SlideShare a Scribd company logo
เอกสารประกอบการเรียน
วิชา พ31101 สุขศึกษาและพลศึกษา1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เล่มที่ 1 เรื่อง ระบบอวัยวะของร่างกาย
นางสาวณิชกมล อุทัยดา
ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการ
โรงเรียนประโคนชัยพิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 32
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ31101 สุขศึกษาและพลศึกษา1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เล่มที่ 1 เรื่อง ระบบอวัยวะของร่างกาย สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา ซึ่งเป็นสื่อการเรียนที่นามาใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
โดยเอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ มีการรวบรวมเนื้อหาความรู้และแบบฝึกทักษะในรูปแบบต่าง ๆ
มาไว้ ในเล่มเพื่อเพิ่มทักษะด้านต่าง ๆ ให้แก่ผู้เรียน มีทั้งหมด 7 เล่ม ดังนี้
เล่มที่ 1 ระบบอวัยวะของร่างกาย
เล่มที่ 2 การวางแผนพัฒนาสุขภาพ
เล่มที่ 3 พฤติกรรมทางเพศ
เล่มที่ 4 เพศกับวัฒนธรรมไทย
เล่มที่ 5 สิทธิผู้บริโภค
เล่มที่ 6 สื่อโฆษณากับสุขภาพ
เล่มที่ 7 โรคติดต่อ
จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ คงเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน
และนักเรียนที่นาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและนักเรียนได้ใช้ในการศึกษา
หาความรู้เพิ่มเติมให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสามารถฝึกทักษะด้านต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์
ในการเรียนรู้ต่อไป
ณิชกมล อุทัยดา
คานา
เรื่อง หน้า
คานา
สารบัญ
คาแนะนาในการใช้เอกสารประกอบการเรียน
สาระการเรียนรู้และตัวชี้วัด
แบบทดสอบก่อนเรียน.........................................................................
ระบบผิวหนัง.......................................................................................
ระบบโครงกระดูก................................................................................
ระบบกล้ามเนื้อ...................................................................................
แบบฝึกทักษะที่ 1................................................................................
แบบฝึกทักษะที่ 2................................................................................
แบบฝึกทักษะที่ 3................................................................................
แบบทดสอบหลังเรียน.........................................................................
เฉลยแบบฝึกทักษะที่1.........................................................................
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 2........................................................................
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 3........................................................................
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน...............................................................
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน.................................................................
บรรณานุกรม.......................................................................................
1
4
7
10
14
16
18
20
23
25
27
29
32
35
สารบัญ
เอกสารประกอบการเรียน เล่มนี้ สร้างขึ้นเพื่อให้นักเรียนสามารถใช้ศึกษา
หาความรู้ได้ด้วยตนเอง โดยนักเรียนจะได้รับประโยชน์จากบทเรียนตามจุดประสงค์
ที่ตั้งไว้ด้วยการปฏิบัติตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. ศึกษาสาระการเรียนรู้ และจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่าเมื่อเรียนจบ
แล้วนักเรียนจะได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่องใดบ้าง
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อทดสอบว่านักเรียนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
เรื่องที่จะศึกษามากน้อยเพียงใดเรื่องใดบ้าง
3. ศึกษาเนื้อหาบทเรียนในเอกสารตามลาดับ หากไม่เข้าใจหรือมีข้อสงสัยให้
ถามครูผู้สอนหรือพลิกไปศึกษาเนื้อหาเดิมอีกครั้งหนึ่ง
5. นักเรียนต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง โดยไม่เปิดดูเฉลยก่อนเรียน
