยของปุถุชนทัวไป โดยเฉพาะคน
ไทยมักถือศักดิศรี หรื อถือของสูง ใครแตะต้องไม่ได้ เช่น ศีรษะใครจะมาจับเล่นไม่ได้ ไม่งนถือว่าลบหลู่ ดู
                                                                                            ั
หมิน ใครพูดไม่ไพเราะ ใครด่าว่าเราก็ไม่ชอบ แต่พ่อแม่เวลามีลูก ถูกลูกดึงผมเล่น เขกหัวเล่น กัดนม หยิก
ข่วน ด่า พ่อแม่ไม่เคยโกรธลูกเลย นอกจากจะไม่โกรธแล้ว กลับชอบเสียอีก ลูกดึงผมตบหน้า ก็ชืนใจว่าลูก
แข็งแรง ลูกด่า ก็ว่าลูกพูดเก่ง หากคนอืนทําเช่นนันบ้างเห็นจะเกิดเรื องเป็ นแน่ แต่พ่อแม่ไม่ถือสาใดๆ ทังสิน
ถึงบางครังปัสสาวะใส่ถ่ายรด พ่อแม่ก็ไม่รังเกียจ หากเป็ นของลูกคนอืนก็ขยะแขยงเต็มทน นี แหละเรี ยกว่า
“อภัยทาน” อันยิงใหญ่ ซึงเป็ นวิสยของพ่อแม่ทีมีต่อลูก
                                    ั
              ๓) อยู่ในฐานะเป็ นบุรพจารย์ ของบุตร คือเป็ นครู เป็ นอาจารย์คนแรกของลูก ครู อาจารย์ตาม
โรงเรี ยน มหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษาต่างๆ นันมิใช่ครู คนแรก หรื อครู ชนหนึ ง แต่เป็ นชันสอง ชันสาม
                                                                               ั
ครู คนแรกของลูกได้แก่พ่อแม่ และครู ทีบ้าน (พ่อแม่) กับครู ทีโรงเรี ยนมีวิธีการสอนทีแตกต่างกัน คือครู ที
บ้านสอนทุกวิชา และสอนอย่างไม่มีกาหนดเวลา สถานที สอนไม่มีเงิน
                                         ํ

        ๓
         พระครู วิวิธธรรมโกศล (ชัยวัฒน์ ธมฺ มวฑฺฒโน), มุทิตานุสรณ์ พระครูวิวิธธรรมโกศล (กรุ งเทพ ฯ : มหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๔), หน้า ๒๑๙-๒๒๐.
เดือน แต่ครู ตามสถาบันการศึกษา สอนเฉพาะวิชาทีถนัด สอนตามกําหนดเวลา หมดเวลาก็ไม่สอน จะให้
สอนต่อก็ตองมีค่าตัวเพิม ถ้าเงินน้อยไม่เป็ นทีพอใจก็ไม่สอน สิ นเดือนก็ได้รับเงินเดือน แต่ครู คือพ่อแม่นี
              ้
นอกจากไม่มีเงินเดือนแล้วยังต้องเสี ยเงินเดือนให้ลูกเสี ยอีก และสอนทุกสิ งทุกอย่างตังแต่การยืน เดิน นัง
สอน กิน ขับถ่าย สอนไม่เลือกสถานทีไม่ว่าจะเป็ นวงข้าวหรื อในมุง หรื อแม้ขณะทํางาน
                                                                      ้
                ๔) อยู่ในฐานะเป็ นอาหุเนยยะของบุตร คือเป็ นพระอรหันต์ของลูก คําว่า “อรหันต์” มี ๒ อย่าง
คือ อรหันต์ของลูก กับอรหันต์ของโลก อรหันต์ของลูกคือพ่อแม่ ยังมีกิเลสอยู่ อรหันต์ของโลก ได้แก่ พระ
อริ ย ะบุค คลทีกําจัดกิ เลสได้สินเชิ ง อีก อย่างหนึ งพ่อแม่นันว่าไปแล้ว ก็ คือ บ่ อเกิ ด บุญ ของลูก ที ลูก จะได้
เทิดทูนบูชาสักการะ เพือเป็ นสิริมงคล เรี ยกกันง่ายๆ ว่า “ปูชนียบุคคล”
                ๕) อยู่ในฐานะเป็ นอนุ กัมปกาของบุ ตร คือเป็ นผูอนุ เคราะห์ สงเคราะห์ลูก เสี ยสละทุกสิ งทุก
                                                                 ้
อย่างเพือลูก ไม่มีความหวงแหน แม้แต่เลือดในอกก็ยงให้ได้ ดังคําทีว่า “สิงอืนใดหรือทีแม่ จะหวง แม้ แต่
                                                          ั
เลือดในทรวงยังรองให้ ดืมได้ ” นํานมสีขาวๆ ทีลูกดืมนันแหละคือเลือดของแม่ทีแปรเปลียนมาเป็ นนํานม
                ๖) อยู่ในฐานะเป็ นร่ มโพธิร่ มไทรของบุตร คือให้ความร่ มเย็นเป็ นสุขแก่ลูก ร้อนมาก็เย็น หนาว
มา ก็อุ่น ทีไหนเล่าจะอบอุ่นเท่ากับอ้อมอกแม่ วงตักพ่อ ฉะนัน พ่อแม่จึงเป็ นร่ มโพธิร่ มไทร ไม่ใช่ร่มขนุ น
ร่ มทุเรี ยน ใครเข้าใกล้ก็ผวากลัวจะร่ วงใส่ แม่ร่มโพธิร่ มไทรคือพ่อแม่พร้อมทีจะให้ความปลอดภัย สบายจิต
แก่ลกทุกเวลา เข้าลักษณะทีว่ า “เพียงคําน้ อยแม่ ไม่ เหน็บให้ เจ็บจิตผิดเท่ าผิดถือว่ าบุตรสุ ดจักหา แม้ ชีวิตพ่ อ
      ู
แม่ กให้ เมือภัยมา ขอลูกยาได้ อยู่รอดปลอดภัยพาล”
        ็
                ๗) อยู่ในฐานะเป็ นยอดกัลยามิตร คือพ่อแม่นบว่าเป็ นเพือนทีดีทีสุ ดในโลก ทีบอกว่าท่านทัง
                                                             ั
สองเป็ นยอดกัลยามิตร ก็เพราะว่าท่านไม่เคยคิดทีจะขบถ ไม่ทรยศ ไม่หักหลัง ไม่อิจฉาริ ษยา ยามใดลูกมี
ความสุขพ่อแม่ก็มีความปลืมปิ ติไปด้วย แต่ยามใดลูกมีความทุกท่านก็พร้อมทีจะปลอบและหาทางช่วยเหลือ
เพือให้ลกพ้นจากทุกข์
           ู
                คุณความดีทีพ่อแม่มีต่อลูกนันมากมายและยิงใหญ่นกยากทีจะนํามากล่าวให้หมดในทีนี ได้ การ
                                                                   ั
ทีลูกมองเห็นความดีและรู้จกสนองคุณของพ่อแม่เรี ยกว่า “กตัญ ูกตเวที” เพราะกตัญ ูก็ดี กตเวทีก็ดี เป็ น
                              ั
นิมิต เป็ นเครื องหมาย เป็ นยีห้อ เป็ นพืนฐาน เป็ นหลักประกันของคนดี ดังพระบาลีว่า “นิมิตฺต ํ สาธุรูปานํ
กต ฺ ูกตเวทิตา” ความว่า “ความกตัญ ูกตเวทีเป็ นนิ มิตรเป็ นเครื องหมายของคนดี” “ภูมิเวสา กต ฺ ู
กตเวทิตา” ความว่า “ความกตัญ ูกตเวทีเป็ นพืนฐานของคนดี” ดังนี การทีลูกรู้จกคุณของพ่อแม่ทีมีต่อตน
                                                                                      ั
และรู้ จ ัก หาโอกาสตอบแทนคุ ณ ของท่ าน นับว่ าเป็ นการใช้หนี แทนคุ ณ อย่างหนึ งตามหลักคําสอนทาง
พระพุทธศาสนา

        หนีบุญคุณ
        คําว่า “หนีบุญคุณ” หมายถึง หนี ทีเกิดจากการอุปการคุณทีคนอืนเคยให้ความช่วยเหลือตนไม่อย่าง
ใดก็อย่างหนึง หรื อหนี ทีเกิดจากวัตถุสิงของทีเราบริ โภคใช้สอย เช่น บ้านเช่าห้องหอ โรงเรี ยน โรงพยาบาล
สถานทีอํานวยประโยชน์ให้แก่ชีวิต เป็ นต้น กล่าวโดยภาพรวม คือสิ งไหนก็ตามทีสามารถอํานวยประโยชน์
ให้แก่เราได้ไม่ทางใดก็ทางหนึง สิ งนันถือว่าเป็ นหนี บุญคุณทังสิน และเป็ นสิ งทีจะต้องชําระหนี ทําทดแทน
เพือเป็ นมาตรฐานแห่งความสมดุลในการดําเนินชีวิตด้านจริ ยธรรมของคนเรา ทังยังเป็ นหลักประกันความ
สงบสุขของสังคมอีกด้วย
                หนี บุญคุณทีต้องทําทดแทนต่อสิงทีเป็ นคุณูปการต่อตนนันมี ๔ อย่าง คือหนี บุญคุณของคน หนี
บุญคุณของสิ งของ หนี บุญคุณของความดี และ หนี บุญคุณของหน้าที
                หนีบุญคุณของคน คือสิงทีเราจะต้องชดใช้หนี อันเกิดจากบุญคุณของผูให้กาเนิ ดชีวิต เช่น พ่อ
                                                                                        ้ ํ
แม่ และผูทีมีอุปการคุณทังหลายมี ปู่ ย่า ตา ยาย ครู อาจารย์ ญาติ พีน้อง เพือนฝูง เป็ นต้น คนเหล่านี ถือว่ามี
            ้
บุญคุณต่อเราไม่เวลาใดก็เวลาหนึง แต่บุญคุณจะมีมากหรื อน้อยขึ นอยู่กบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เช่น
                                                                           ั
พ่อแม่ก็ถือว่ามีบุญคุณมาก ส่วนคนนอกนันก็ลดระดับความเกียวข้องกันลงมา วิธีการใช้หนี คือความสํานึกรู้
สิ งทีเขาเหล่านันเคยช่ ว ยเหลือเรา แล้ว หาโอกาสตอบแทนบุ ญ คุณ เขายิงกว่ าสิ งทีเขาเคยช่ วยเหลือเราไว้
เพราะการกระทําเช่นนันถือว่า เป็ นการเพิมดอกเบียของหนี บุญคุณทีเขาเคยช่วยเหลือเราไว้ก่อนหน้านัน
                หนีบุญคุณของสิงของ คือการทีเรารู้จกคุณค่าของสิ งทีเราใช้สอยเพือเป็ นเครื องอุปโภคบริ โภค
                                                       ั
ในชีวิตประจําวัน หรื อทีเรี ยกว่า “ปัจจัย ๔” สิงเหล่นีถึงแม้ว่าจะเกิดมาจากการผลิตหรื อการสร้างสรรค์ของ
มนุษย์ แต่มนุษย์ก็สร้างขึ นมาเพือเอาสิ งของเหล่านันได้กลายมาเป็ นสิ งจําเป็ นทีมนุ ษย์จะขาดเสี ยมิได้ เมือ
สิ งของเหล่านีเป็ นสิ งจําเป็ นและมีค่ายิงสําหรับชีวิตมนุษย์ๆ จึงมีความจําเป็ นอย่างยิงทีจะต้องดูแลรักษาเอาใจ
ใส่กบสิงของทีอํานวยความสุขสบายให้กบชีวิตตน ถ้าเราไม่รู้จกดูแลรักษาสิ งของทีเราใช้สอย ก็เหมือนกับ
     ั                                       ั                    ั
เราไม่รู้จกหนี บุ ญคุณของสิ งของ และสิ งของเหล่านันอาจทําอันตรายให้แก่ชีวิตเราได้ เช่ น บ้านช่องทีอยู่
          ั
อาศัย ถ้าเราไม่ดูแลรักษาทําความสะอาด มันก็จะสกปรก อาจทําให้เราเกิดโรคภัยได้ หรื อรถทีเราขับขี ถ้าไม่
หมันเช็ดดูแลสภาพของมัน รถอาจมีปัญหาเวลาใช้ก็ได้ ดังนันเมือเรารู้ว่าสิ งของทุกอย่างมีคุณกับเรา สมควร
ทีเราจะต้องใช้หนี โดยการดูแลรักษาสิงของเหล่านันให้ดี
                หนีบุญคุณของความดี คือหนี ทีเกิดจากคุณงามความดีทีเรานํามาประพฤติปฏิบติแล้วก่อให้เกิด
                                                                                               ั
ผลคือความสุ ขใจ ทังแก่ปัจเจกบุค คลและสังคมส่ วนรวม ความดีในที นี หมายถึงหลักของศีลธรรม หรื อมี
มนุษยธรรม ทีเรี ยกได้ว่าอารยชนมีธรรม คือมีคุณสมบัติ ดังนี
                มีสุจริตทังสาม คือ มีความประพฤติดี ประพฤติชอบ ๓ ประการ ดังนี
                     ๑) กายสุ จริต ความสุจริ ตทางกาย ทําสิงทีดีงามถูกต้อง ประพฤติชอบด้วยกาย
                     ๒) วจีสุจริต ความสุจริ ตทางวาจา พูดสิงทีดีงามถูกต้อง ประพฤติชอบด้วยวาจา
                     ๓) มโนสุ จริต ความสุจริ ตทางใจ คิดสิ งทีดีงามถูกต้อง ประพฤติดวยใจ้
                ประพฤติตามอารยธรรม โดยปฏิบติถกต้องตามทางแห่งกุศลกรรม ๑๐ ประการ ดังนี
                                                   ั ู
                     ๑) ทางกาย ๓
                        (๑) ละเว้นการฆ่า การสังหาร การบี บคัน เบี ยดเบี ยน มีเมตตากรุ ณ าช่ วยเหลือเกื อกูล
สงเคราะห์กน   ั
(๒) ละเว้นการแย่งชิงลักขโมย และการเอารัดเอาเปรี ยบ เคารพสิทธิในทรัพย์สินของกัน
และกัน
                      (๓) ละเว้นการประพฤติผดล่วงละเมิดในของรักของหวงแหนของผูอืน ไม่ข่มเหงจิตใจ
                                                 ิ                                          ้
หรื อทําลายลบหลู่เกียรติและวงศ์ตระกูลของกัน
                   ๒) ทางวาจา ๔
                       (๑) ละเว้นการพูดเท็จ โกหกหลอกลวง กล่าวแต่คาสัตย์ ไม่จงใจพูดให้ผิดจากความจริ ง
                                                                        ํ
เพราะเห็นแก่ผลประโยชน์ใดๆ
                       (๒) ละเว้น การพูดส่ อเสี ยด ยุยง สร้ างความแตกแยก พูด แต่ ค าที สมานและส่ งเสริ ม
                                                                                         ํ
สามัคคี
                       (๓) ละเว้นการพูดคําหยาบคาย สกปรกเสียหาย พูดแต่คาสุภาพ นุ่มนวลควรฟัง
                                                                              ํ
                      (๔) ละเว้นการพูด เหลวไหลเพ้อเจ้อ พูด แต่ ค วามจริ ง มีเหตุ ผล มีสารประโยชน์ ถูก
กาลเทศะ
                   ๓) ทางใจ ๓
                       (๑) ไม่ละโมบ ไม่เพ่งเล็งคิ ด หาทางเอาแต่ จ ะได้ คิ ด ให้ คิ ด เสี ย สละ ทําใจให้เผือแผ่
กว้างขวาง
                       (๒) ไม่คิดร้ายมุ่งเบียดเบียน หรื อเพ่งมองในแง่ทีจะทําลาย ตังความปรารถนาดี แผ่ไมตรี
มุ่งให้เกิดประโยชน์สุขแก่กน   ั
                       (๓) มีความเห็นถูกต้อง เป็ นสัมมาทิฎฐิ เข้าใจในหลักกรรมว่า ทําดีมีผลดี ทําชัวมีผลชัว
รู้เท่าทันความจริ งทีเป็ นธรรมดาของโลก และชีวิต มองเห็นความเป็ นไปตามเหตุปัจจัย
              ธรรม ๑๐ ข้อนี เรี ยกว่า กุศลกรรมบถบ้าง ธรรมจริ ยาบ้าง อารยธรรมบ้าง เป็ นรายละเอียดขยาย
ความสุจริ ต ๓ ข้อข้างต้น คือ ๑- ๓ เป็ นกายสุจริ ต ข้อ ๔– ๗ เป็ นวจีสุจริ ต ข้อ ๘-๑๐ เป็ นมโนสุจริ ต๔
             หลักแห่งศีลธรรมเหล่านีถือว่าเป็ นหลักแห่ งความดีของชีวิต มนุ ษย์จะพัฒนาตนเองให้ดีได้หรื อ
ให้เจริ ญขึนได้ ก็ดวยอํานาจแห่งศีลธรรมเหล่านี เมือหลักแห่งศีลธรรมเป็ นสัญลักษณ์แห่ งความดี จึงจําเป็ น
                    ้
ทีเราจะต้องรู้คุณค่าของความดี เพราะความดีเป็ นสิ งนําความสุ ขมาให้แก่ชีวิตและสังคม เราจึงเป็ นหนี ของ
ความดีอยูมาก การใช้หนี บุญคุณของความดี คือการรู้จกระวังรักษา กาย วาจา และใจให้อยูในกรอบของกุศล
           ่                                              ั                                   ่
กรรมบถ ๑๐ ประการดังกล่าว
              หนีบุญคุณของหน้ าที คือหนี ทีเกิดจากการกระทําตามหน้าทีต่างๆ แล้วเกิดเป็ นความดี ความ
งาม และความสุขขึนในชีวิต ทุกชีวิตต้องมีหน้าที การกระทําตามหน้าทีถือว่าเป็ นการปฏิบติธรรมไปในตัว ั