ขณะที่ทาแบบฝึกทักษะและแบบทดสอบ
คาแนะนาในการใช้เอกสารประกอบการเรียน
4. ลงมือทาแบบฝึกทักษะและแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดประเมินความรู้
ความเข้าใจในเรื่องที่ได้ศึกษา
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐานการเรียนรู้ พ 1.1 เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
ตัวชี้วัด อธิบายกระบวนการสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางาน ของระบบอวัยวะ
ต่าง ๆ
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายกระบวนการสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางาน ของระบบ
ผิวหนังได้
2. อธิบายกระบวนการสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางาน ของระบบ
โครงกระดูกได้
3. อธิบายกระบวนการสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางาน ของระบบ
กล้ามเนื้อได้
สาระการเรียนรู้ มาตรฐานและตัวชี้วัด
คาชี้แจง : จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
1. ผิวหนังบริเวณใดของร่างกายมีความหนามากที่สุด
ก. หนังตา แก้ม
ข. ฝ่ามือ ฝ่าเท้า
ค. ข้อศอก น่อง
ง. หนังหู ฝ่ามือ
2. ผิวหนังประกอบไปด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วนคือ
ก. หนังแท้และหนังเทียม
ข. หนังกาพร้าและรูขุมขน
ค. หนังกาพร้าและหนังแท้
ง. หนังกาพร้าและหนังเทียม
3. ข้อใด ไม่ใช่ วิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดารงประสิทธิภาพของระบบผิวหนัง
ก. ใช้ครีมที่มียี่ห้อและราคาแพงเท่านั้นในการบารุงผิว
ข. อาบน้าชาระล้างร่างกายอย่างน้อยวันละ 1-2 ครั้ง
ค. ทาครีมกันแดดก่อนออกไปเผชิญแสงแดดเสมอ
ง. ดื่มน้าอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว
4. ข้อใดกล่าวถึงความสาคัญของระบบกระดูกได้ถูกต้อง
ก. เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อทาให้เคลื่อนไหวได้
ข. เป็นที่รองรับอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย
ค. เป็นที่สร้างเม็ดเลือด
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
5. ข้อใด ไม่ใช่ กระดูกแกน
ก. กระดูกแขน กระดูกขา
ข. กระดูกสันหลัง
ค. กระดูกซี่โครง
ง. กระดูกศีรษะ
6. การบริโภคอาหารประเภทใดที่มีผลช่วยบารุงระบบกระดูก
ก. วิตามินเอและดี
ข. คาร์โบไฮเดรต
ค. แคลเซียม
ง. โปรตีน
7. ใครมีพฤติกรรมที่ดี มีส่วนช่วยดารงประสิทธิภาพของระบบกระดูกมากที่สุด
ก. สมพรดื่มน้าอัดลมเป็นประจาทุกวัน
ข. สมควรชอบเล่นกีฬาประเภทผาดโผน
ค. สมชายกินเนื้อสัตว์และดื่มนมเป็นประจาทุกวัน
ง. สมหญิงไม่มีเวลาออกกาลังกายจึงอาศัยการกินอาหารเสริมแทนมาก ๆ
8. ข้อใดคือลักษณะของกล้ามเนื้อลาย
ก. เกาะกระดูกเพื่อให้เป็นรูปร่างของร่างกาย
ข. ทางานอยู่ภายใต้อาจจิตใจ เช่น กล้ามเนื้อแขน และขา
ค. ทางานนอกเหมืออานาจจิตใจ มีลักษณะเรียบ เช่น กล้ามเนื้อที่ลาไส้
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
9. ข้อใด ไม่ได้ มีส่วนประกอบของกล้ามเนื้อเรียบ
ก. กล้ามเนื้อที่หลอดลมปอด
ข. กล้ามเนื้อในกระเพาะอาหาร
ค. กล้ามเนื้อแขน กล้ามเนื้อขาและกล้ามเนื้อทรวงอก
ง. กล้ามเนื้อที่ผนังมดลูกและลาไส้
10. สิ่งใดก่อให้กล้ามเนื้อเกิดอาการเมื่อยล้าและอ่อนแรงได้มากที่สุด
ก. การกินอาหารประเภทเนื้อสัตว์มากเกินไป
ข. การนั่งทางานท่าเดิม ๆ เป็นเวลานาน ๆ
ค. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาก ๆ
ง. การเล่นกีฬาและออกกาลังกายนาน ๆ
#########################
1. ระบบผิวหนัง (Integumentary System)
ระบบผิวหนังเป็นระบบที่ห่อหุ้มร่างกาย มีลักษณะเป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุดของร่างกาย
ปกคลุมห่อหุ้มร่างกายทั้งหมดของเราไว้ ผิวหนังของผู้ใหญ่คนหนึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 3,000 ตารางนิ้ว
มีความหนาประมาณ 1 – 4 มิลลิเมตร โดยความหนาของผิวหนังจะแตกต่างกันไปตามอวัยวะส่วนต่าง ๆ
ของร่างกาย และบริเวณที่ถูกเสียดสี โดยผิวหนังส่วนที่หนาที่สุดของร่างกายคือ บริเวณฝ่ามือ และฝ่าเท้า
ส่วนผิวหนังส่วนที่บางที่สุดของร่างกาย คือบริเวณหนังตา และหนังหู ภายในผิวหนังนั้นมีปลายประสาทรับรู้
ความรู้สึกอยู่มากมายเพื่อรับรู้การสัมผัสความเจ็บปวด และอุณหภูมิร้อนเย็นต่าง ๆ นอกจากนี้บนผิวหนัง
ยังมีรูเล็ก ๆ ซึ่งเรียกว่า รูขุมขน ซึ่งเป็นรูเปิดของขุมขน ท่อต่อมไขมันและต่อมเหงื่อผิวหนัง สามารถยืดหยุ่น
ได้มาก และผิวหนังบนร่างกายส่วนใหญ่สามารถเลื่อนไปเลื่อนมาได้แต่ก็มีบางส่วนที่ติดแน่นกับอวัยวะ เช่น
หนังศีรษะด้านนอกของใบหู ฝ่ามือ ฝ่าเท้า และตามรอยพับของข้อต่อต่าง ๆ นอกจากนี้ผิวหนังบริเวณ
ฝ่ามือและฝ่าเท้าจะมีรอยนูนอยู่เป็นจานวนมากโดยเฉพาะปลายนิ้วมือจะมีสันนูนเรียงกันเป็น ร้อยหวาย
หรือรอยก้นหอย ซึ่งรอยนี้จะต่างแตกกันออกไปในแต่ละบุคคล และบริเวณผิวหนังที่กล้ามเนื้อเกาะอยู่
จะเกิดเป็นรอยย่นได้เมื่อกล้ามเนื้อเกิดการหดตัว เช่น บริเวณใบหน้ามีกล้ามเนื้อยึดติดที่ผิวหนังมากเมื่อ
แสดงอารมณ์โกรธ กลัว ยิ้มแย้มแจ่มใส หรือเศร้าหมองจะทาให้เกิดร่องรอยบนผิวหนังอย่างเห็นได้ชัด
1.1 โครงสร้างและส่วนประกอบของผิวหนัง ผิวหนังประกอบด้วย 2 ส่วน คือส่วนที่อยู่
บนพื้นผิว เรียกว่า หนังกาพร้า (Epidermis) ส่วนที่ลึกไป เรียกว่า หนังแท้ (Dermis)
1. หนังกาพร้า (Epidermis) เป็นผิวบนสุด ที่ประกอบด้วยเซลล์บาง ๆ ตรงพื้นผิวไม่มี
นิวเคลียส เป็นส่วนที่หลุดลอกเป็นขี้ไคล แล้วสร้างเซลล์ใหม่ขึ้นมาแทนอยู่เสมอ ส่วนต่างที่เกิดจาก
หนังกาพร้า ได้แก่ เล็บมือ เล็บเท้า รูขุมขนในชั้นหนังแท้ ส่วนเซลล์ชั้นในสุดที่ทาหน้าผลิตสีผิว (Melanin)
เรียกว่าสเตรตัมเจอร์มินาทิวัม (Stratum Germinativum)
2. หนังแท้ (Dermis) หนังแท้อยู่ใต้หนังกาพร้า หนาประมาณ 1-2 มิลิเมตร ประกอบด้วย
เยื่อเกี่ยวพัน 2 ชั้น คือ
2.1 ชั้นบนหรือชั้นตื้น (Papillary Layer) เป็นที่นูนมาแทรกหนังกาพร้า เรียกว่า
เพ็บพิลลารี (Papillary) มีหลอดเลือด และปลายเส้นประสาทฝอย
ระบบอวัยวะของร่างกาย
2.2 ชั้นล่างหรือชั้นลึกลงไป (Reticular Layer) มีไขมันอยู่ มีรากผมหรือขนและ
ต่อมไขมัน(Sebaceous Glands)
ส่วนประกอบของชั้นผิวหนัง
ที่มา : https://sites.google.com/site/sukhsuksam4
ที่มา : http://i93.photobucket.com/albums/l61/nyzmxy/LH%20Series/skinstructure.jpg
ที่มา :http://bodysystemm.wikispaces.com/file/view/13.jpg/352387448/360x288/13.jpg
1.2 ความสาคัญของของระบบผิวหนัง
1. เป็นส่วนที่ห่อหุ้มร่างกาย สาหรับป้องกันอันตรายต่าง ๆ หรืออาจเกิดขึ้นกับอวัยวะ
ใต้ผิวหนัง
2. เป็นอวัยวะรับสัมผัสความรู้สึกต่าง ๆ เช่น ร้อน หนาว
3. เป็นอวัยวะขับถ่ายของเสีย เช่น เหงื่อ
4. เป็นอวัยวะที่ช่วยขับสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ใต้ต่อมผิวหนังให้เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น
ขับไขมันไปหล่อเลี้ยงเส้นขนหรือผมให้เงางาม
5. ช่วยเป็นส่วนป้องกันรังสีต่าง ๆ ไม่ให้เป็นอันตรายต่อร่างกาย
6. ช่วยควบคุมความร้อนในร่างกายให้อยู่คงที่อยู่เสมอ ร่างกายคนเราขณะปกติมี
อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส หรือถ้าอากาศอบอ้าวร้อนเกินไปก็จะระบายความร้อนออกทางรูขุมขน
1.3 การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบผิวหนัง
ผิวหนังเป็นอวัยวะภายนอกที่ห่อหุ้มร่างกาย ช่วยส่งเสริมบุคลิกภาพของบุคลและบ่งบอก
การมีสุขภาพที่ดีและไม่ดีของแต่ละคนด้วย เช่นคนที่มีสุขภาพที่ดีผิวหนัง หรือผิวพรรณจะเต่งตึง สดใส
แข็งแรง เป็นต้น ดังนั้นจึงจาเป็นต้องสร้างเสริมและดูแลผิวหนังให้มีสภาพที่สมบูรณ์ มีประสิทธิภาพ
อยู่เสมอ ดังนี้
1. อาบน้าชาระร่างกายให้สะอาดด้วยสบู่อย่างน้อยวัยละ 1-2 ครั้ง
2. ทาครีมบารุงผิวที่มีคุณภาพและเหมาะสมกับผิวของตนเอง
3. ทาครีมกันแดดก่อนออกจากบ้านเมื่อต้องไปเผชิญกับแดดร้อนจัด
4. สวมเสื้อผ้าที่สะอาดพอดีตัว ไม่คับหรือหลวมเกินไป และเหมาะสมกันสภาพอากาศ
5. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และเพียงพอต่อความต้องการโดยเฉพาะผักและผลไม้
6. ดื่มน้าสะอาดอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว โดยน้าจะช่วยให้ผิวพรรณสดชื่นแจ่มใส
7. ออกกาลังกายเป็นประจาเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง
8. นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อยวันละ 8 ชั่งโมง
9. ดูแลผิวหนังอย่าให้เป็นแผล ถ้ามีควรรีบรักษาเพื่อไม่ให้เกิดแผลเรื้อรัง
นักเรียนมีวิธีการดูแลผิวอย่างไรบ้าง
เหมือนหรือแตกต่างกันกับเพื่อน ๆ
2. ระบบโครงกระดูก (Skeletal System)
ร่างกายของมนุษย์ที่เจริญเติบโตเต็มที่จะประกอบด้วยกระดูกทั้งหมด 206 ชิ้นแบ่งเป็น
กระดูกแกน 80 ชิ้น เช่น กะโหลกศีรษะ กระดูกสันหลัง กระดูกก้นกบกระดูกซี่โครงอีกพวกหนึ่ง คือ
กระดูกรยางค์ จานวน 126 ชิ้น เช่น กระดูกแขนขา สะบัก ไหปลาร้า เชิงกรานกระดูกแกน
(Axial Skeleton) เป็นกระดูกที่เป็นแกนกลางของร่างกาย ทาหน้าที่ค้าจุนและป้องกันอันตราย
ให้แก่อวัยวะสาคัญภายในร่างกาย มีจานวนทั้งสิ้น 80 ชิ้น