         ๔
             พระพรหมคุณาภรณ์, ธรรมนูญชีวิต (กรุ งเทพ ฯ : สํานักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ,๒๕๔๘), หน้า ๓๒-๓๔.
ดังทีท่านพุทธทาสกล่าวว่า “ธรรมคือหน้ าที” ซึงหน้าทีในทีนี ก็คือภาระทีตนรับผิดชอบ มี ๔ อย่างด้วยกัน
คือ๕
                 ๑) ภาระทีจะต้องแสวงหาทรัพย์ โดยมีหน้าทีเป็ นทหาร ตํารวจ หรื อเป็ นครู เป็ นต้น
                 ๒) ภาระทีจะต้องทําประโยชน์ให้แก่กนและกันในครอบครัว
                                                        ั
                 ๓) ภาระทีจะต้องทําประโยชน์ให้ออกไปสู่สงคมให้มากทีสุด
                                                             ั
                 ๔) ภาระทีจะต้องทําประโยชน์เพือตัวเองให้เจริ ญทังกายและใจตามหลักธรรม
              ภาระหรื อหน้าทีทัง ๔ ประการนี เป็ นสิ งนําความเจริ ญมาให้ทงแก่ตนเองและสังคม ถือว่าเป็ น
                                                                        ั
ความดีสาหรบชีวิต ดังทีค้านท์ (Kant) กล่าวว่า “การกระทําดี คือ การกระทําตามหน้ าที จะเกิดผลอย่ างไรก็
          ํ
ตามก็ถอว่าดีทังนัน”๖ ฉะนัน เราต้องเคารพในหน้าทีของเราเอง โดยการนึกถึงบุญคุณของความดีอนเกิดจาก
        ื                                                                                     ั
การปฏิบติหน้าทีทีเรารับผิดชอบอย่างเคร่ งครัด จะได้ชือว่าเป็ นผูไม่ประมาทในชีวิต มีความรอบคอบในชีวิต
            ั                                                    ้
ชีวิตจะได้ไม่ตกตํา มีแต่ความเจริ ญถ่ายเดียว แต่ถาเราไม่ปฏิบติตามหน้าที ก็ถือว่าเราทรยศต่อหน้าที ไม่รู้จก
                                                 ้             ั                                       ั
ใช้หนีบุญคุณของหน้าที ชีวิตก็คงจะตกตํา ไม่มีความเจริ ญก้าวหน้า

         หนีกรรม
         คําว่า “หนีกรรม” หมายถึง หนี ทีเกิดจากผลของการกระทําของมนุ ษย์หรื อสัตว์ทงหลายเป็ นกฎที
                                                                                         ั
ยุติ ธรรมที สุ ด ทีจะพิพากษา ลงโทษ หรื อให้ร างวัลแก่มวลมนุ ษ ย์หรื อสัต ว์อย่างปฏิเสธและปกปิ ดไม่ได้
ความลับชองกฎแห่งกรรมนันไม่มี มนุษย์หรื อสัตว์ทงหลายมีกรรมเป็ นของตน มีกรรมเป็ นทายาทติดตาม มี
                                                    ั
กรรมเป็ นแดนเกิด มีกรรมเป็ นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็ นทีอยูอาศัย กรรมย่อมจําแนกสัตว์ให้เลวและให้ประณี ตได้
                                                       ่
กฎแห่งกรรมไม่เลือกเห็นแก่หน้าว่าจะเป็ นพระหรื อคนธรรมดาจะส่ งผลตามเหตุตามปั จจัยทีแต่ละคนได้
กระทําไว้ตามจังหวะเวลา ชีวิตในสังสารวัฏนัน มีแต่กรรมเท่านันทีคอยผกผันหรื อผลักดันชีวิตให้เป็ นไปใน
เรื องราวต่างๆ ซึงเป็ นยิงกว่ากฎเหล็กทังหลายในโลกทีคอยบังคับบัญชาสรรพสัตว์และสรรพสิ งทังหลายอยู่
ใครๆ ก็ไม่อาจจะหลีกเลียงได้ แม้บุคคลนันจะเชือหรื อไม่เชือ จะรู้หรื อไม่รู้ก็ตาม ทุกคนล้วนแต่ตกเป็ นเชลย
อยูภายใต้กฎแห่งกรรมทังสิน ถ้าไม่รู้หรื อไม่ได้ศึกษาเรื องกฎแห่ งกรรม การดําเนิ นชีวิตในสังสารวัฏนับว่า
     ่
อันตรายมาก
         ทุกชีวิตเป็ นอยูดวยกรรม นันคือได้รับผลของกรรมเก่า (วิบาก) และกําลังทํากรรมใหม่อยูตลอดเวลา
                         ่ ้                                                                 ่
ชีวิตของคนเราจึงเกิดมาด้วยกรรม และตายไปด้วยกรรม กล่าวคือชีวิตของคนเราทีเกิดมาก็เพราะแรงผลักดัน
ทีได้ป้อนข้อมูลของการกระทํากรรมทีมีมาในอดีตชาติ และเมือเกิดมาแล้วขณะทียังมีชีวิตอยู่ก็มีการกระทํา
กรรมทังกาย วาจา และใจ เท่ากับกําลังป้ อนข้อมูลใหม่เพิมอยู่ตลอดเวลา และข้อมูลทีมีอยู่เหล่านี เองจะเป็ น
ตัวผลักดันให้แสดงออกไปในอนาคต นันคือไปด้วยกรรมนันเอง ดังนันชีวิตของคนเราจึงต้องวนเวียนอยู่ใน

        ๕
            เชวง เดชะไกศยะ, พัฒนาตนด้ วยศาสนาธรรม (กรุ งเทพ ฯ : มูลนิธิปริ ญญาธรรม,๒๕๓๙), หน้า ๗๔.
        ๖
            พระทักษิณคณาธิกร,ปรัชญา (กรุ งเทพ ฯ : สํานักพิมพ์ดวงแก้ว,๒๕๔๔), หน้า ๒๒๔.
สังสารวัฏ คือรอบแห่งการเวียนว่ายตายเกิดของชีวิตไม่ว่าจะเป็ นรอบใด หรื อชาติไหนก็ตาม ทุกชีวิตเมือเกิด
มาก็ตองพบแต่ความทุกข์อย่างหลีกเลียงไม่ได้ เมือใดเรายอมรับว่า ชีวิตของเราถูกผลักดันมาด้วยแรงของ
     ้
กรรมทีเราทําขึนมาเอง เราจึงต้องมรับผลของกรรมทีเราทําไว้แล้ว เมือนันเราก็จะสามารถพิจารณาเลือกทีจะ
กระทํากรรมได้ เพราะว่ากรรมนันมีทงกรรมดี (กุศลกรรม) และกรรมชัว (อกุศลกรรม)
                                   ั

         ทัศนะเรืองกรรมในพระพุทธศาสนา
         หลักคําสอนเรื อง “กรรม” ถือว่าเป็ นเรื องทีสําคัญประการหนึงในพุทธศาสนา เพราะมีลกษณะเป็ น
                                                                                               ั
วิทยาศาสตร์ คือสามารถพิสูจน์หรื ออธิบายได้ดวยเหตุผล พุทธศาสนาได้สอนเรื องกรรมไว้ว่า กรรมเป็ น
                                                  ้
เครืองบันดาล กรรมเป็ นเครืองสร้ างทุกอย่ าง กรรมคือการกระทํา กระทําไว้ อ ย่ างไร ย่ อมเกิดผลแห่ งการ
กระทํานัน เหมือนชาวนาหว่านพืชไว้เช่ นไร ย่อมได้ รับผลแห่ งการหว่านพืชนัน เช่ นนันเหมือนกัน
         ในอภิณ หปั จจเวกขณสู ตร มีคาสอนเรื องกรรมไว้ว่า หญิง ชาย คฤหั สถ์ บรรพชิ ต ควรพิจารณา
                                        ํ
เนืองๆ ว่า เรามีกรรมเป็ นของตน เป็ นผู้รับผลของกรรม มีกรรมเป็ นกําเนิด มีกรรมเป็ นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็ น
ทีอยู่อาศัย เราทํากรรมอันใดไว้ ดีกตาม ชัวก็ตาม เราจักได้ รับผลของกรรมนัน
                                  ็
         อีกข้อความหนึง ทีปรากฏใน วาเสฏฐบุตรว่า บุคคลไม่ได้เป็ นคนชัว ไม่ได้เป็ นคนดี เพราะชาติ หาก
เป็ นเพราะการกระทํา บุคคลเป็ นชาวนา เป็ นศิลปิ น เป็ นพ่อค้า เป็ นคนรับใช้ เป็ นโจร เป็ นทหาร เป็ นนักบูชา
ยัญ เป็ นพระราชา ก็เพราะการกระทํา โลกเป็ นไปเพราะกรรม สัตว์ทงหลายผูกพันธ์อยู่ทีกรรม เหมือนกับ
                                                                     ั
สลักลิม เป็ นเครื องยึดรถทีแล่นไปฉะนัน๗

          ความหมายของกรรม
          ในหนังสือพุทธธรรมได้ให้ความหมายของกรรมไว้ว่า การงานหรื อการกระทํา แต่ในทางธรรมต้อง
จํากัดความจําเพราะลงไปว่า หมายถึงการกระทําทีประกอบด้วยเจตนาหรื อการกระทําทีเป็ นไปด้วยความจง
ใจ ถ้าเป็ นการกระทําทีไม่มีเจตนาก็ไม่เรี ยกว่าเป็ นกรรมในความหมายทางธรร๘ กล่าวคือการกระทําทีได้ชือ
ว่าเป็ นกรรมนันย่อมประกอบด้วยเจตนาเป็ นพืนฐานของการกระทํา ดังพุทธพจน์ทีว่า เจตนาหํ ภิกฺขเว กมฺ ม ํ
วทามิ ความว่า เรากล่าวเจตนาว่าเป็ นกรรม หมายถึง สิ งทีบุคคลตังใจแล้ว หรื อคิดแล้วย่อมกระทํากรรมทาง
กาย ทางวาจา หรื อทางใจ
          คําว่า “กรรม” เป็ นศัพท์ภาษาสันสกฤต (ภาษาบาลี คือ กมฺม) แปลว่า การกระทํา เป็ นคํากลางๆ ไม่ดี
ไม่ชว ถ้าการกระทํานันเป็ นการกระทําดี ก็เรี ยกว่า กุศลกรรม แต่ถาเป็ นการกระทําไม่ดีก็เป็ น อกุศลกรรม
      ั                                                         ้
เหมือนคําว่ า ทิฏฐิ (ความเห็น ) ก็ เป็ นคํากลางๆ เหมือนกัน ยังไม่ถือว่ าผิดหรื อไม่ผิด เมือเห็ นชอบก็เป็ น


        ๗
            เสฐียร พันธรังษี,ศาสนาเปรียบเทียบ (กรุ งเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๔), หน้า ๑๕๒ - ๑๕๓.
        ๘
            พระเทพเวที, พุทธธรรม (กรุ งเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๒), หน้า ๑๕๗.
สัมมาทิฏฐิ แต่ถามีความเห็นผิดก็เป็ นมิจฉาทิฏฐิ ฉะนัน เมือพบคําว่า กรรม ก็ให้เข้าใจว่า เป็ นการกระทําที
               ้
ประกอบด้วยความจงใจ คือมีเจตนาทีจะกระทํา กล่าวคือเป็ นการกระทําโดยหวังผลลัพธ์

         ลักษณะของกรรม
         การกระทําทุ กอย่างไม่ใช่ เป็ นกรรมเสมอไป แต่การกระทําทีจัดว่าเป็ นกรรมโดยสมบูรณ์ จะต้อง
ประกอบด้วยลักษณะ ๓ ประการ คือ
         ๑. มีกิเลสเป็ นแรงกระตุนให้เกิดการกระทํา
                                ้
         ๒. มีเจตนา คือความจงใจหรื อตังใจทีจะกระทํา
         ๓. ลงมือกระทํา
         เจตนาเป็ นองค์ประกอบทีสําคัญทีจะทําให้การกระทํานันเป็ นกรรมโดยสมบูรณ์หรื อไม่ ตัวอย่างเช่น
นาย ก. ขับรถยนต์ไปชนสุนขตาย การกระทําของนาย ก. ไม่จดว่าเป็ นกรรม เพราะนาย ก. ไม่มีเจตนาทีจะ
                            ั                            ั
กระทํา (ไม่ตงใจทีจะขับรถชนสุนข) แต่ถานาย ก. ใช้ปืนยิงสุนขตาย เพราะโมโหทีเจ้าสุ นัขตัวนันไปกัดไก่
              ั                   ั      ้                 ั
ชนทีเขาเลียงไว้ การกระทําของนาย ก. จัดว่ าเป็ นกรรม เพราะองค์ประกอบของการกระทํากรรมครบ
สมบูรณ์ คือ มีกิเลส (ความโกรธ) เป็ นแรงผลักดันให้กระทํากรรมนัน ประกอบกับมีความจงใจในการลงมือ
กระทําด้วย เมือการกระทํานันสําเร็ จผลโดยมีแรงผลักดันกับความจงใจมีอยู่ดวยกัน ผลของการกระทํานัน
                                                                       ้
จัดเป็ นกรรมทันที

         เครืองมือในการกระทํากรรม
         มนุษย์มีส่วนประกอบทีสําคัญ ๒ อย่างคือ กายกับใจ ในส่ วนกายทีใช้กระทําการได้ก็มีอยู่ ๒ ส่ วน
ด้วยกัน คือร่ างกาย (มือ เท้า) กับ ปาก เมือกล่าวโดยสรุ ป เครื องมือทีใช้ในการกระทํากรรมของมนุษย์มีอยู่ ๓
ทาง คือ
         ๑. กายกรรม คือการกระทําทางกาย มีทงทีเป็ นกุศลและอกุศล คือทังดีและไม่ดี กายกรรมฝ่ ายกุศล
                                                   ั
ได้แก่ การไม่ฆ่าสัตว์ การไม่ลกขโมย การไม่ประพฤติเสียหายในเรื องกาม กายกรรมฝ่ ายอกุศล ได้แก่ การฆ่า
                                ั
สัตว์ การลักขโมย การประพฤติผดในกาม ิ
         ๒. วจีกรรม คือการกระทําทางวาจา มีทงทีเป็ นกุศลและอกุศล คือมีทงดีและไม่ดี วจีกรรมฝ่ ายกุศล
                                                     ั                         ั
ได้แก่ การไม่พดเท็จ การพูดคําหยาบ การไม่พดส่อเสียด การไม่พดคําเพ้อเจ้อ วจีกรรมฝ่ ายอกุศล ได้แก่ การ
                ู                              ู                   ู
พูดเท็จ การพูดคําหยาบ การพูดคําส่อเสียด การพูดคําเพ้อเจ้อ
         ๓. มโนกรรม คือการกระทําทางใจ มีทงทีเป็ นกุศลและอกุศล คือมีทงดีและไม่ดี มโนกรรมฝ่ ายกุศล
                                                 ั                           ั
ได้แก่ การคิดในทางไม่โลภอยากได้ของคนอืน การคิดในทางไม่เบียดเบียนคนอืน การมีความเห็นถูกต้อง
ตามทํานองคลองธรรม มโนกรรมฝ่ ายอกุศล ได้แก่ คิดโลภอยากได้ของคนอืน การคิดไปในทางเบียดเบียน
คนอืน การเห็นผิดจากทํานองคลองธรรม
ประเภทของกรรม
         ในพระไตรปิ ฎกจําแนกกรรมออกเป็ นหลายประเภทแล้วแต่ ว่าจะจําแนกเพือวัตถุประสงค์อะไร
กล่าวคือ ถ้าแบ่งตามคุณภาพหรื อตามธรรมทีเป็ นมูลเหตุ กรรมสามารถแบ่งได้เป็ น ๒ อย่าง ดังนี
         ๑. อกุศลกรรม คือกรรมทีเป็ นอกุศล การกระทําทีไม่ดี กรรมชัว หมายถึงการกระทําทีเกิดจากอกุศล
มูล คือ โลภะ โทสะ หรื อ โมหะ
         ๒. กุศลกรรม คือกรรมทีเป็ นกุศล การกระทําทีดี หรื อกรรมดี หมายถึงการกระทําทีเกิดจากกุศลมูล
คือ อโลภะ อโทสะ หรื ออโมหะ
         ถ้าเป็ นกรรมจําแนกตามสภาพทีสัมพันธ์กบวิบากหรื อการให้ผล จัดเป็ น ๔ ประเภท คือ๙
                                                  ั
         ๑. กรรมดํา หมายถึงอกุศลกรรมทีเกิดจากอกุศลเจตนา ได้แก่กายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขารทีมี
การเบียดเบียน ตัวอย่างเช่น ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผดในกาม พูดเท็จดืมนําเมา เป็ นต้น นอกจากนี กรรม
                                                        ิ
ดํายังหมายถึงครุ กรรมอกุศล ๕ อย่าง คือ ฆ่าพ่อ ฆ่าแม่ ฆ่าพระอรหันต์ ทําร้ายพระพุทธเจ้าจนห้อพระโลหิ ต
และยุยงสงฆ์ให้แตกกัน
         กรรมดํามีผลดํา คือผลทีก่อให้เกิดความทุกข์ ความเดือดร้อนแก่ผกระทํา ซึงอาจเกิดในชาตินีหรื อ
                                                                            ู้
ชาติหน้า หรื อทังชาตินีชาติหน้า ซึงแล้วแต่กรรมนันๆ เช่น การฆ่าคนตายให้ผลในชาตินีคือถูกจําคุก ผลใน
ชาติหน้าตกนรก ผูประกอบกรรมดําได้รับผลสองชัน ผลชันนอกคือทําให้ตวเองเดือดร้อน ผลชันในคือทําให้
                   ้                                                      ั
ใจเศร้าหมอง กิเลสในตัวงอกงามยิงขึน
         ๒. กรรมขาว หมายถึงกุศลกรรมทีทีเกิดจากกุศลเจตนา ได้แก่ กายสังขาร วจีสังขาร และมโน
สังขารทีไม่มีการเบียดเบียน งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ จากการลักทรัพย์ จากการประพฤติผดในกาม จากการพูด
                                                                                    ิ
เท็จ จากการดืมนําเมา การให้ทาน การรักษาศีล การมีจิตเมตตากรุ ณาต่อผูอืน นอกจากนี กรรมขาวยังรวมไป
                                                                       ้
ถึงครุ กรรมฝ่ ายกุศล คือ สมาบัติ ๘ อันได้แก่รูปฌาน ๔ และอรู ปฌาน ๔ ด้วย กรรมขาวมีผลขาว คือผลที
ก่อให้เกิดความสุขสบาย ความเจริ ญรุ่ งเรื องในชีวิต ซึงอาจเกิดในชาตินีหรื อชาติหน้า หรื อทังชาตินีและชาติ
หน้าก็ได้ ผูประกอบกรรมขาวจะได้รับผลชันนอก คือทําให้ตวเองมีความสุขและมีความเจริ ญรุ่ งเรื องในชีวิต
            ้                                                ั
ผลชันในคือ ทําให้กิเลสเครื องเศร้าหมองลดน้อยลงไป
         ๓. กรรมทังดําทังขาว หมายถึงกรรมทีเป็ นทังอกุศลและกุศลซึงเกิดจากเจตนาทีเป็ นทังอกุศลและ
กุศล ได้แก่ กายสังขาร วจีสงขาร มโนสังขาร อันมีความเบียดเบียนบ้าง ไม่เบียดเบียนบ้าง เช่น การกระทํา
                           ั
ของมนุษย์ทวๆ ไป
              ั
         กรรมทังดําทังขาวให้ผลทังดําทังขาว คือก่อให้เกิดทังสุขและทุกข์ระคนกัน เช่น เกิดในตระกูลมังคัง
รํารวยแต่ขีโรค เป็ นต้น



        ๙
            สุ จิตรา อ่อนค้อม, ศาสนาเปรียบเทียบ (กรุ งเทพ ฯ : หจก.สํานักพิมพ์ และสายส่ งดวงแก้ว,๒๕๔๕), หน้า ๘๘-
๘๙.
กรรมทังสามอย่างทีกล่าวมานียังมีผลต่อการเวียนว่ายตายเกิด กล่าวคือเมือทํากรรมหนึ งกรรมใดใน
๓ อย่างนี บุคคลยังต้องเกิดเพือรับผลของกรรมนันๆ ไม่ว่าจะเป็ นผลดีหรื อผลชัว หรื อทังผลดีและผลชัว
        ๔. กรรมไม่ดําไม่ขาว หมายถึงกรรรมทีไม่เป็ นทังอกุศลและกุศล เกิดจากเจตนาทีไม่ใช่ทงอกุศลและ
                                                                                          ั
กุศล ได้แก่ เจตนาเพือละกรรมดํา กรรมขาว และกรรมทังดําทังขาว คือการปฏิบติอริ ยมรรคมีองค์ ๘ ทังนี
                                                                            ั
เพราะการปฏิบติอริ ยมรรคมีองค์ ๘ นันย่อมเป็ นการหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏฏ์ตลอดไป
               ั
        กรรมไม่ดาไม่ขาวให้ผลไม่ดาไม่ขาว เพราะกรรมชนิ ดนี เป็ นไปเพือดับภพ ดับชาติ เพือความหลุด
                  ํ                 ํ
พ้น เพือทีสุดแห่งทุกข์ เพือนิพพาน เพราะผูปฏิบติกรรมชนิดนีในทีสุดก็จะบรรลุอรหัตตผลเป็ นพระอรหันต์
                                         ้ ั
การกระทําของพระอรหันต์จึงเรี ยกว่า กิริยา เพือให้แตกต่างจากรรมธรรมดา กรรมไม่ดาไม่ขาวนําไปสู่การ
                                                                                   ํ
สิ นสุดแห่งกรรม กรรมทังปวงทีทําจะนําไปสิ นสุดในกรรมนัน กรรมดีและกรรมชัวทีเคยทําไว้แม้จะยังให้
ผลไม่หมด แต่เมือบรรลุนิพพานแล้วกรรมเหล่านันก็กลายเป็ นอโหสิกรรม คือกรรมทีไม่ให้ผลอีกต่อไป

         กรรม ๑๒ ประเภท
         พระอรรถกถาจารย์ได้แบ่ งกรรมออกเป็ น ๓ ประเภท และแต่ ละประเภทแบ่ งย่อยออกเป็ น ๔
ประการ เรี ยกว่า กรรม ๑๒ คือ๑๐
         ๑. กรรมทีให้ ผลตามหน้ าที
         ตามหลักพุทธศาสนาเชือว่ามนุษย์ทุกคนเกิดมาเพราะกรรมของตน กรรมเป็ นตัวกําหนดวิถีชีวิตของ
มนุษย์ ชีวิตจะเป็ นอย่างไรล้วนขึนอยูกบกรรมทีตนทําไว้ กรรมจะทําหน้าอย่างตรงไปตรงมา เพือให้ผลของ
                                       ่ ั
การกระทําสมดุลกับกรรมทีตนทําไว้ ในทีนี แบ่งกรรมทีให้ผลตามหน้าทีออกเป็ น ๔ ประเภท คือ
         ๑) ชนกกรรม หมายถึงกรรมแต่งให้เกิด กรรมทีเป็ นตัวนําไปเกิด ถ้าเป็ นกรรมดีก็นาไปเกิดในภพทีดี
                                                                                    ํ
ถ้าเป็ นกรรรมชัวก็นาไปเกิดในภพทีชัว หน้าทีของกรรมชนิ ดนี คือเมือบุคคลตายลง ชนกกรรมมีหน้าทีนํา
                     ํ
บุคคลนันไปเกิดตามฐานะสมควรแก่กรรรมทีเขาทํา เช่นนําไปเกิดในตระกูลมังคังรํารวย หรื อในตระกูล
ยากจนขัดสน เป็ นต้น เมือนําไปเกิดตามสมควรแก่ฐานะของกรรมทีบุคคลนันทําแล้ว ก็เป็ นอันหมดหน้าที
เปรี ยบเหมือนบิดาผูยงบุตรให้เกิดแล้วเป็ นอันหมดหน้าทีฉะนัน
                     ้ั
         ตัวอย่างเช่น : วีระพล เป็ นลูกชายของสุ ทธินันท์มหาเศรษฐีทางจังหวัดภาคเหนื อของประเทศไทย
ชนกกรรมฝ่ ายกุศลนําวีระพลมาเกิดในตระกูลมหาเศรษฐี เขาไม่ลาบากในชีวิตเลย เพราะพ่อแม่ของเขามีเงิน
                                                              ํ
อยากได้อะไร พ่อแม่ก็ซือหามาให้ คําว่า ไม่มี เขาไม่เคยได้ยนิ
         ตรงกันข้ามกับทองมี ซึงเป็ นลูกของลุงมาป้ ามีอาชีพทํานาทําสวนในแถบภาคอีสาน เขาไม่เคยพบ
กับความสบายใจในชีวิตเลย มีแต่ทางานหนักช่วยพ่อแม่หาเลียงครอบครัวเพราะพ่อแม่ของเขาเป็ นชาวนา
                                    ํ
ยากจน เขาไม่เคยได้ยนคําว่า มี เลยในชีวิต
                        ิ