2.1 โครงสร้างกระดูกของคนแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
1. กระดูกแกน (Axial Skeleton) หมายถึง กระดูกที่อยู่บริเวณกลาง ๆ ของร่างกาย
ประกอบด้วย
1.1 กระดูกกะโหลกศีรษะ (Skull) ภายในกะโหลกศีรษะเป็นโพรงสาหรับบรรจุสมอง
จะมีกระดูกกะโหลกศีรษะและกระดูกย่อยหลาย ๆ ชิ้นเชื่อมติดกัน กระดูกกะโหลกศีรษะจึงทาหน้าที่ห่อหุ้ม
และป้องกันสมองด้วย
1.2 กระดูกสันหลัง (Vertebra) เป็นส่วนของกระดูกแกนที่ช่วยค้าจุนและรองรับน้าหนัก
ของร่างกาย กระดูกสันหลังเป็นแนวกระดูกที่ทอดอยู่ทางด้านหลังของร่างกาย ประกอบด้วยกระดูกชิ้น
เล็กๆ เป็นข้อ ๆ ติดกันด้วยกล้ามเนื้อและเอ็น ระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละข้อจะมีแผ่นกระดูกอ่อนหรือที่
เรียกทั่วไปว่า “หมอนรองกระดูก (Intervertebral Disc)” ทาหน้าที่รองและเชื่อมกระดูกสันหลังแต่ละข้อ
เพื่อป้องกันการเสียดสี ถ้าแผ่นกระดูกอ่อนนี้เสื่อมเราจะปวดหลังและไม่สามารถบิดหรือเอียงตัวได้
1.3 กระดูกซี่โครง (Ribe) มีลักษณะเป็นซี่ ๆ มีทั้งหมด 12 คู่ หรือ 24 ชิ้น ทาหน้าที่เป็น
กาแพงให้ส่วนอก กระดูกซี่โครงจะเชื่อมกบกระดูกอก (Sternum) ด้วยกระดูกอ่อน ระหว่างกระดูกซี่โครง
มีกล้ามเนื้อยึดซี่โครงทั้งแถบนอกและแถบในการหดตัวและการคลายตัวของกล้ามเนื้อ 2 ชุดนี้สลับกัน
เกิดการเคลื่อนที่เข้า ออกของอากาศภายนอกและภายในช่องอก มีผลทาให้กระดุกซี่โครงเคลื่อนขึ้นและลง
และทาให้ปริมาตรภายในช่องอกเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย
2. กระดูกรยางค์ (Appendicular Skeleton) เป็นกระดูกที่เชื่อมต่อกับกระดูกแกน
ทาหน้าที่ค้าจุนและเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย มีจานวนทั้งสิ้น 126 ชิ้น ประกอบด้วย
2.1 กระดูกแขน มีจานวน 64 ชิ้น (ข้างละ 32 ชิ้น)
2.2 กระดูกขา มีจานวน 62 ชิ้น (ข้างละ 31 ชิ้น)
เมื่อศึกษาถึงโครงสร้างของกระดูกพบว่า กระดูกของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1. กระดูกอ่อน (Caitilage) เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันซึ่งประกอบด้วยเซลล์กระดูกอ่อน
(Chondrocyte) สารระหว่างเซลล์ และเส้นใยชนิดต่าง ๆ โดยทั่งไปกระดูกอ่อนแทรกซึมสารระหว่างเซลล์
มาเนื่องจากไม่มีหลอดเลือดฝอยมาหล่อเลี้ยงกระดูกอ่อน
2. กระดูก (Bone) เป็นโครงสร้างที่เจริญมาจากเนื้อเยื่อเกี่ยวพันหรือกระดูกอ่อนก็ได้
ประกอบด้วยเซลล์กระดูก เส้นใยชนิดต่าง ๆ และสารระหว่างเซลล์ ซึ่งมีผลึกไฮดรอกซีอะพาไทต์ มาเสริม
ทาให้กระดูกกระดูกมีความแข็งแรงมากกว่ากระดูกอ่อน
โครงกระดูกของมนุษย์จะเชื่อมกันด้วยข้อต่อซึ่งจะทาให้ร่างกายของมนุษย์เคลื่อนไหวได้
หลายทิศทาง จากการศึกษาพบว่า ข้อต่อที่เชื่อมต่อกระดูกแต่ละชิ้นในร่างกายมนุษย์แบ่งออกเป็น
2 ประเภท คือ
1. ข้อต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้ (Immovable Joint) เป็นข้อต่อที่ทาหน้าที่ยึดกระดูกเอาไว้
ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้เลย เช่น ข้อต่อกระดูกศีรษะ เรียกว่า ซูเจอร์ (Suture) เป็นต้น
2. ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้ (Movable Joint)เป็นข้อต่อที่เชื่อมต่อกระดูกแล้วทาให้
เคลื่อนไหวได้ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น ข้อต่อที่กระดูกนิ้วมือ นิ้วเท้า เป็นต้น
2.2 ความสาคัญของระบบโครงกระดูก
1. ประกอบเป็นโครงร่างส่วนที่แข็งของร่างกาย
2. เป็นที่รองรับอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย
3. เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อทาให้มีการเคลื่อนไหวได้
4. เป็นที่สร้างเม็ดเลือด
5. เป็นที่เก็บและจ่ายแคลเซียม ฟอสเฟต และแมกนีเซียม
6. ป้องกันอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ปอด หัวใจ ตับ สมอง และประสาท
2.3 การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบโครงกระดูก
1. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่โดยเฉพาะอาหารที่มีแคลเซียมและวิตามินดี เช่น
เนื้อสัตว์ นม และผลไม้ต่าง ๆ
2. ออกกาลังกายเป็นประจาสม่าเสมอจะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
ภาพประกอบการศึกษาระบบโครงกระดูก
ที่มา : https://maulchon.files.wordpress.com/2012/06/033.jpg
3. ระบบกล้ามเนื้อ
ระบบกล้ามเนื้อ (Muscular System)จะทางานร่วมกับระบบโครงกระดูกเพื่อให้ร่างกาย
สามารถเคลื่อนไหวได้ นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เป็นโครงร่างของร่างกายอีกด้วย