       ๑๐
            พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร, พุทธปรัชญาการศึกษา (เลย : เลยปริ น, ๒๕๕๐), หน้า ๕๑-๕๖.
สิงทีทําให้วีระพลกับทองมามีความแตกต่างกันในลักษณะของการเกิดก็คือ กรรม ซึงทังสองทํามา
ไม่เหมือนกัน
          ๒) อุปัตถัมภกรรม หมายถึงกรรมสนับสนุน กรรมทีเข้าช่วยสนับสนุนหรื อซําเติมต่อจากชนกกรรม
กล่าวคือเมือชนกกรรมแต่างให้เกิดแล้ว อุปัตถัมภกรรมจึงเข้ามาสนับสนุ นส่ งเสริ ม เปรี ยบเหมือนแม่นมผู้
เลียงทารกที บิดาให้เกิด แล้ว หากชนกกรรรมนําไปเกิด ในตระกูลที มังคังรํารวย อุปัต ถัมภกกรรมก็จะไป
สนับสนุนให้ได้รับความสุข เข้าในลักษณะว่ารุ่ งเรื องมาแล้ว มีรุ่งเรื องไปภายหน้า แต่ถาชนกกรรมแต่งให้
                                                                                    ้
เกิดในทีไม่ดี อุปัตถัมภกกรรมก็จะไปซําเติมให้เลวยิงขึน เข้าในลักษณะว่า มืดมาแล้วมีมืดไปภายหน้า ดังนัน
ถ้าชนกกรรรมดี อุปัตถัมภกรรมก็ดีดวย แต่ถาชนกกรรมไม่ดี อุปัตถัมภกรรมก็พลอยไม่ดีไปด้วย
                                     ้      ้
          ตัวอย่างเช่น : ชนกกรรมฝ่ ายกุศลนําพาให้วีระพลมาเกิดในตระกูลทีมีฐานะมังคงแล้ว เขายังมีความ
สมบูรณ์ทางร่ างกายอย่างเต็มที มีอวัยวะครบทุกส่วน ในขณะเดียวกันความสมบูรณ์ทางจิตใจของวีระพลก็
ยอดเยียม เขาเป็ นคนมีอุปนิ สัย อ่อนน้อมถ่อมตน มี ค วามขยัน หมันเพีย รในการแสวงหาความรู้ และมี
กิริยามารยาทเรี ยบร้อยสมกับเป็ นลูกผูดีทุกประการ เขาไม่เคยสร้างความเดือดร้อนให้กบพ่อแม่ การทีวีระพล
                                       ้                                          ั
เกิดมามีความสมบูรณ์ทางร่ างกายทุกอย่าง เป็ นเพราะชนกรรรมฝ่ ายกุศล ในขณะเดียวกันอุปัตถัมภกรรมก็
สนับสนุนให้เขาดียงขึนิ
          ชนกกรรมฝ่ ายอกุศลนําพาให้ทองมามาเกิ ดในตระกูลชาวนาที ยากจน ตัวเขาเองก็เกิ ดมาเป็ นคน
พิการมาแต่กาเนิด พ่อแม่ของทองมาก็เป็ นคนไม่เอาไหน คือพ่อขีเหล้า แม่เล่นการพนัน ทะเลาะกันเกือบทุก
              ํ
วัน ตัวเขาเองนอกจากจะเป็ นคนพิการแล้ว ยังมีนิสยไม่ดีหลายอย่าง เช่น ชอบดืมเหล้า และเล่นไพ่ เวลาเมาก็
                                                   ั
เล่นบทนักเลงท้าตีต่อยกับชาวบ้านอยู่ลาไป ทีเป็ นเช่นนี เพราะกรรมฝ่ ายอกุศลนําพาให้ทองมามาเกิดใน
                                         ํ
สภาพแวดล้อมทีไม่ดี อุปัตถัมภกรรมก็สนับสนุนซําเติมให้เขาเลวยิงขึน
          ๓) อุปปี ฬกกรรม หมายถึงกรรมบีบคัน กรรมทีมาให้ผลบีบคันผลแห่ งชนกกรรม และอุปัตถัมภ
กรรมนัน ให้แปรเปลียนทุเลาลงไป บันทอนวิบากมิให้เป็ นไปได้นาน เช่น ถ้าชนกกรรมดี อุปปี ฬกกรรมก็จะ
ไปบีบคันให้เลวลง เข้าลักษณะว่า รุ่ งเรื องมาแล้วมีมืดไปภายหน้า แต่ถาชนกกรรมไม่ดี อุปปี ฬกกรรมจะเข้า
                                                                     ้
ไปกีดกันให้ทุเลาลง เข้าในลักษณะว่ามืดมาแล้วมีรุ่งเรื องไปภายหน้า เมืออุปปี ฬกกรรมมันเบียดเบียนชนก
กรรมมันจึงเบียดเบียนอุปถัมภกกรรมไปด้วย เพราะอุปัตถัมภกรรมจะไปตามชนกกรรม
          ตัวอย่างเช่น : ชนกกรรรมฝ่ ายกุศลนําพาให้สุนทรมาเกิดในตระกูลทีมีฐานะดี แต่อุปปี ฬกกรรมก็มา
บีบคันขัดขวางให้เขาเป็ นคนไม่ดี เขาเกิดมาในตระกูลทีดีมีทงฐานะและชือเสี ย ง แต่ปรากฏว่า ฐานะและ
                                                            ั
ชือเสียงต้องมาสูญสิ นหรื อเสือมลง เพราะสุนทรประพฤติตนเป็ นคนไม่เอาไหน สร้างความลําบากใจให้แก่
พ่อแม่เป็ นอย่างมาก
          ชนกกรรมฝ่ ายอกุศลนําพาให้แดงมาเกิดในตระกูลตํา เป็ นคนมีฐานะยากจนและลําบากมาก แต่อุป
ปี ฬกกรรมมาขัดขวางให้เขาเป็ นคนดี ถึงแม้เขาจะเกิดมาในครอบครัวทีมีฐานะยากจน มิหนําซําเขายังพิการ
มาแต่ก าเนิ ด อีกด้วย แต่เขาก็ไม่ได้ปล่อยชีวิต ให้เปล่าประโยชน์ เขาเป็ นคนมีความขยันมุ่งมันและอดทน
        ํ
ประกอบสัมมาชีพ จนสร้างฐานะของตนเองขึนทัดเทียมกับคนอืนได้
๔) อุ ป ฆาตกรรม หมายถึงกรรมตัด รอน เป็ นกรรมแรง กรรมฝ่ ายตรงข้า มกับชนกกรรมและ
อุปัตถัมภกรรม เข้าตัดรอนการให้ผลของกรรมสองอย่างนันให้ขาดไปเสียทีเดียว เช่น เกิดในตระกูลสูงมังคัง
แต่อายุสน เป็ นต้น ในทางตรงข้าม ถ้าชนกกรรมและอุปัตถัมภกรรมไม่ดี แต่มีอุปฆาตกรรมอยู่ อุปฆาตกรรม
          ั
ก็จะไปตัดรอนผลไม่ดีนน เช่น เกิดในตระกูลยากจนขัดสน ได้รับความทุกข์ แต่มีเศรษฐีมาขอไปเป็ นบุตร
                            ั
บุญธรรม ได้รับความสุขสบาย เป็ นต้น
            ตัวอย่างเช่น : พระภิกษุสุข บวช เป็ นพระมาได้ ๑๓ พรรษา ระยะเวลา ๑๓ ปี ทีผ่านมานัน ท่านได้
ประพฤติปฏิบติตนอยูในกรอบของพระธรรมวินย จนเป็ นทีเคารพนับถือของชาวบ้านเป็ นอย่างยิง พอบวช
                  ั       ่                       ั
ครบ ๕ พรรษา ชาวบ้านก็พากันนิมนต์ให้ท่านเป็ นเจ้าอาวาสทีวัดประจําหมู่บาน ทางคณะสงฆ์ก็แต่งตังให้
                                                                          ้
ท่านเป็ นเจ้าอาวาสตังแต่บดนันเป็ นต้นมา ในช่วงเวลา ๘ ปี ทีเป็ นเจ้าอาวาส พระภิกษุสุขได้นาพาชาวบ้าน
                              ั                                                             ํ
พัฒนาวัดแห่ งนันให้เจริ ญก้าวหน้าไปมาก อยู่ต่อมาวันหนึ งท่านได้รับนิ มนต์ให้ไปเทศน์ทีหมู่บานอืน ขา
                                                                                                ้
กลับรถทีมาส่งท่านได้เกิดอุบติเหตุเสียหลักพลิกครําลงข้างทาง เป็ นเหตุให้ท่านเสี ยชีวิตทันที ชาวบ้านพอรู้
                                ั
ข่าวต่างพากันเสียใจ และเสียดายว่า ท่านไม่น่าอายุสันอย่างนี เลย พระดี ๆ อย่างนี น่ าจะมีอายุทียืนยาว ฯลฯ
แต่เมือพูดถึงเรื องกรรม ก็เพราะเหตุทีอุปฆาตกรรมมาตัดรอนให้พระภิกษุสุขอายุสัน แทนทีจะมีอายุยืนยาว
ประมาณ ๗๐-๘๐ ปี
            ท่านเปรี ยบอุปฆาตกรรมว่า เหมือนกับผลไม้ชนิดใดชนิดหนึง สมมติว่าเป็ นผลมะม่วง ตามธรรมดา
ของผลมะม่ว ง เมื อต้น มะม่ว งออกช่ อออกดอกเสร็ จ แล้ว ก็ จ ะติ ด ผล เมื อเวลาผ่า นไป ผลมะม่ ว งก็ จ ะ
เจริ ญเติบโตตามลําดับ พอระยะใกล้จะแก่ก็มีคนๆ หนึ งเอาไม้มาสอยไปกินเสี ยก่อน แทนทีจะแก่และสุ ก
ล่วงลงมาตามธรรมชาติ

          ๒. กรรมทีให้ ผลตามกาลเวลา
          ลักษณะของกรรมทีให้ผลตามกาลเวลา แบ่งออกเป็ น ๔ ประเภท ดังนี
           ๑) ทิฏฐธัมมเวทนียกรรม หมายถึงกรรมให้ผลในปั จจุบันภพนี ได้แก่ กรรมดีก็ ตาม ชัวก็ตาม ที
ผูกระทําทําแล้วจะได้รับผลในชาตินีทันตาเห็น เพราะเป็ นกรรรมแรง แต่ถาผูกระทํากรรมตายลงเสี ยก่อนที
  ้                                                                          ้ ้
กรรมจะให้ผล กรรมนี ก็จะเป็ นอโหสิกรรม ท่านเปรี ยบว่าเหมือนนายพรานเห็นเนื อ หยิบลูกศรยิงไปทันที
ถ้าถูกเนื อก็ลมทีนัน แต่ถาพลาดเนื อก็รอดไปเลย
               ้            ้
           ตัวอย่างเช่น : เด็กชายเก่ง เป็ นนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที ๒ ของโรงเรี ยนแห่ งหนึ ง เขาเป็ นเด็กทีมี
ความขยันในการศึกษาเล่าเรี ยนมาก ผลปรากฏว่า เขาเป็ นเด็กทีเรี ยนเก่งและสอบได้ที ๑ ของห้องมาตลอด
ผูปกครองของเด็กชายเก่ง ก็พลอยมีความสุขไปด้วย เพราะคุณครู และเพือนๆ ของเก่ง ต่างพูดชมเชยความดี
    ้
ของเขาให้ฟังเสมอ
          ส่ วนนางสาวโอ๋ เป็ นนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที ๖ ของโรงเรี ยนแห่ งหนึ ง เธอเป็ นเด็กใจแตก คบ
ผูชายมาหลายคน เวลาไปเรี ยนหนังสือเธอไม่มีสมาธิ เพราะเธอสนใจสิ งอืนมากกว่าการเรี ยน มิหนําซําเธอยัง
      ้
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา

More Related Content

What's hot

Ppt พันท้ายนรสิงห์
Ppt พันท้ายนรสิงห์Ppt พันท้ายนรสิงห์
Ppt พันท้ายนรสิงห์
Piroj Poolsuk
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
อร ครูสวย
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
krisdika
 
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
chaiwat vichianchai
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
คัมภีร์แพทย์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์แพทย์ฉันทศาสตร์คัมภีร์แพทย์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์แพทย์ฉันทศาสตร์
tanakornsonic
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
พระบรมราโชวาท
พระบรมราโชวาทพระบรมราโชวาท
พระบรมราโชวาท
พัน พัน
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
Thongsawan Seeha
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษาแนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
ประพันธ์ เวารัมย์
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
kruthai40
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2Ko Kung
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสแบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสสำเร็จ นางสีคุณ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมChok Ke
 

What's hot (20)

Ppt พันท้ายนรสิงห์
Ppt พันท้ายนรสิงห์Ppt พันท้ายนรสิงห์
Ppt พันท้ายนรสิงห์
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSmแบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
 
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
คัมภีร์แพทย์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์แพทย์ฉันทศาสตร์คัมภีร์แพทย์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์แพทย์ฉันทศาสตร์
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
พระบรมราโชวาท
พระบรมราโชวาทพระบรมราโชวาท
พระบรมราโชวาท
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษาแนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย2-ม2
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
 
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสแบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
 

Similar to ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา

สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญาTongsamut vorasan
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
niralai
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารguestf16531
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
Wat Thai Washington, D.C.
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคม
niralai
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยAchara Sritavarit
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
niralai
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญาพิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
niralai
 
เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4
RunchiRunchi
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
Songsarid Ruecha
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์Panda Jing
 
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
niralai
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddhaTongsamut vorasan
 
สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์
Nattapong Manlee
 

Similar to ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา (20)

สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคม
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญาพิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
 
เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทย
 
สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์
 

More from pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 

More from pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 

ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา

  • 1. ศึกษาเรืองหนีตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศ์ พรพวัณ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความเบืองต้น เมือเอ่ยถึง“หนี” ไม่มีใครอยากมี อยากเป็ น หรื ออยากติดหนีใครๆ เพราะคําว่าหนี มีสภาวะทีแบกไว้ ซึงภาระไม่หนักก็เบาอย่างใดอย่างหนึง หรื อบางคนอาจจะปฏิเสธทันทีเมือได้ยินคําว่าหนี นี ว่า ฉันไม่เคยมี หนี และไม่คิดอยากจะเป็ นหนีใคร โดยยึดหลักพุทธสุภาษิตทีว่า “อิณํ ทุกฺขํ โลเก” แปลว่า “การเป็ นหนีเป็ น ทุกข์ ในโลก” แต่ก็ยงมีคนอีกจํานวนมากทีชอบเอาชีวิตไปผูกพันอยู่กบหนี จนบางครั งมีหนี สิ นล้นพ้นตัวจน ั ั ไม่สามารถจะใช้หนี ได้ เมือถูกเจ้าหนี ทวงมากเข้าหาทางออกไม่เจอตัดสิ นใจปลิดชีวิตตัวเองเพือปลดหนี ให้แก่เจ้ากรรมนายเวรไปก็มีมากถมไปในสังคมปัจจุบน ั แท้จริ งแล้ว ทุกคนทีเกิดมาในโลกนี ล้วนมีหนี ด้วยกันทังนัน ใครจะยอมรับหรื อไม่ก็ตาม หนี คํานี ก็ ยังติดสอยห้อยตามไปทัวทุกหนทุกแห่งทังในโลกนี และโลกหน้า แม้แต่พระอรหันตสาวกหรื อองค์สมเด็จ พระผูมีพระภาคเจ้าผูทรงเป็ นบรมครู ของโลกก็ยงต้องเผชิญกับหนีในชาติปัจจุบน แต่คาว่าหนี จะหมดสิ นไป ้ ้ ั ั ํ ก็ต่อเมือสามารถปฏิบติจนจิตเข้าสู่สภาวะแห่ งความหลุดพ้นจากอาสาวกิเลสทังหลายทังปวงตัดภพตัดชาติ ั ไม่กลับมาเกิดอีกอย่างเช่นพระขีณาสพทังหลาย ความหมายของหนี คําว่า “หนี” ตามหนังสือพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้ให้ความหมายไว้ว่า นิติสมพันธ์ระหว่างบุคคลตังแต่ ๒ ฝ่ ายขึนไป ซึงฝ่ ายหนึงเรี ยกว่า “เจ้ าหนี” มีสิทธิทีจะบังคับบุคคลอีกฝ่ าย ั หนึงซึงเรี ยกว่า “ลูกหนี” ให้กระทําการหรื องดเว้นกระทําการอย่างใดอย่างหนึง และโดยปริ ยาย หมายถึงการ ที จะต้องตอบแทนบุ ญ คุ ณ เขาโดยการสํานึ ก ในอุ ปการคุ ณ ของผูทีมีบุญ คุ ณ ต่ อตนเองมี บิด ามารดา ครู ้ อุปัชฌาย์ อาจารย์ เป็ นต้น๑ หนี ในความหมายทังสองดังกล่าวนี ไม่ว่าจะเป็ นหนี ทางรู ปธรรมทีเกิดจากการ กูยมทรัพย์สินเงินทองคนอืนเขามา หรื อหนี ทางนามธรรมอันเกียวเนื องด้วยจริ ยธรรม หนี ทังหมดเป็ นสิ งที ้ื บุคคลจะต้องชดใช้ จะหลบเลียงเบียงบายไม่ได้ มิฉะนันจะถือว่ามีความผิด ไม่ผิดกฎหมายก็ผิดกฎแห่ งศิล ธรรม การชําระหนี ตามหน้าทีศีลธรรม เป็ นหน้าที ทีมีความผูก พันกันทางด้านจิ ตใจหรื อด้านศีลธรรม ความรู้สึกทีดีงามต่อกัน แต่ขณะเดียวกันก็ไม่มีความผูกพันใดๆ ต่อกันทางกฎหมาย กล่าวคือถึงจะไม่ชาระ ํ หนี นัน กฎหมายก็ทาอะไรไม่ได้ คืออีกฝ่ ายหนึงไม่อาจใช้อานาจทางกฎหมายชําระหนี นันได้ แต่ความรู้สึก ํ ํ  ป.ธ.๖, พธ.บ., M.A.(Phil.), M.A.(Bud.), Ph.D.(Phil.) อาจารย์ประจําวิทยาลัยสงฆ์เลย ๑ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ (กรุ งเทพฯ : อักษรเจริ ญทัศน์, ๒๕๓๙), หน้า ๘๖๘.
  • 2. ผิดชอบ ความรู้สึกละอายต่อบาป การรู้คิดถึงหน้าทีทางใจของฝ่ ายทีถูกผูกพันยังเรี ยกร้องอยูในใจ เพือให้การ ่ ส่งใช้ทรัพย์สินตามหน้าทีบางอย่างนัน เมือมีหน้าทีเรี ยกร้องอยูดงนี ความในใจของผูใช้หนี มิใช่ว่าจะใช้ก็ได้ ่ ั ้ ไม่ใช้ก็ได้ แต่ตามหน้าทีทีรู้สึกอยูในใจย่อมจะต้องเรี ยกร้องให้ใช้หนี๒ เพราะหนี ดังกล่าวเกิดจากความรู้สึก ่ ทีผูกพันกันระหว่างเจ้าหนี (อันหมายถึง พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ตลอดถึงผูทีมีอุปการคุณ บุญคุณทังหลาย) กับ ้ ลูก หนี (อัน หมายถึ ง ลูก หลาน ตลอดถึง ผูทีเคยรั บอุป การคุ ณ จากคนอืน) ซึ งเป็ นหนี ที ต้องชดใช้ทาง ้ จริ ยธรรม ประเภทของหนี ถึงแม้ว่าคนทัวไปจะไม่ชอบกับคําว่าหนี เพราะมันเป็ นสิงทีมนุ ษย์จะต้องปลดเปลือง หรื อชดใช้ไม่ โดยวิ ธีก ารใดก็วิ ธีก ารหนึ งอย่างแน่ นอน ถึงกระนันหนี ก็ ยงเป็ นสิ งทีผูกพันกับชี วิต มนุ ษย์อยู่ตลอดเวลา ั เหมือนล้อกับเกวียนคอยติดตามโคถึงตัวลากเกวียนไปทุกหนทุกแห่งอย่างไม่มีวนลดละ วิธีการปลดหนี มีอยู่ ั วิธีเดียวคือการชดใช้หนี หรื อถ้าไม่อยากมีหนี ใดๆ ติดตัวเลย ก็ตองพยายามปฏิบติตนโดยการเดินตามรอย ้ ั พระอริ ยเจ้าผูเ้ ข้าถึงความหลุด พ้นตัดรากเหง้าแห่ งอกุศลธรรมทังปวงแล้วไม่กลับมาเกิดเพือใช้หนี ในภพ ต่อไปอีก ส่วนผูทียังเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในวัฏฏะสงสารหนาแน่ นไปด้วยกิเลสทังหลาย ก็จะต้องมีการเกิด ้ แล้วเกิดอีกเพือชดใช้หนี กรรมอย่างหลีกเลียงไม่ได้ หนี ทีคนเราจะต้องชดใช้ตามหลักจริ ยธรรมและกฎหมายบ้านเมืองนัน มีอยู่ ๔ ประเภทด้วยกันคือ หนีชีวต หนีบุญคุณ หนีกรรม และ หนีทรัพย์สินเงินทอง ซึงหนี ทัง ๔ ประเภทนี มีหนี ทรัพย์สินเงินทอง ิ เท่านันทีคนเราไม่จาเป็ นต้องเป็ นหรื อติดหนี ใครก็ได้ ส่วนหนี นอกนันเป็ นสิงทีติดตัวมากับเราตังแต่เกิด และ ํ เป็ นสิ งทีจะต้องชดใช้ตามหลักจริ ย ธรรมทางพระพุทธศาสนา ซึงจะได้อธิบายในรายละเอียดแต่ละหัวข้อ ดังนี หนีชีวติ คําว่า “หนีชีวิต” หมายถึง หนี ทีเกิดจากเลือดเนื อของพ่อแม่ผให้กาเนิ ด ชีวิต ซึงถือว่ าเป็ นหนี ราย ู้ ํ ใหญ่และสําคัญทีสุดของลูกๆ เพราะท่านทังสองได้ให้ยอดของทรัพย์คือชีวิต เลือดเนื อตลอดถึงการเลียงดู ให้การศึกษาเล่าเรี ยน เป็ นต้น เมือมีโอกาสพึงจัดการชําระหนี ด้วยวิธีกตัญ ูกตเวที ตอบแทนพระคุณความดี ของท่าน ด้วยการเลียงดูท่านทังกายและใจ อย่าปล่อยให้ท่านอดอยากลําบากกายใจในยามแก่ชรา พึงแบ่งเบา ภาระด้วยการช่วยเหลือกิจการงานของท่าน รักษาวงศ์ดารงตระกูลไว้ ประพฤติปฏิบติตนอยู่ในกรอบแห่ ง ํ ั ศีลธรรมอันดีงามเพือให้ท่านวางใจในการทีจะมอบมรดกให้ครอบครองภายในภาคหน้า ยามท่านเจ็บไข้ไม่ ๒ สุ รศักดิ กิติพงษ์พฒนา, กฎหมายแพ่ ง ๒ : หนี ละเมิด (กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช,๒๕๓๕), ั หน้า ๓๗๑.
  • 3. นิ งดูดายต้องเยียวยารักษา หากท่านสิ นชีวิต ไปต้องจัดการงานศพให้สมเกี ยรติหรื อสมฐานะทีท่านเคยได้ สร้างไว้เมือยังมีชีวิตอยู่ หนี ชีวิตนีนับว่าสําคัญต่อลูกมาก เพราะตังแต่ลกเริ มถือกําเนิ ดเป็ นจุดเล็กๆ ในท้องของแม่ตอง ู ้ อาศัยเลือดเนือของแม่เป็ นอาหาร ต้องอาศัยท้องของแม่เป็ นทีอยูอาศัยให้เกิดมาลืมตาดูโลก มีชีวิตอยู่ในโลก ่ มาจนทุกวันนี ได้เพราะพ่อแม่เป็ นผูให้ชีวิต ให้อาหาร ให้ทีอยู่อาศัย ให้ทุกอย่างแก่ลูกแต่บางครั งลูกๆ ก็ไม่ ้ เคยมีค วามรู้ สึก ว่ าท่ านทังสองได้ให้ชีวิ ต ตนมา และไม่เคยคิ ด ว่ าวันเกิ ด ของตนนันเป็ นวัน ที แม่มีค วาม เจ็บปวดทีสุด แต่แม่ก็มีปีติยนดีทีจะได้เห็นหน้าลูก และพร้อมทีจะทําทุกสิ งทุกอย่างเพือลูกนับตังแต่วนทีลูก ิ ั เกิด แต่แม่ก็มีปีติยนดีทีจะได้เห็นหน้าลูก และพร้อมทีจะทําทุกสิงทุกอย่างเพือลูกนับตังแต่วนทีลูกเกิด เมือ ิ ั เป็ นเช่นนี พ่อแม่จึงได้ชือว่าเป็ นหนี รายใหญ่และสําคัญทีสุดของลูกๆ เพราะท่านได้สร้างคุณอันยิงใหญ่ทีไม่ มีใครในโลกจะสร้างได้เสมอเหมือนกับท่าน ดังจะเห็นได้จากการตังอยู่ในฐานะของพ่อแม่โดยตําแหน่ ง หลายฐานะด้วยกัน คือ๓ ๑) อยู่ในฐานะเป็ นพระพรหมของบุตร คําว่า “พรหม” ในศาสนาพราหมณ์ (ฮินดู) หมายถึงพระ พรหมซึ งเป็ นเทพเจ้าผูสร้างสรรพสิ งขึ นมา มี ๔ หน้า ดังทีปรากฏเห็นตามรู ปภาพและรู ปปั นเทวรู ปของ ้ ศาสนาพราหมณ์ตามศาสนสถานทัวๆ ไป แต่คาว่า “พรหม” ในพระพุทธศาสนาก็มีอยู่ ๔ หน้าเหมือนกัน ํ และคําว่า “หน้า” ในทีนี หมายถึงหน้าทีทีมีต่อลูกทัง ๔ หน้า กล่าวคือหน้าเมตตาคือรักลูกดุจดวงตาดวงใจ หน้ากรุ ณาคือสงสารเห็นใจลูก หน้ามุทุตาคือ ยินดีต่อลูก ไม่อิจฉาไม่ริษยาลูก และหน้าอุเบกขาคือรู้จกวาง ั เฉย วางตนวางใจเป็ นกลาง ไม่เหยียบยําซําเติมยามลูกผิดพลาด บาปซํากรรมซัด ๒) อยู่ในฐานะเป็ นบุรพเทพของเจ้า คําว่า “บุรพเทพ” หมายถึง เทวดาของลูก วิสัยของเทวดา คือให้อภัย ไม่ถือโทษโกรธแค้นในความผิดพลาดทีลูกมีต่อพ่อแม่ ตามวิสัยของปุถุชนทัวไป โดยเฉพาะคน ไทยมักถือศักดิศรี หรื อถือของสูง ใครแตะต้องไม่ได้ เช่น ศีรษะใครจะมาจับเล่นไม่ได้ ไม่งนถือว่าลบหลู่ ดู ั หมิน ใครพูดไม่ไพเราะ ใครด่าว่าเราก็ไม่ชอบ แต่พ่อแม่เวลามีลูก ถูกลูกดึงผมเล่น เขกหัวเล่น กัดนม หยิก ข่วน ด่า พ่อแม่ไม่เคยโกรธลูกเลย นอกจากจะไม่โกรธแล้ว กลับชอบเสียอีก ลูกดึงผมตบหน้า ก็ชืนใจว่าลูก แข็งแรง ลูกด่า ก็ว่าลูกพูดเก่ง หากคนอืนทําเช่นนันบ้างเห็นจะเกิดเรื องเป็ นแน่ แต่พ่อแม่ไม่ถือสาใดๆ ทังสิน ถึงบางครังปัสสาวะใส่ถ่ายรด พ่อแม่ก็ไม่รังเกียจ หากเป็ นของลูกคนอืนก็ขยะแขยงเต็มทน นี แหละเรี ยกว่า “อภัยทาน” อันยิงใหญ่ ซึงเป็ นวิสยของพ่อแม่ทีมีต่อลูก ั ๓) อยู่ในฐานะเป็ นบุรพจารย์ ของบุตร คือเป็ นครู เป็ นอาจารย์คนแรกของลูก ครู อาจารย์ตาม โรงเรี ยน มหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษาต่างๆ นันมิใช่ครู คนแรก หรื อครู ชนหนึ ง แต่เป็ นชันสอง ชันสาม ั ครู คนแรกของลูกได้แก่พ่อแม่ และครู ทีบ้าน (พ่อแม่) กับครู ทีโรงเรี ยนมีวิธีการสอนทีแตกต่างกัน คือครู ที บ้านสอนทุกวิชา และสอนอย่างไม่มีกาหนดเวลา สถานที สอนไม่มีเงิน ํ ๓ พระครู วิวิธธรรมโกศล (ชัยวัฒน์ ธมฺ มวฑฺฒโน), มุทิตานุสรณ์ พระครูวิวิธธรรมโกศล (กรุ งเทพ ฯ : มหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๔), หน้า ๒๑๙-๒๒๐.