3.1 โครงสร้างระบบกล้ามเนื้อ แบ่งได้ดังนี้
1. กล้ามเนื้อลาย (Striated Muscle or Cross-Strjated Muscle) มีลายตามขวาง
ตลอดความยาว เกาะติดกับโครงกระดูกหรือกระดูกช่วยทาให้เป็นรูปร่างของร่างกายและอยู่ภายใต้อานาจ
จิตใจ กล้ามเนื้อลายนับว่าเป็นกล้ามเนื้อที่ใช้ในการเคลื่อนไหวของร่างกายทั้งหมด เช่น กล้ามเนื้อแขน
กล้ามเนื้อขา กล้ามเนื้อทรวงอก เป็นต้น และเป็นกล้ามเนื้อที่แข็งแรงที่สุด ลักษณะในการทางานของ
กล้ามเนื้อลายคือดึงรั้งกระดูกให้มีการเคลื่อนไหวตามที่ใจต้องการ คนที่ออกกาลังเสมอเส้นใยกล้ามเนื้อ
จะโตขึ้น และหนาขึ้น แต่จานวนไม่เพิ่มขึ้น กล้ามเนื้อลายมีหน้าที่เคลื่อนไหวร่างกายที่ข้อต่อต่าง ๆ
เคลื่อนไหวลูกตา ช่วยในการเคี้ยวและการกลืน เคลื่อนไหวลิ้น เคลื่อนไหวใบหน้าแสดงอารมณ์ต่าง ๆ
และยังประกอบเป็นผนังอก และผนังท้อง ตลอดจนการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ
ภาพกล้ามเนื้อลาย
ที่มา : http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Movement/pic-
movement/m1.PNG
2. กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth Muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่มีลักษณะเรียบ ไม่มีลาย
และไม่อยู่ในอานาจจิตใจเป็นส่วนประกอบของอวัยวะภายในร่างกาย เช่น กล้ามเนื้อที่หลอดลมปอด
กล้ามเนื้อในกระเพาะอาหาร ลาไส้ อวัยวะสืบพันธุ์ มดลูก เส้นเลือดดา ฯลฯ ซึ่งอยู่นอกอานาจของจิตใจ
แต่อยู่ภายใต้การควบคุมของระบบประสาทอิสระ (Autonomie Nervous System )มีลักษณะเป็นเซลล์
รูปกระสวยมีนิวเคลียสรูปไข่อยู่ตรงกลาง
ภาพกล้ามเนื้อเรียบ
ที่มา : http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Movement/pic-
movement/m6.PNG
3. กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscle)กล้ามเนื้อหัวใจจะพบที่บริเวณหัวใจและผนัง
เส้นเลือดเข้าสู่หัวใจเท่านั้น เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจมีลักษณะคล้ายกับกล้ามเนื้อลายคือ มีการเรียงตัว
ให้เป็นลายเมื่อส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ กล้ามเนื้อหัวใจมีลักษณะแตกกิ่งก้านและสานกัน มีรอยต่อและ
ช่องระหว่างเซลล์ซึ่งบริเวณที่มีความต้านทานไฟฟ้าต่าทาให้เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจสามารถส่งกระแสไฟฟ้า
ผ่านจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งได้
ภาพกล้ามเนื้อหัวใจ
ที่มา : http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Movement/pic-
movement/m5.PNG
3.2 ความสาคัญของระบบกล้ามเนื้อ
1. ช่วยให้ร่างกายสามารถเคลื่อนไหวได้จากการทางาน ซึ่งในการเคลื่อนไหวของร่างกายนี้
ต้องอาศัยการทางานของระบบโครงกระดูกและข้อต่อต่างๆด้วย โดยอาศัยการยึดและหดตัวของกล้ามเนื้อ
2. ช่วยให้อวัยวะภายในต่างๆเช่นหัวใจ ปอด กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่
หลอดเลือด ทางานได้ตามปกติและมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการบีบตัวของกล้ามเนื้ออวัยวะดังกล่าว
3. ผลิตความร้อนให้ความอบอุ่นร่างกาย ซึ่งความร้อนนี้เกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อ
แล้วเกิดปฏิกิริยาทางเคมี
4. ช่วยป้องกันอวัยวะภายในไม่ให้ได้รับความกระทบกระเทือน
5. เป็นที่เกิดพลังงานของร่างกาย
3.3 การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบกล้ามเนื้อ
1. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และมีปริมาณที่เพียงพอต่อต่อความต้องการของ
ร่างกาย
2. ออกกาลังสม่าเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วันละอย่างน้อย 30 นาที โดยเน้น
รูปแบบการบริหารกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ เป็นต้น
3. ทาจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส ดูแลสุขภาพจิตของตนเองให้ดี
4. ควรมีเวลาพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่ทางานหนักหรือหักโหมจนเกินไป โดยเฉพาะ
ลักษณะงาน ที่ต้องทางานอยู่ท่าเดิมนาน ๆ จะทาให้กล้ามเนื้อบริเวณนั้นอ่อนล้าและเกิดความไม่แข็งแรงได้
5. เมื่อเกิดความผิดปกติเกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อ เช่น มีอาการปวดหลังเรื้อรัง
ควรรีบไปพบแพทย์
ภาพประกอบกล้ามเนื้อทั้ง 3 ประเภท
ที่มา : http://www.wangchan.ac.th/teacher_issue/t712/pic-1/431111.jpg
****************************************
1. คาชี้แจง : จากภาพให้นักเรียนเติมส่วนประกอบของผิวหนังให้ถูกต้อง