  • 4. เดือน แต่ครู ตามสถาบันการศึกษา สอนเฉพาะวิชาทีถนัด สอนตามกําหนดเวลา หมดเวลาก็ไม่สอน จะให้ สอนต่อก็ตองมีค่าตัวเพิม ถ้าเงินน้อยไม่เป็ นทีพอใจก็ไม่สอน สิ นเดือนก็ได้รับเงินเดือน แต่ครู คือพ่อแม่นี ้ นอกจากไม่มีเงินเดือนแล้วยังต้องเสี ยเงินเดือนให้ลูกเสี ยอีก และสอนทุกสิ งทุกอย่างตังแต่การยืน เดิน นัง สอน กิน ขับถ่าย สอนไม่เลือกสถานทีไม่ว่าจะเป็ นวงข้าวหรื อในมุง หรื อแม้ขณะทํางาน ้ ๔) อยู่ในฐานะเป็ นอาหุเนยยะของบุตร คือเป็ นพระอรหันต์ของลูก คําว่า “อรหันต์” มี ๒ อย่าง คือ อรหันต์ของลูก กับอรหันต์ของโลก อรหันต์ของลูกคือพ่อแม่ ยังมีกิเลสอยู่ อรหันต์ของโลก ได้แก่ พระ อริ ย ะบุค คลทีกําจัดกิ เลสได้สินเชิ ง อีก อย่างหนึ งพ่อแม่นันว่าไปแล้ว ก็ คือ บ่ อเกิ ด บุญ ของลูก ที ลูก จะได้ เทิดทูนบูชาสักการะ เพือเป็ นสิริมงคล เรี ยกกันง่ายๆ ว่า “ปูชนียบุคคล” ๕) อยู่ในฐานะเป็ นอนุ กัมปกาของบุ ตร คือเป็ นผูอนุ เคราะห์ สงเคราะห์ลูก เสี ยสละทุกสิ งทุก ้ อย่างเพือลูก ไม่มีความหวงแหน แม้แต่เลือดในอกก็ยงให้ได้ ดังคําทีว่า “สิงอืนใดหรือทีแม่ จะหวง แม้ แต่ ั เลือดในทรวงยังรองให้ ดืมได้ ” นํานมสีขาวๆ ทีลูกดืมนันแหละคือเลือดของแม่ทีแปรเปลียนมาเป็ นนํานม ๖) อยู่ในฐานะเป็ นร่ มโพธิร่ มไทรของบุตร คือให้ความร่ มเย็นเป็ นสุขแก่ลูก ร้อนมาก็เย็น หนาว มา ก็อุ่น ทีไหนเล่าจะอบอุ่นเท่ากับอ้อมอกแม่ วงตักพ่อ ฉะนัน พ่อแม่จึงเป็ นร่ มโพธิร่ มไทร ไม่ใช่ร่มขนุ น ร่ มทุเรี ยน ใครเข้าใกล้ก็ผวากลัวจะร่ วงใส่ แม่ร่มโพธิร่ มไทรคือพ่อแม่พร้อมทีจะให้ความปลอดภัย สบายจิต แก่ลกทุกเวลา เข้าลักษณะทีว่ า “เพียงคําน้ อยแม่ ไม่ เหน็บให้ เจ็บจิตผิดเท่ าผิดถือว่ าบุตรสุ ดจักหา แม้ ชีวิตพ่ อ ู แม่ กให้ เมือภัยมา ขอลูกยาได้ อยู่รอดปลอดภัยพาล” ็ ๗) อยู่ในฐานะเป็ นยอดกัลยามิตร คือพ่อแม่นบว่าเป็ นเพือนทีดีทีสุ ดในโลก ทีบอกว่าท่านทัง ั สองเป็ นยอดกัลยามิตร ก็เพราะว่าท่านไม่เคยคิดทีจะขบถ ไม่ทรยศ ไม่หักหลัง ไม่อิจฉาริ ษยา ยามใดลูกมี ความสุขพ่อแม่ก็มีความปลืมปิ ติไปด้วย แต่ยามใดลูกมีความทุกท่านก็พร้อมทีจะปลอบและหาทางช่วยเหลือ เพือให้ลกพ้นจากทุกข์ ู คุณความดีทีพ่อแม่มีต่อลูกนันมากมายและยิงใหญ่นกยากทีจะนํามากล่าวให้หมดในทีนี ได้ การ ั ทีลูกมองเห็นความดีและรู้จกสนองคุณของพ่อแม่เรี ยกว่า “กตัญ ูกตเวที” เพราะกตัญ ูก็ดี กตเวทีก็ดี เป็ น ั นิมิต เป็ นเครื องหมาย เป็ นยีห้อ เป็ นพืนฐาน เป็ นหลักประกันของคนดี ดังพระบาลีว่า “นิมิตฺต ํ สาธุรูปานํ กต ฺ ูกตเวทิตา” ความว่า “ความกตัญ ูกตเวทีเป็ นนิ มิตรเป็ นเครื องหมายของคนดี” “ภูมิเวสา กต ฺ ู กตเวทิตา” ความว่า “ความกตัญ ูกตเวทีเป็ นพืนฐานของคนดี” ดังนี การทีลูกรู้จกคุณของพ่อแม่ทีมีต่อตน ั และรู้ จ ัก หาโอกาสตอบแทนคุ ณ ของท่ าน นับว่ าเป็ นการใช้หนี แทนคุ ณ อย่างหนึ งตามหลักคําสอนทาง พระพุทธศาสนา หนีบุญคุณ คําว่า “หนีบุญคุณ” หมายถึง หนี ทีเกิดจากการอุปการคุณทีคนอืนเคยให้ความช่วยเหลือตนไม่อย่าง ใดก็อย่างหนึง หรื อหนี ทีเกิดจากวัตถุสิงของทีเราบริ โภคใช้สอย เช่น บ้านเช่าห้องหอ โรงเรี ยน โรงพยาบาล
  • 5. สถานทีอํานวยประโยชน์ให้แก่ชีวิต เป็ นต้น กล่าวโดยภาพรวม คือสิ งไหนก็ตามทีสามารถอํานวยประโยชน์ ให้แก่เราได้ไม่ทางใดก็ทางหนึง สิ งนันถือว่าเป็ นหนี บุญคุณทังสิน และเป็ นสิ งทีจะต้องชําระหนี ทําทดแทน เพือเป็ นมาตรฐานแห่งความสมดุลในการดําเนินชีวิตด้านจริ ยธรรมของคนเรา ทังยังเป็ นหลักประกันความ สงบสุขของสังคมอีกด้วย หนี บุญคุณทีต้องทําทดแทนต่อสิงทีเป็ นคุณูปการต่อตนนันมี ๔ อย่าง คือหนี บุญคุณของคน หนี บุญคุณของสิ งของ หนี บุญคุณของความดี และ หนี บุญคุณของหน้าที หนีบุญคุณของคน คือสิงทีเราจะต้องชดใช้หนี อันเกิดจากบุญคุณของผูให้กาเนิ ดชีวิต เช่น พ่อ ้ ํ แม่ และผูทีมีอุปการคุณทังหลายมี ปู่ ย่า ตา ยาย ครู อาจารย์ ญาติ พีน้อง เพือนฝูง เป็ นต้น คนเหล่านี ถือว่ามี ้ บุญคุณต่อเราไม่เวลาใดก็เวลาหนึง แต่บุญคุณจะมีมากหรื อน้อยขึ นอยู่กบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เช่น ั พ่อแม่ก็ถือว่ามีบุญคุณมาก ส่วนคนนอกนันก็ลดระดับความเกียวข้องกันลงมา วิธีการใช้หนี คือความสํานึกรู้ สิ งทีเขาเหล่านันเคยช่ ว ยเหลือเรา แล้ว หาโอกาสตอบแทนบุ ญ คุณ เขายิงกว่ าสิ งทีเขาเคยช่ วยเหลือเราไว้ เพราะการกระทําเช่นนันถือว่า เป็ นการเพิมดอกเบียของหนี บุญคุณทีเขาเคยช่วยเหลือเราไว้ก่อนหน้านัน หนีบุญคุณของสิงของ คือการทีเรารู้จกคุณค่าของสิ งทีเราใช้สอยเพือเป็ นเครื องอุปโภคบริ โภค ั ในชีวิตประจําวัน หรื อทีเรี ยกว่า “ปัจจัย ๔” สิงเหล่นีถึงแม้ว่าจะเกิดมาจากการผลิตหรื อการสร้างสรรค์ของ มนุษย์ แต่มนุษย์ก็สร้างขึ นมาเพือเอาสิ งของเหล่านันได้กลายมาเป็ นสิ งจําเป็ นทีมนุ ษย์จะขาดเสี ยมิได้ เมือ สิ งของเหล่านีเป็ นสิ งจําเป็ นและมีค่ายิงสําหรับชีวิตมนุษย์ๆ จึงมีความจําเป็ นอย่างยิงทีจะต้องดูแลรักษาเอาใจ ใส่กบสิงของทีอํานวยความสุขสบายให้กบชีวิตตน ถ้าเราไม่รู้จกดูแลรักษาสิ งของทีเราใช้สอย ก็เหมือนกับ ั ั ั เราไม่รู้จกหนี บุ ญคุณของสิ งของ และสิ งของเหล่านันอาจทําอันตรายให้แก่ชีวิตเราได้ เช่ น บ้านช่องทีอยู่ ั อาศัย ถ้าเราไม่ดูแลรักษาทําความสะอาด มันก็จะสกปรก อาจทําให้เราเกิดโรคภัยได้ หรื อรถทีเราขับขี ถ้าไม่ หมันเช็ดดูแลสภาพของมัน รถอาจมีปัญหาเวลาใช้ก็ได้ ดังนันเมือเรารู้ว่าสิ งของทุกอย่างมีคุณกับเรา สมควร ทีเราจะต้องใช้หนี โดยการดูแลรักษาสิงของเหล่านันให้ดี หนีบุญคุณของความดี คือหนี ทีเกิดจากคุณงามความดีทีเรานํามาประพฤติปฏิบติแล้วก่อให้เกิด ั ผลคือความสุ ขใจ ทังแก่ปัจเจกบุค คลและสังคมส่ วนรวม ความดีในที นี หมายถึงหลักของศีลธรรม หรื อมี มนุษยธรรม ทีเรี ยกได้ว่าอารยชนมีธรรม คือมีคุณสมบัติ ดังนี มีสุจริตทังสาม คือ มีความประพฤติดี ประพฤติชอบ ๓ ประการ ดังนี ๑) กายสุ จริต ความสุจริ ตทางกาย ทําสิงทีดีงามถูกต้อง ประพฤติชอบด้วยกาย ๒) วจีสุจริต ความสุจริ ตทางวาจา พูดสิงทีดีงามถูกต้อง ประพฤติชอบด้วยวาจา ๓) มโนสุ จริต ความสุจริ ตทางใจ คิดสิ งทีดีงามถูกต้อง ประพฤติดวยใจ้ ประพฤติตามอารยธรรม โดยปฏิบติถกต้องตามทางแห่งกุศลกรรม ๑๐ ประการ ดังนี ั ู ๑) ทางกาย ๓ (๑) ละเว้นการฆ่า การสังหาร การบี บคัน เบี ยดเบี ยน มีเมตตากรุ ณ าช่ วยเหลือเกื อกูล สงเคราะห์กน ั
  • 6. (๒) ละเว้นการแย่งชิงลักขโมย และการเอารัดเอาเปรี ยบ เคารพสิทธิในทรัพย์สินของกัน และกัน (๓) ละเว้นการประพฤติผดล่วงละเมิดในของรักของหวงแหนของผูอืน ไม่ข่มเหงจิตใจ ิ ้ หรื อทําลายลบหลู่เกียรติและวงศ์ตระกูลของกัน ๒) ทางวาจา ๔ (๑) ละเว้นการพูดเท็จ โกหกหลอกลวง กล่าวแต่คาสัตย์ ไม่จงใจพูดให้ผิดจากความจริ ง ํ เพราะเห็นแก่ผลประโยชน์ใดๆ (๒) ละเว้น การพูดส่ อเสี ยด ยุยง สร้ างความแตกแยก พูด แต่ ค าที สมานและส่ งเสริ ม ํ สามัคคี (๓) ละเว้นการพูดคําหยาบคาย สกปรกเสียหาย พูดแต่คาสุภาพ นุ่มนวลควรฟัง ํ (๔) ละเว้นการพูด เหลวไหลเพ้อเจ้อ พูด แต่ ค วามจริ ง มีเหตุ ผล มีสารประโยชน์ ถูก กาลเทศะ ๓) ทางใจ ๓ (๑) ไม่ละโมบ ไม่เพ่งเล็งคิ ด หาทางเอาแต่ จ ะได้ คิ ด ให้ คิ ด เสี ย สละ ทําใจให้เผือแผ่ กว้างขวาง (๒) ไม่คิดร้ายมุ่งเบียดเบียน หรื อเพ่งมองในแง่ทีจะทําลาย ตังความปรารถนาดี แผ่ไมตรี มุ่งให้เกิดประโยชน์สุขแก่กน ั (๓) มีความเห็นถูกต้อง เป็ นสัมมาทิฎฐิ เข้าใจในหลักกรรมว่า ทําดีมีผลดี ทําชัวมีผลชัว รู้เท่าทันความจริ งทีเป็ นธรรมดาของโลก และชีวิต มองเห็นความเป็ นไปตามเหตุปัจจัย ธรรม ๑๐ ข้อนี เรี ยกว่า กุศลกรรมบถบ้าง ธรรมจริ ยาบ้าง อารยธรรมบ้าง เป็ นรายละเอียดขยาย ความสุจริ ต ๓ ข้อข้างต้น คือ ๑- ๓ เป็ นกายสุจริ ต ข้อ ๔– ๗ เป็ นวจีสุจริ ต ข้อ ๘-๑๐ เป็ นมโนสุจริ ต๔ หลักแห่งศีลธรรมเหล่านีถือว่าเป็ นหลักแห่ งความดีของชีวิต มนุ ษย์จะพัฒนาตนเองให้ดีได้หรื อ ให้เจริ ญขึนได้ ก็ดวยอํานาจแห่งศีลธรรมเหล่านี เมือหลักแห่งศีลธรรมเป็ นสัญลักษณ์แห่ งความดี จึงจําเป็ น ้ ทีเราจะต้องรู้คุณค่าของความดี เพราะความดีเป็ นสิ งนําความสุ ขมาให้แก่ชีวิตและสังคม เราจึงเป็ นหนี ของ ความดีอยูมาก การใช้หนี บุญคุณของความดี คือการรู้จกระวังรักษา กาย วาจา และใจให้อยูในกรอบของกุศล ่ ั ่ กรรมบถ ๑๐ ประการดังกล่าว หนีบุญคุณของหน้ าที คือหนี ทีเกิดจากการกระทําตามหน้าทีต่างๆ แล้วเกิดเป็ นความดี ความ งาม และความสุขขึนในชีวิต ทุกชีวิตต้องมีหน้าที การกระทําตามหน้าทีถือว่าเป็ นการปฏิบติธรรมไปในตัว ั ๔ พระพรหมคุณาภรณ์, ธรรมนูญชีวิต (กรุ งเทพ ฯ : สํานักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ,๒๕๔๘), หน้า ๓๒-๓๔.
  • 7. ดังทีท่านพุทธทาสกล่าวว่า “ธรรมคือหน้ าที” ซึงหน้าทีในทีนี ก็คือภาระทีตนรับผิดชอบ มี ๔ อย่างด้วยกัน คือ๕ ๑) ภาระทีจะต้องแสวงหาทรัพย์ โดยมีหน้าทีเป็ นทหาร ตํารวจ หรื อเป็ นครู เป็ นต้น ๒) ภาระทีจะต้องทําประโยชน์ให้แก่กนและกันในครอบครัว ั ๓) ภาระทีจะต้องทําประโยชน์ให้ออกไปสู่สงคมให้มากทีสุด ั ๔) ภาระทีจะต้องทําประโยชน์เพือตัวเองให้เจริ ญทังกายและใจตามหลักธรรม ภาระหรื อหน้าทีทัง ๔ ประการนี เป็ นสิ งนําความเจริ ญมาให้ทงแก่ตนเองและสังคม ถือว่าเป็ น ั ความดีสาหรบชีวิต ดังทีค้านท์ (Kant) กล่าวว่า “การกระทําดี คือ การกระทําตามหน้ าที จะเกิดผลอย่ างไรก็ ํ ตามก็ถอว่าดีทังนัน”๖ ฉะนัน เราต้องเคารพในหน้าทีของเราเอง โดยการนึกถึงบุญคุณของความดีอนเกิดจาก ื ั การปฏิบติหน้าทีทีเรารับผิดชอบอย่างเคร่ งครัด จะได้ชือว่าเป็ นผูไม่ประมาทในชีวิต มีความรอบคอบในชีวิต ั ้ ชีวิตจะได้ไม่ตกตํา มีแต่ความเจริ ญถ่ายเดียว แต่ถาเราไม่ปฏิบติตามหน้าที ก็ถือว่าเราทรยศต่อหน้าที ไม่รู้จก ้ ั ั ใช้หนีบุญคุณของหน้าที ชีวิตก็คงจะตกตํา ไม่มีความเจริ ญก้าวหน้า หนีกรรม คําว่า “หนีกรรม” หมายถึง หนี ทีเกิดจากผลของการกระทําของมนุ ษย์หรื อสัตว์ทงหลายเป็ นกฎที ั ยุติ ธรรมที สุ ด ทีจะพิพากษา ลงโทษ หรื อให้ร างวัลแก่มวลมนุ ษ ย์หรื อสัต ว์อย่างปฏิเสธและปกปิ ดไม่ได้ ความลับชองกฎแห่งกรรมนันไม่มี มนุษย์หรื อสัตว์ทงหลายมีกรรมเป็ นของตน มีกรรมเป็ นทายาทติดตาม มี ั กรรมเป็ นแดนเกิด มีกรรมเป็ นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็ นทีอยูอาศัย กรรมย่อมจําแนกสัตว์ให้เลวและให้ประณี ตได้ ่ กฎแห่งกรรมไม่เลือกเห็นแก่หน้าว่าจะเป็ นพระหรื อคนธรรมดาจะส่ งผลตามเหตุตามปั จจัยทีแต่ละคนได้ กระทําไว้ตามจังหวะเวลา ชีวิตในสังสารวัฏนัน มีแต่กรรมเท่านันทีคอยผกผันหรื อผลักดันชีวิตให้เป็ นไปใน เรื องราวต่างๆ ซึงเป็ นยิงกว่ากฎเหล็กทังหลายในโลกทีคอยบังคับบัญชาสรรพสัตว์และสรรพสิ งทังหลายอยู่ ใครๆ ก็ไม่อาจจะหลีกเลียงได้ แม้บุคคลนันจะเชือหรื อไม่เชือ จะรู้หรื อไม่รู้ก็ตาม ทุกคนล้วนแต่ตกเป็ นเชลย อยูภายใต้กฎแห่งกรรมทังสิน ถ้าไม่รู้หรื อไม่ได้ศึกษาเรื องกฎแห่ งกรรม การดําเนิ นชีวิตในสังสารวัฏนับว่า ่ อันตรายมาก ทุกชีวิตเป็ นอยูดวยกรรม นันคือได้รับผลของกรรมเก่า (วิบาก) และกําลังทํากรรมใหม่อยูตลอดเวลา ่ ้ ่ ชีวิตของคนเราจึงเกิดมาด้วยกรรม และตายไปด้วยกรรม กล่าวคือชีวิตของคนเราทีเกิดมาก็เพราะแรงผลักดัน ทีได้ป้อนข้อมูลของการกระทํากรรมทีมีมาในอดีตชาติ และเมือเกิดมาแล้วขณะทียังมีชีวิตอยู่ก็มีการกระทํา กรรมทังกาย วาจา และใจ เท่ากับกําลังป้ อนข้อมูลใหม่เพิมอยู่ตลอดเวลา และข้อมูลทีมีอยู่เหล่านี เองจะเป็ น ตัวผลักดันให้แสดงออกไปในอนาคต นันคือไปด้วยกรรมนันเอง ดังนันชีวิตของคนเราจึงต้องวนเวียนอยู่ใน ๕ เชวง เดชะไกศยะ, พัฒนาตนด้ วยศาสนาธรรม (กรุ งเทพ ฯ : มูลนิธิปริ ญญาธรรม,๒๕๓๙), หน้า ๗๔. ๖ พระทักษิณคณาธิกร,ปรัชญา (กรุ งเทพ ฯ : สํานักพิมพ์ดวงแก้ว,๒๕๔๔), หน้า ๒๒๔.
  • 8. สังสารวัฏ คือรอบแห่งการเวียนว่ายตายเกิดของชีวิตไม่ว่าจะเป็ นรอบใด หรื อชาติไหนก็ตาม ทุกชีวิตเมือเกิด มาก็ตองพบแต่ความทุกข์อย่างหลีกเลียงไม่ได้ เมือใดเรายอมรับว่า ชีวิตของเราถูกผลักดันมาด้วยแรงของ ้ กรรมทีเราทําขึนมาเอง เราจึงต้องมรับผลของกรรมทีเราทําไว้แล้ว เมือนันเราก็จะสามารถพิจารณาเลือกทีจะ กระทํากรรมได้ เพราะว่ากรรมนันมีทงกรรมดี (กุศลกรรม) และกรรมชัว (อกุศลกรรม) ั ทัศนะเรืองกรรมในพระพุทธศาสนา หลักคําสอนเรื อง “กรรม” ถือว่าเป็ นเรื องทีสําคัญประการหนึงในพุทธศาสนา เพราะมีลกษณะเป็ น ั วิทยาศาสตร์ คือสามารถพิสูจน์หรื ออธิบายได้ดวยเหตุผล พุทธศาสนาได้สอนเรื องกรรมไว้ว่า กรรมเป็ น ้ เครืองบันดาล กรรมเป็ นเครืองสร้ างทุกอย่ าง กรรมคือการกระทํา กระทําไว้ อ ย่ างไร ย่ อมเกิดผลแห่ งการ กระทํานัน เหมือนชาวนาหว่านพืชไว้เช่ นไร ย่อมได้ รับผลแห่ งการหว่านพืชนัน เช่ นนันเหมือนกัน ในอภิณ หปั จจเวกขณสู ตร มีคาสอนเรื องกรรมไว้ว่า หญิง ชาย คฤหั สถ์ บรรพชิ ต ควรพิจารณา ํ เนืองๆ ว่า เรามีกรรมเป็ นของตน เป็ นผู้รับผลของกรรม มีกรรมเป็ นกําเนิด มีกรรมเป็ นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็ น ทีอยู่อาศัย เราทํากรรมอันใดไว้ ดีกตาม ชัวก็ตาม เราจักได้ รับผลของกรรมนัน ็ อีกข้อความหนึง ทีปรากฏใน วาเสฏฐบุตรว่า บุคคลไม่ได้เป็ นคนชัว ไม่ได้เป็ นคนดี เพราะชาติ หาก เป็ นเพราะการกระทํา บุคคลเป็ นชาวนา เป็ นศิลปิ น เป็ นพ่อค้า เป็ นคนรับใช้ เป็ นโจร เป็ นทหาร เป็ นนักบูชา ยัญ เป็ นพระราชา ก็เพราะการกระทํา โลกเป็ นไปเพราะกรรม สัตว์ทงหลายผูกพันธ์อยู่ทีกรรม เหมือนกับ ั สลักลิม เป็ นเครื องยึดรถทีแล่นไปฉะนัน๗ ความหมายของกรรม ในหนังสือพุทธธรรมได้ให้ความหมายของกรรมไว้ว่า การงานหรื อการกระทํา แต่ในทางธรรมต้อง จํากัดความจําเพราะลงไปว่า หมายถึงการกระทําทีประกอบด้วยเจตนาหรื อการกระทําทีเป็ นไปด้วยความจง ใจ ถ้าเป็ นการกระทําทีไม่มีเจตนาก็ไม่เรี ยกว่าเป็ นกรรมในความหมายทางธรร๘ กล่าวคือการกระทําทีได้ชือ ว่าเป็ นกรรมนันย่อมประกอบด้วยเจตนาเป็ นพืนฐานของการกระทํา ดังพุทธพจน์ทีว่า เจตนาหํ ภิกฺขเว กมฺ ม ํ วทามิ ความว่า เรากล่าวเจตนาว่าเป็ นกรรม หมายถึง สิ งทีบุคคลตังใจแล้ว หรื อคิดแล้วย่อมกระทํากรรมทาง กาย ทางวาจา หรื อทางใจ คําว่า “กรรม” เป็ นศัพท์ภาษาสันสกฤต (ภาษาบาลี คือ กมฺม) แปลว่า การกระทํา เป็ นคํากลางๆ ไม่ดี ไม่ชว ถ้าการกระทํานันเป็ นการกระทําดี ก็เรี ยกว่า กุศลกรรม แต่ถาเป็ นการกระทําไม่ดีก็เป็ น อกุศลกรรม ั ้ เหมือนคําว่ า ทิฏฐิ (ความเห็น ) ก็ เป็ นคํากลางๆ เหมือนกัน ยังไม่ถือว่ าผิดหรื อไม่ผิด เมือเห็ นชอบก็เป็ น ๗ เสฐียร พันธรังษี,ศาสนาเปรียบเทียบ (กรุ งเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๔), หน้า ๑๕๒ - ๑๕๓. ๘ พระเทพเวที, พุทธธรรม (กรุ งเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๒), หน้า ๑๕๗.
  • 9. สัมมาทิฏฐิ แต่ถามีความเห็นผิดก็เป็ นมิจฉาทิฏฐิ ฉะนัน เมือพบคําว่า กรรม ก็ให้เข้าใจว่า เป็ นการกระทําที ้ ประกอบด้วยความจงใจ คือมีเจตนาทีจะกระทํา กล่าวคือเป็ นการกระทําโดยหวังผลลัพธ์ ลักษณะของกรรม การกระทําทุ กอย่างไม่ใช่ เป็ นกรรมเสมอไป แต่การกระทําทีจัดว่าเป็ นกรรมโดยสมบูรณ์ จะต้อง ประกอบด้วยลักษณะ ๓ ประการ คือ ๑. มีกิเลสเป็ นแรงกระตุนให้เกิดการกระทํา ้ ๒. มีเจตนา คือความจงใจหรื อตังใจทีจะกระทํา ๓. ลงมือกระทํา เจตนาเป็ นองค์ประกอบทีสําคัญทีจะทําให้การกระทํานันเป็ นกรรมโดยสมบูรณ์หรื อไม่ ตัวอย่างเช่น นาย ก. ขับรถยนต์ไปชนสุนขตาย การกระทําของนาย ก. ไม่จดว่าเป็ นกรรม เพราะนาย ก. ไม่มีเจตนาทีจะ ั ั กระทํา (ไม่ตงใจทีจะขับรถชนสุนข) แต่ถานาย ก. ใช้ปืนยิงสุนขตาย เพราะโมโหทีเจ้าสุ นัขตัวนันไปกัดไก่ ั ั ้ ั ชนทีเขาเลียงไว้ การกระทําของนาย ก. จัดว่ าเป็ นกรรม เพราะองค์ประกอบของการกระทํากรรมครบ สมบูรณ์ คือ มีกิเลส (ความโกรธ) เป็ นแรงผลักดันให้กระทํากรรมนัน ประกอบกับมีความจงใจในการลงมือ กระทําด้วย เมือการกระทํานันสําเร็ จผลโดยมีแรงผลักดันกับความจงใจมีอยู่ดวยกัน ผลของการกระทํานัน ้ จัดเป็ นกรรมทันที เครืองมือในการกระทํากรรม มนุษย์มีส่วนประกอบทีสําคัญ ๒ อย่างคือ กายกับใจ ในส่ วนกายทีใช้กระทําการได้ก็มีอยู่ ๒ ส่ วน ด้วยกัน คือร่ างกาย (มือ เท้า) กับ ปาก เมือกล่าวโดยสรุ ป เครื องมือทีใช้ในการกระทํากรรมของมนุษย์มีอยู่ ๓ ทาง คือ ๑. กายกรรม คือการกระทําทางกาย มีทงทีเป็ นกุศลและอกุศล คือทังดีและไม่ดี กายกรรมฝ่ ายกุศล ั ได้แก่ การไม่ฆ่าสัตว์ การไม่ลกขโมย การไม่ประพฤติเสียหายในเรื องกาม กายกรรมฝ่ ายอกุศล ได้แก่ การฆ่า ั สัตว์ การลักขโมย การประพฤติผดในกาม ิ ๒. วจีกรรม คือการกระทําทางวาจา มีทงทีเป็ นกุศลและอกุศล คือมีทงดีและไม่ดี วจีกรรมฝ่ ายกุศล ั ั ได้แก่ การไม่พดเท็จ การพูดคําหยาบ การไม่พดส่อเสียด การไม่พดคําเพ้อเจ้อ วจีกรรมฝ่ ายอกุศล ได้แก่ การ ู ู ู พูดเท็จ การพูดคําหยาบ การพูดคําส่อเสียด การพูดคําเพ้อเจ้อ ๓. มโนกรรม คือการกระทําทางใจ มีทงทีเป็ นกุศลและอกุศล คือมีทงดีและไม่ดี มโนกรรมฝ่ ายกุศล ั ั ได้แก่ การคิดในทางไม่โลภอยากได้ของคนอืน การคิดในทางไม่เบียดเบียนคนอืน การมีความเห็นถูกต้อง ตามทํานองคลองธรรม มโนกรรมฝ่ ายอกุศล ได้แก่ คิดโลภอยากได้ของคนอืน การคิดไปในทางเบียดเบียน คนอืน การเห็นผิดจากทํานองคลองธรรม
  • 10. ประเภทของกรรม ในพระไตรปิ ฎกจําแนกกรรมออกเป็ นหลายประเภทแล้วแต่ ว่าจะจําแนกเพือวัตถุประสงค์อะไร กล่าวคือ ถ้าแบ่งตามคุณภาพหรื อตามธรรมทีเป็ นมูลเหตุ กรรมสามารถแบ่งได้เป็ น ๒ อย่าง ดังนี ๑. อกุศลกรรม คือกรรมทีเป็ นอกุศล การกระทําทีไม่ดี กรรมชัว หมายถึงการกระทําทีเกิดจากอกุศล มูล คือ โลภะ โทสะ หรื อ โมหะ ๒. กุศลกรรม คือกรรมทีเป็ นกุศล การกระทําทีดี หรื อกรรมดี หมายถึงการกระทําทีเกิดจากกุศลมูล คือ อโลภะ อโทสะ หรื ออโมหะ ถ้าเป็ นกรรมจําแนกตามสภาพทีสัมพันธ์กบวิบากหรื อการให้ผล จัดเป็ น ๔ ประเภท คือ๙ ั ๑. กรรมดํา หมายถึงอกุศลกรรมทีเกิดจากอกุศลเจตนา ได้แก่กายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขารทีมี การเบียดเบียน ตัวอย่างเช่น ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผดในกาม พูดเท็จดืมนําเมา เป็ นต้น นอกจากนี กรรม ิ ดํายังหมายถึงครุ กรรมอกุศล ๕ อย่าง คือ ฆ่าพ่อ ฆ่าแม่ ฆ่าพระอรหันต์ ทําร้ายพระพุทธเจ้าจนห้อพระโลหิ ต และยุยงสงฆ์ให้แตกกัน กรรมดํามีผลดํา คือผลทีก่อให้เกิดความทุกข์ ความเดือดร้อนแก่ผกระทํา ซึงอาจเกิดในชาตินีหรื อ ู้ ชาติหน้า หรื อทังชาตินีชาติหน้า ซึงแล้วแต่กรรมนันๆ เช่น การฆ่าคนตายให้ผลในชาตินีคือถูกจําคุก ผลใน ชาติหน้าตกนรก ผูประกอบกรรมดําได้รับผลสองชัน ผลชันนอกคือทําให้ตวเองเดือดร้อน ผลชันในคือทําให้ ้ ั ใจเศร้าหมอง กิเลสในตัวงอกงามยิงขึน ๒. กรรมขาว หมายถึงกุศลกรรมทีทีเกิดจากกุศลเจตนา ได้แก่ กายสังขาร วจีสังขาร และมโน สังขารทีไม่มีการเบียดเบียน งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ จากการลักทรัพย์ จากการประพฤติผดในกาม จากการพูด ิ เท็จ จากการดืมนําเมา การให้ทาน การรักษาศีล การมีจิตเมตตากรุ ณาต่อผูอืน นอกจากนี กรรมขาวยังรวมไป ้ ถึงครุ กรรมฝ่ ายกุศล คือ สมาบัติ ๘ อันได้แก่รูปฌาน ๔ และอรู ปฌาน ๔ ด้วย กรรมขาวมีผลขาว คือผลที ก่อให้เกิดความสุขสบาย ความเจริ ญรุ่ งเรื องในชีวิต ซึงอาจเกิดในชาตินีหรื อชาติหน้า หรื อทังชาตินีและชาติ หน้าก็ได้ ผูประกอบกรรมขาวจะได้รับผลชันนอก คือทําให้ตวเองมีความสุขและมีความเจริ ญรุ่ งเรื องในชีวิต ้ ั ผลชันในคือ ทําให้กิเลสเครื องเศร้าหมองลดน้อยลงไป ๓. กรรมทังดําทังขาว หมายถึงกรรมทีเป็ นทังอกุศลและกุศลซึงเกิดจากเจตนาทีเป็ นทังอกุศลและ กุศล ได้แก่ กายสังขาร วจีสงขาร มโนสังขาร อันมีความเบียดเบียนบ้าง ไม่เบียดเบียนบ้าง เช่น การกระทํา ั ของมนุษย์ทวๆ ไป ั กรรมทังดําทังขาวให้ผลทังดําทังขาว คือก่อให้เกิดทังสุขและทุกข์ระคนกัน เช่น เกิดในตระกูลมังคัง รํารวยแต่ขีโรค เป็ นต้น ๙ สุ จิตรา อ่อนค้อม, ศาสนาเปรียบเทียบ (กรุ งเทพ ฯ : หจก.สํานักพิมพ์ และสายส่ งดวงแก้ว,๒๕๔๕), หน้า ๘๘- ๘๙.