2. คาชี้แจง : จากภาพให้นักเรียนเติมส่วนประกอบของชั้นผิวหนัง เป็นภาษาอังกฤษ
แบบฝึกทักษะที่ 1
3. คาชี้แจง : ให้นักเรียนวาดรูปส่วนประกอบของชั้นผิวหนังและบอกส่วนประกอบ
4.คาชี้แจง : ให้นักเรียนสรุปการสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบผิวหนัง
เป็นผังมโนทัศน์
1. คาชี้แจง : ให้นักเรียนเติมรายละเอียดของโครงกระดูกของร่างกาย
แบบฝึกทักษะที่ 2
2. คาชี้แจง : จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. โครงกระดูกมีความสาคัญอย่างไรต่อร่างกาย
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
2. โครงกระดูกของร่างกายแบ่งเป็นกี่กลุ่ม อะไรบ้าง
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
3. นักเรียนมีวิธีในการดูแลและสร้างเสริมประสิทธิภาพการทางานของระบบโครงกระดูกอย่างไร
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
*************************************
1. คาชี้แจง : จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. กล้ามเนื้อมีความสาคัญอย่างไร
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
2. กล้ามเนื้อแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
3. นักเรียนมีวิธีการสร้างเสริมประสิทธิภาพการทางานของกล้ามเนื้ออย่างไร
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
***********************************
แบบฝึกทักษะที่ 3
2. คาชี้แจง : จงวาดรูปกล้ามเนื้อและแสดงส่วนประกอบ
กล้ามเนื้อลาย
กล้ามเนื้อหัวใจ
กล้ามเนื้อเรียบ
กล้ามเนื้อหัวใจ
คาชี้แจง : จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
1. ข้อใด ไม่ได้ มีส่วนประกอบของกล้ามเนื้อเรียบ
ก. กล้ามเนื้อที่หลอดลมปอด
ข. กล้ามเนื้อในกระเพาะอาหาร
ค. กล้ามเนื้อแขน กล้ามเนื้อขาและกล้ามเนื้อทรวงอก
ง. กล้ามเนื้อที่ผนังมดลูกและลาไส้
2. ผิวหนังบริเวณใดของร่างกายมีความหนามากที่สุด
ก. หนังตา แก้ม
ข. ฝ่ามือ ฝ่าเท้า
ค. ข้อศอก น่อง
ง. หนังหู ฝ่ามือ
3. ข้อใดกล่าวถึงความสาคัญของระบบกระดูกได้ถูกต้อง
ก. เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อทาให้เคลื่อนไหวได้
ข. เป็นที่รองรับอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย
ค. เป็นที่สร้างเม็ดเลือด
ง. ถูกทุกข้อ
4. ข้อใด ไม่ใช่ วิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดารงประสิทธิภาพของระบบผิวหนัง
ก. ใช้ครีมที่มียี่ห้อและราคาแพงเท่านั้นในการบารุงผิว
ข. อาบน้าชาระล้างร่างกายอย่างน้อยวันละ 1-2 ครั้ง
ค. ทาครีมกันแดดก่อนออกไปเผชิญแสงแดดเสมอ
ง. ดื่มน้าอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว
แบบทดสอบหลังเรียน
5. ข้อใด ไม่ใช่ กระดูกแกน
ก. กระดูกแขน กระดูกขา
ข. กระดูกสันหลัง
ค. กระดูกซี่โครง
ง. กระดูกศีรษะ
6. การบริโภคอาหารประเภทใดที่มีผลช่วยบารุงระบบกระดูก
ก. วิตามินเอและดี
ข. คาร์โบไฮเดรต
ค. แคลเซียม
ง. โปรตีน
7. ข้อใดคือลักษณะของกล้ามเนื้อลาย
ก. เกาะกระดูกเพื่อให้เป็นรูปร่างของร่างกาย
ข. ทางานอยู่ภายใต้อาจจิตใจ เช่น กล้ามเนื้อแขน และขา
ค. ทางานนอกเหมืออานาจจิตใจ มีลักษณะเรียบ เช่น กล้ามเนื้อที่ลาไส้
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
8. ผิวหนังประกอบไปด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วนคือ
ก. หนังแท้และหนังเทียม
ข. หนังกาพร้าและรูขุมขน
ค. หนังกาพร้าและหนังแท้
ง. หนังกาพร้าและหนังเทียม
9. สิ่งใดก่อให้กล้ามเนื้อเกิดอาการเมื่อยล้าและอ่อนแรงได้มากที่สุด
ก. การกินอาหารประเภทเนื้อสัตว์มากเกินไป
ข. การนั่งทางานท่าเดิม ๆ เป็นเวลานาน ๆ
ค. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาก ๆ
ง. การเล่นกีฬาและออกกาลังกายนาน ๆ
10. ใครมีพฤติกรรมที่ดี มีส่วนช่วยดารงประสิทธิภาพของระบบกระดูกมากที่สุด
ก. สมพรดื่มน้าอัดลมเป็นประจาทุกวัน
ข. สมควรชอบเล่นกีฬาประเภทผาดโผน
ค. สมชายกินเนื้อสัตว์และดื่มนมเป็นประจาทุกวัน
ง. สมหญิงไม่มีเวลาออกกาลังกายจึงอาศัยการกินอาหารเสริมแทนมาก ๆ
#########################
ภาคผนวก
1. คาชี้แจง : จากภาพให้นักเรียนเติมส่วนประกอบของผิวหนังให้ถูกต้อง
2. คาชี้แจง : จากภาพให้นักเรียนเติมส่วนประกอบของชั้นผิวหนัง เป็นภาษาอังกฤษ
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1
เส้นขน
หนังกาพร้า
หนังแท้
สเตรตัมคอร์เนียม
ไขมัน
ต่อมเหงื่อ
ต่อมไขมัน
เส้นเลือดฝอย
เซลล์ไขมัน
เส้นเลือด
รากผม
Hair
Sebaceous
Hair follicle
Subcutaneous Layer
Epidermis
Dermis
Pore
Sweat gland