  • 11. กรรมทังสามอย่างทีกล่าวมานียังมีผลต่อการเวียนว่ายตายเกิด กล่าวคือเมือทํากรรมหนึ งกรรมใดใน ๓ อย่างนี บุคคลยังต้องเกิดเพือรับผลของกรรมนันๆ ไม่ว่าจะเป็ นผลดีหรื อผลชัว หรื อทังผลดีและผลชัว ๔. กรรมไม่ดําไม่ขาว หมายถึงกรรรมทีไม่เป็ นทังอกุศลและกุศล เกิดจากเจตนาทีไม่ใช่ทงอกุศลและ ั กุศล ได้แก่ เจตนาเพือละกรรมดํา กรรมขาว และกรรมทังดําทังขาว คือการปฏิบติอริ ยมรรคมีองค์ ๘ ทังนี ั เพราะการปฏิบติอริ ยมรรคมีองค์ ๘ นันย่อมเป็ นการหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏฏ์ตลอดไป ั กรรมไม่ดาไม่ขาวให้ผลไม่ดาไม่ขาว เพราะกรรมชนิ ดนี เป็ นไปเพือดับภพ ดับชาติ เพือความหลุด ํ ํ พ้น เพือทีสุดแห่งทุกข์ เพือนิพพาน เพราะผูปฏิบติกรรมชนิดนีในทีสุดก็จะบรรลุอรหัตตผลเป็ นพระอรหันต์ ้ ั การกระทําของพระอรหันต์จึงเรี ยกว่า กิริยา เพือให้แตกต่างจากรรมธรรมดา กรรมไม่ดาไม่ขาวนําไปสู่การ ํ สิ นสุดแห่งกรรม กรรมทังปวงทีทําจะนําไปสิ นสุดในกรรมนัน กรรมดีและกรรมชัวทีเคยทําไว้แม้จะยังให้ ผลไม่หมด แต่เมือบรรลุนิพพานแล้วกรรมเหล่านันก็กลายเป็ นอโหสิกรรม คือกรรมทีไม่ให้ผลอีกต่อไป กรรม ๑๒ ประเภท พระอรรถกถาจารย์ได้แบ่ งกรรมออกเป็ น ๓ ประเภท และแต่ ละประเภทแบ่ งย่อยออกเป็ น ๔ ประการ เรี ยกว่า กรรม ๑๒ คือ๑๐ ๑. กรรมทีให้ ผลตามหน้ าที ตามหลักพุทธศาสนาเชือว่ามนุษย์ทุกคนเกิดมาเพราะกรรมของตน กรรมเป็ นตัวกําหนดวิถีชีวิตของ มนุษย์ ชีวิตจะเป็ นอย่างไรล้วนขึนอยูกบกรรมทีตนทําไว้ กรรมจะทําหน้าอย่างตรงไปตรงมา เพือให้ผลของ ่ ั การกระทําสมดุลกับกรรมทีตนทําไว้ ในทีนี แบ่งกรรมทีให้ผลตามหน้าทีออกเป็ น ๔ ประเภท คือ ๑) ชนกกรรม หมายถึงกรรมแต่งให้เกิด กรรมทีเป็ นตัวนําไปเกิด ถ้าเป็ นกรรมดีก็นาไปเกิดในภพทีดี ํ ถ้าเป็ นกรรรมชัวก็นาไปเกิดในภพทีชัว หน้าทีของกรรมชนิ ดนี คือเมือบุคคลตายลง ชนกกรรมมีหน้าทีนํา ํ บุคคลนันไปเกิดตามฐานะสมควรแก่กรรรมทีเขาทํา เช่นนําไปเกิดในตระกูลมังคังรํารวย หรื อในตระกูล ยากจนขัดสน เป็ นต้น เมือนําไปเกิดตามสมควรแก่ฐานะของกรรมทีบุคคลนันทําแล้ว ก็เป็ นอันหมดหน้าที เปรี ยบเหมือนบิดาผูยงบุตรให้เกิดแล้วเป็ นอันหมดหน้าทีฉะนัน ้ั ตัวอย่างเช่น : วีระพล เป็ นลูกชายของสุ ทธินันท์มหาเศรษฐีทางจังหวัดภาคเหนื อของประเทศไทย ชนกกรรมฝ่ ายกุศลนําวีระพลมาเกิดในตระกูลมหาเศรษฐี เขาไม่ลาบากในชีวิตเลย เพราะพ่อแม่ของเขามีเงิน ํ อยากได้อะไร พ่อแม่ก็ซือหามาให้ คําว่า ไม่มี เขาไม่เคยได้ยนิ ตรงกันข้ามกับทองมี ซึงเป็ นลูกของลุงมาป้ ามีอาชีพทํานาทําสวนในแถบภาคอีสาน เขาไม่เคยพบ กับความสบายใจในชีวิตเลย มีแต่ทางานหนักช่วยพ่อแม่หาเลียงครอบครัวเพราะพ่อแม่ของเขาเป็ นชาวนา ํ ยากจน เขาไม่เคยได้ยนคําว่า มี เลยในชีวิต ิ ๑๐ พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร, พุทธปรัชญาการศึกษา (เลย : เลยปริ น, ๒๕๕๐), หน้า ๕๑-๕๖.
  • 12. สิงทีทําให้วีระพลกับทองมามีความแตกต่างกันในลักษณะของการเกิดก็คือ กรรม ซึงทังสองทํามา ไม่เหมือนกัน ๒) อุปัตถัมภกรรม หมายถึงกรรมสนับสนุน กรรมทีเข้าช่วยสนับสนุนหรื อซําเติมต่อจากชนกกรรม กล่าวคือเมือชนกกรรมแต่างให้เกิดแล้ว อุปัตถัมภกรรมจึงเข้ามาสนับสนุ นส่ งเสริ ม เปรี ยบเหมือนแม่นมผู้ เลียงทารกที บิดาให้เกิด แล้ว หากชนกกรรรมนําไปเกิด ในตระกูลที มังคังรํารวย อุปัต ถัมภกกรรมก็จะไป สนับสนุนให้ได้รับความสุข เข้าในลักษณะว่ารุ่ งเรื องมาแล้ว มีรุ่งเรื องไปภายหน้า แต่ถาชนกกรรมแต่งให้ ้ เกิดในทีไม่ดี อุปัตถัมภกกรรมก็จะไปซําเติมให้เลวยิงขึน เข้าในลักษณะว่า มืดมาแล้วมีมืดไปภายหน้า ดังนัน ถ้าชนกกรรรมดี อุปัตถัมภกรรมก็ดีดวย แต่ถาชนกกรรมไม่ดี อุปัตถัมภกรรมก็พลอยไม่ดีไปด้วย ้ ้ ตัวอย่างเช่น : ชนกกรรมฝ่ ายกุศลนําพาให้วีระพลมาเกิดในตระกูลทีมีฐานะมังคงแล้ว เขายังมีความ สมบูรณ์ทางร่ างกายอย่างเต็มที มีอวัยวะครบทุกส่วน ในขณะเดียวกันความสมบูรณ์ทางจิตใจของวีระพลก็ ยอดเยียม เขาเป็ นคนมีอุปนิ สัย อ่อนน้อมถ่อมตน มี ค วามขยัน หมันเพีย รในการแสวงหาความรู้ และมี กิริยามารยาทเรี ยบร้อยสมกับเป็ นลูกผูดีทุกประการ เขาไม่เคยสร้างความเดือดร้อนให้กบพ่อแม่ การทีวีระพล ้ ั เกิดมามีความสมบูรณ์ทางร่ างกายทุกอย่าง เป็ นเพราะชนกรรรมฝ่ ายกุศล ในขณะเดียวกันอุปัตถัมภกรรมก็ สนับสนุนให้เขาดียงขึนิ ชนกกรรมฝ่ ายอกุศลนําพาให้ทองมามาเกิ ดในตระกูลชาวนาที ยากจน ตัวเขาเองก็เกิ ดมาเป็ นคน พิการมาแต่กาเนิด พ่อแม่ของทองมาก็เป็ นคนไม่เอาไหน คือพ่อขีเหล้า แม่เล่นการพนัน ทะเลาะกันเกือบทุก ํ วัน ตัวเขาเองนอกจากจะเป็ นคนพิการแล้ว ยังมีนิสยไม่ดีหลายอย่าง เช่น ชอบดืมเหล้า และเล่นไพ่ เวลาเมาก็ ั เล่นบทนักเลงท้าตีต่อยกับชาวบ้านอยู่ลาไป ทีเป็ นเช่นนี เพราะกรรมฝ่ ายอกุศลนําพาให้ทองมามาเกิดใน ํ สภาพแวดล้อมทีไม่ดี อุปัตถัมภกรรมก็สนับสนุนซําเติมให้เขาเลวยิงขึน ๓) อุปปี ฬกกรรม หมายถึงกรรมบีบคัน กรรมทีมาให้ผลบีบคันผลแห่ งชนกกรรม และอุปัตถัมภ กรรมนัน ให้แปรเปลียนทุเลาลงไป บันทอนวิบากมิให้เป็ นไปได้นาน เช่น ถ้าชนกกรรมดี อุปปี ฬกกรรมก็จะ ไปบีบคันให้เลวลง เข้าลักษณะว่า รุ่ งเรื องมาแล้วมีมืดไปภายหน้า แต่ถาชนกกรรมไม่ดี อุปปี ฬกกรรมจะเข้า ้ ไปกีดกันให้ทุเลาลง เข้าในลักษณะว่ามืดมาแล้วมีรุ่งเรื องไปภายหน้า เมืออุปปี ฬกกรรมมันเบียดเบียนชนก กรรมมันจึงเบียดเบียนอุปถัมภกกรรมไปด้วย เพราะอุปัตถัมภกรรมจะไปตามชนกกรรม ตัวอย่างเช่น : ชนกกรรรมฝ่ ายกุศลนําพาให้สุนทรมาเกิดในตระกูลทีมีฐานะดี แต่อุปปี ฬกกรรมก็มา บีบคันขัดขวางให้เขาเป็ นคนไม่ดี เขาเกิดมาในตระกูลทีดีมีทงฐานะและชือเสี ย ง แต่ปรากฏว่า ฐานะและ ั ชือเสียงต้องมาสูญสิ นหรื อเสือมลง เพราะสุนทรประพฤติตนเป็ นคนไม่เอาไหน สร้างความลําบากใจให้แก่ พ่อแม่เป็ นอย่างมาก ชนกกรรมฝ่ ายอกุศลนําพาให้แดงมาเกิดในตระกูลตํา เป็ นคนมีฐานะยากจนและลําบากมาก แต่อุป ปี ฬกกรรมมาขัดขวางให้เขาเป็ นคนดี ถึงแม้เขาจะเกิดมาในครอบครัวทีมีฐานะยากจน มิหนําซําเขายังพิการ มาแต่ก าเนิ ด อีกด้วย แต่เขาก็ไม่ได้ปล่อยชีวิต ให้เปล่าประโยชน์ เขาเป็ นคนมีความขยันมุ่งมันและอดทน ํ ประกอบสัมมาชีพ จนสร้างฐานะของตนเองขึนทัดเทียมกับคนอืนได้
  • 13. ๔) อุ ป ฆาตกรรม หมายถึงกรรมตัด รอน เป็ นกรรมแรง กรรมฝ่ ายตรงข้า มกับชนกกรรมและ อุปัตถัมภกรรม เข้าตัดรอนการให้ผลของกรรมสองอย่างนันให้ขาดไปเสียทีเดียว เช่น เกิดในตระกูลสูงมังคัง แต่อายุสน เป็ นต้น ในทางตรงข้าม ถ้าชนกกรรมและอุปัตถัมภกรรมไม่ดี แต่มีอุปฆาตกรรมอยู่ อุปฆาตกรรม ั ก็จะไปตัดรอนผลไม่ดีนน เช่น เกิดในตระกูลยากจนขัดสน ได้รับความทุกข์ แต่มีเศรษฐีมาขอไปเป็ นบุตร ั บุญธรรม ได้รับความสุขสบาย เป็ นต้น ตัวอย่างเช่น : พระภิกษุสุข บวช เป็ นพระมาได้ ๑๓ พรรษา ระยะเวลา ๑๓ ปี ทีผ่านมานัน ท่านได้ ประพฤติปฏิบติตนอยูในกรอบของพระธรรมวินย จนเป็ นทีเคารพนับถือของชาวบ้านเป็ นอย่างยิง พอบวช ั ่ ั ครบ ๕ พรรษา ชาวบ้านก็พากันนิมนต์ให้ท่านเป็ นเจ้าอาวาสทีวัดประจําหมู่บาน ทางคณะสงฆ์ก็แต่งตังให้ ้ ท่านเป็ นเจ้าอาวาสตังแต่บดนันเป็ นต้นมา ในช่วงเวลา ๘ ปี ทีเป็ นเจ้าอาวาส พระภิกษุสุขได้นาพาชาวบ้าน ั ํ พัฒนาวัดแห่ งนันให้เจริ ญก้าวหน้าไปมาก อยู่ต่อมาวันหนึ งท่านได้รับนิ มนต์ให้ไปเทศน์ทีหมู่บานอืน ขา ้ กลับรถทีมาส่งท่านได้เกิดอุบติเหตุเสียหลักพลิกครําลงข้างทาง เป็ นเหตุให้ท่านเสี ยชีวิตทันที ชาวบ้านพอรู้ ั ข่าวต่างพากันเสียใจ และเสียดายว่า ท่านไม่น่าอายุสันอย่างนี เลย พระดี ๆ อย่างนี น่ าจะมีอายุทียืนยาว ฯลฯ แต่เมือพูดถึงเรื องกรรม ก็เพราะเหตุทีอุปฆาตกรรมมาตัดรอนให้พระภิกษุสุขอายุสัน แทนทีจะมีอายุยืนยาว ประมาณ ๗๐-๘๐ ปี ท่านเปรี ยบอุปฆาตกรรมว่า เหมือนกับผลไม้ชนิดใดชนิดหนึง สมมติว่าเป็ นผลมะม่วง ตามธรรมดา ของผลมะม่ว ง เมื อต้น มะม่ว งออกช่ อออกดอกเสร็ จ แล้ว ก็ จ ะติ ด ผล เมื อเวลาผ่า นไป ผลมะม่ ว งก็ จ ะ เจริ ญเติบโตตามลําดับ พอระยะใกล้จะแก่ก็มีคนๆ หนึ งเอาไม้มาสอยไปกินเสี ยก่อน แทนทีจะแก่และสุ ก ล่วงลงมาตามธรรมชาติ ๒. กรรมทีให้ ผลตามกาลเวลา ลักษณะของกรรมทีให้ผลตามกาลเวลา แบ่งออกเป็ น ๔ ประเภท ดังนี ๑) ทิฏฐธัมมเวทนียกรรม หมายถึงกรรมให้ผลในปั จจุบันภพนี ได้แก่ กรรมดีก็ ตาม ชัวก็ตาม ที ผูกระทําทําแล้วจะได้รับผลในชาตินีทันตาเห็น เพราะเป็ นกรรรมแรง แต่ถาผูกระทํากรรมตายลงเสี ยก่อนที ้ ้ ้ กรรมจะให้ผล กรรมนี ก็จะเป็ นอโหสิกรรม ท่านเปรี ยบว่าเหมือนนายพรานเห็นเนื อ หยิบลูกศรยิงไปทันที ถ้าถูกเนื อก็ลมทีนัน แต่ถาพลาดเนื อก็รอดไปเลย ้ ้ ตัวอย่างเช่น : เด็กชายเก่ง เป็ นนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที ๒ ของโรงเรี ยนแห่ งหนึ ง เขาเป็ นเด็กทีมี ความขยันในการศึกษาเล่าเรี ยนมาก ผลปรากฏว่า เขาเป็ นเด็กทีเรี ยนเก่งและสอบได้ที ๑ ของห้องมาตลอด ผูปกครองของเด็กชายเก่ง ก็พลอยมีความสุขไปด้วย เพราะคุณครู และเพือนๆ ของเก่ง ต่างพูดชมเชยความดี ้ ของเขาให้ฟังเสมอ ส่ วนนางสาวโอ๋ เป็ นนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที ๖ ของโรงเรี ยนแห่ งหนึ ง เธอเป็ นเด็กใจแตก คบ ผูชายมาหลายคน เวลาไปเรี ยนหนังสือเธอไม่มีสมาธิ เพราะเธอสนใจสิ งอืนมากกว่าการเรี ยน มิหนําซําเธอยัง ้