Nerve ending
Skin
3. คาชี้แจง : ให้นักเรียนวาดรูปส่วนประกอบของชั้นผิวหนังและบอกส่วนประกอบ
4.คาชี้แจง : ให้นักเรียนสรุปการสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบผิวหนังเป็นผังมโน
ทัศน์
แนวการตอบ
ขึ้นอยู่ในดุลยพินิจของผู้สอน
1. คาชี้แจง : ให้นักเรียนเติมรายละเอียดของโครงกระดูกของร่างกาย
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 2
กะโหลก
กระดูกคอ
กระดูกไหปลาร้า
กระดูกซี่โครง
กระดูกอก
กระดูกสันหลังบริเวณเอว
กระดูกเชิงกราน
กระดูกก้นกบ
กระดูกสะบัก
กระดูกต้นแขน
กระดูกกระเบนเหน็บ
กระดูกปลายแขน
กระดูกข้อมือ
กระดูกต้นขา
กระดูกมือ
กระดูกสะบ้า
กระดูกน่อง
กระดูกแข้ง
กระดูกเท้า
2. คาชี้แจง : จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. โครงกระดูกมีความสาคัญอย่างไรต่อร่างกาย (แนวตอบ)
1. ประกอบเป็นโครงร่างส่วนที่แข็งของร่างกาย
2. เป็นที่รองรับอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย
3. เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อทาให้มีการเคลื่อนไหวได้
4. เป็นที่สร้างเม็ดเลือด
5. เป็นที่เก็บและจ่ายแคลเซียม ฟอสเฟต และแมกนีเซียม
6. ป้องกันอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ปอด หัวใจ ตับ สมอง และประสาท
2. โครงกระดูกของร่างกายแบ่งเป็นกี่กลุ่ม อะไรบ้าง (แนวตอบ)
โครงกระดูกของคนแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กระดูกแกนและกระดูกรยางค์
3. นักเรียนมีวิธีในการดูแลและสร้างเสริมประสิทธิภาพการทางานของระบบโครงกระดูกอย่างไร
(แนวตอบ)
1. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่โดยเฉพาะอาหารที่มีแคลเซียมและวิตามินดี เช่น เนื้อสัตว์
นม และผลไม้ต่าง ๆ
2. ออกกาลังกายเป็นประจาสม่าเสมอจะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
*************************************
1. คาชี้แจง : จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. กล้ามเนื้อมีความสาคัญอย่างไร (แนวตอบ)
1. ช่วยให้ร่างกายสามารถเคลื่อนไหวได้จากการทางาน ซึ่งในการเคลื่อนไหวของร่างกายนี้
ต้องอาศัยการทางานของระบบโครงกระดูกและข้อต่อต่างๆด้วย โดยอาศัยการยึดและหดตัวของกล้ามเนื้อ
2. ช่วยให้อวัยวะภายในต่างๆเช่นหัวใจ ปอด กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่
หลอดเลือด ทางานได้ตามปกติและมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการบีบตัวของกล้ามเนื้ออวัยวะดังกล่าว
3. ผลิตความร้อนให้ความอบอุ่นร่างกาย ซึ่งความร้อนนี้เกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อ
แล้วเกิดปฏิกิริยาทางเคมี
4. ช่วยป้องกันอวัยวะภายในไม่ให้ได้รับความกระทบกระเทือน
5. เป็นที่เกิดพลังงานของร่างกาย
2. กล้ามเนื้อแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง (แนวตอบ)
กล้ามเนื้อแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อลาย และกล้ามเนื้อหัวใจ
3. นักเรียนมีวิธีการสร้างเสริมประสิทธิภาพการทางานของกล้ามเนื้ออย่างไร (แนวตอบ)
1. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และมีปริมาณที่เพียงพอต่อต่อความต้องการ
ของร่างกาย
2. ออกกาลังสม่าเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วันละอย่างน้อย 30 นาที
โดยเน้นรูปแบบการบริหารกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ เป็นต้น
3. ทาจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส ดูแลสุขภาพจิตของตนเองให้ดี
4. ควรมีเวลาพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่ทางานหนักหรือหักโหมจนเกินไป โดยเฉพาะ
ลักษณะงานที่ต้องทางานอยู่ท่าเดิมนาน ๆ จะทาให้กล้ามเนื้อบริเวณนั้นอ่อนล้าและเกิดความไม่แข็งแรงได้
5. เมื่อเกิดความผิดปกติเกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อ เช่น มีอาการปวดหลังเรื้อรัง
ควรรีบไปพบแพทย์
***********************************
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 3
2. คาชี้แจง : จงวาดรูปกล้ามเนื้อและแสดงส่วนประกอบ (แนวตอบ)
กล้ามเนื้อลาย
กล้ามเนื้อเรียบ
กล้ามเนื้อหัวใจ
คาชี้แจง : จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
1. ผิวหนังบริเวณใดของร่างกายมีความหนามากที่สุด
ก. หนังตา แก้ม
ข. ฝ่ามือ ฝ่าเท้า
ค. ข้อศอก น่อง
ง. หนังหู ฝ่ามือ
2. ผิวหนังประกอบไปด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วนคือ
ก. หนังแท้และหนังเทียม
ข. หนังกาพร้าและรูขุมขน
ค. หนังกาพร้าและหนังแท้
ง. หนังกาพร้าและหนังเทียม
3. ข้อใด ไม่ใช่ วิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดารงประสิทธิภาพของระบบผิวหนัง
ก. ใช้ครีมที่มียี่ห้อและราคาแพงเท่านั้นในการบารุงผิว
ข. อาบน้าชาระล้างร่างกายอย่างน้อยวันละ 1-2 ครั้ง
ค. ทาครีมกันแดดก่อนออกไปเผชิญแสงแดดเสมอ
ง. ดื่มน้าอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว
4. ข้อใดกล่าวถึงความสาคัญของระบบกระดูกได้ถูกต้อง
ก. เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อทาให้เคลื่อนไหวได้
ข. เป็นที่รองรับอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย
ค. เป็นที่สร้างเม็ดเลือด
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
5. ข้อใด ไม่ใช่ กระดูกแกน
ก. กระดูกแขน กระดูกขา
ข. กระดูกสันหลัง
ค. กระดูกซี่โครง
ง. กระดูกศีรษะ
6. การบริโภคอาหารประเภทใดที่มีผลช่วยบารุงระบบกระดูก
ก. วิตามินเอและดี
ข. คาร์โบไฮเดรต
ค. แคลเซียม
ง. โปรตีน
7. ใครมีพฤติกรรมที่ดี มีส่วนช่วยดารงประสิทธิภาพของระบบกระดูกมากที่สุด
ก. สมพรดื่มน้าอัดลมเป็นประจาทุกวัน
ข. สมควรชอบเล่นกีฬาประเภทผาดโผน
ค. สมชายกินเนื้อสัตว์และดื่มนมเป็นประจาทุกวัน
ง. สมหญิงไม่มีเวลาออกกาลังกายจึงอาศัยการกินอาหารเสริมแทนมาก ๆ
8. ข้อใดคือลักษณะของกล้ามเนื้อลาย
ก. เกาะกระดูกเพื่อให้เป็นรูปร่างของร่างกาย
ข. ทางานอยู่ภายใต้อาจจิตใจ เช่น กล้ามเนื้อแขน และขา
ค. ทางานนอกเหมืออานาจจิตใจ มีลักษณะเรียบ เช่น กล้ามเนื้อที่ลาไส้
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
9. ข้อใด ไม่ได้ มีส่วนประกอบของกล้ามเนื้อเรียบ
ก. กล้ามเนื้อที่หลอดลมปอด
ข. กล้ามเนื้อในกระเพาะอาหาร
ค. กล้ามเนื้อแขน กล้ามเนื้อขาและกล้ามเนื้อทรวงอก
ง. กล้ามเนื้อที่ผนังมดลูกและลาไส้
10. สิ่งใดก่อให้กล้ามเนื้อเกิดอาการเมื่อยล้าและอ่อนแรงได้มากที่สุด
ก. การกินอาหารประเภทเนื้อสัตว์มากเกินไป
ข. การนั่งทางานท่าเดิม ๆ เป็นเวลานาน ๆ
ค. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาก ๆ
ง. การเล่นกีฬาและออกกาลังกายนาน ๆ
#########################
คาชี้แจง : จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
1. ข้อใด ไม่ได้ มีส่วนประกอบของกล้ามเนื้อเรียบ
ก. กล้ามเนื้อที่หลอดลมปอด
ข. กล้ามเนื้อในกระเพาะอาหาร
ค. กล้ามเนื้อแขน กล้ามเนื้อขาและกล้ามเนื้อทรวงอก
ง. กล้ามเนื้อที่ผนังมดลูกและลาไส้
2. ผิวหนังบริเวณใดของร่างกายมีความหนามากที่สุด
ก. หนังตา แก้ม
ข. ฝ่ามือ ฝ่าเท้า
ค. ข้อศอก น่อง
ง. หนังหู ฝ่ามือ
3. ข้อใดกล่าวถึงความสาคัญของระบบกระดูกได้ถูกต้อง
ก. เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อทาให้เคลื่อนไหวได้
ข. เป็นที่รองรับอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย
ค. เป็นที่สร้างเม็ดเลือด
ง. ถูกทุกข้อ
4. ข้อใด ไม่ใช่ วิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดารงประสิทธิภาพของระบบผิวหนัง
ก. ใช้ครีมที่มียี่ห้อและราคาแพงเท่านั้นในการบารุงผิว
ข. อาบน้าชาระล้างร่างกายอย่างน้อยวันละ 1-2 ครั้ง
ค. ทาครีมกันแดดก่อนออกไปเผชิญแสงแดดเสมอ
ง. ดื่มน้าอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
5. ข้อใด ไม่ใช่ กระดูกแกน
ก. กระดูกแขน กระดูกขา
ข. กระดูกสันหลัง
ค. กระดูกซี่โครง
ง. กระดูกศีรษะ
6. การบริโภคอาหารประเภทใดที่มีผลช่วยบารุงระบบกระดูก
ก. วิตามินเอและดี
ข. คาร์โบไฮเดรต
ค. แคลเซียม
ง. โปรตีน
7. ข้อใดคือลักษณะของกล้ามเนื้อลาย
ก. เกาะกระดูกเพื่อให้เป็นรูปร่างของร่างกาย
ข. ทางานอยู่ภายใต้อาจจิตใจ เช่น กล้ามเนื้อแขน และขา
ค. ทางานนอกเหมืออานาจจิตใจ มีลักษณะเรียบ เช่น กล้ามเนื้อที่ลาไส้
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
8. ผิวหนังประกอบไปด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วนคือ
ก. หนังแท้และหนังเทียม
ข. หนังกาพร้าและรูขุมขน
ค. หนังกาพร้าและหนังแท้
ง. หนังกาพร้าและหนังเทียม
9. สิ่งใดก่อให้กล้ามเนื้อเกิดอาการเมื่อยล้าและอ่อนแรงได้มากที่สุด
ก. การกินอาหารประเภทเนื้อสัตว์มากเกินไป
ข. การนั่งทางานท่าเดิม ๆ เป็นเวลานาน ๆ
ค. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาก ๆ
ง. การเล่นกีฬาและออกกาลังกายนาน ๆ
10. ใครมีพฤติกรรมที่ดี มีส่วนช่วยดารงประสิทธิภาพของระบบกระดูกมากที่สุด
ก. สมพรดื่มน้าอัดลมเป็นประจาทุกวัน
ข. สมควรชอบเล่นกีฬาประเภทผาดโผน
ค. สมชายกินเนื้อสัตว์และดื่มนมเป็นประจาทุกวัน
ง. สมหญิงไม่มีเวลาออกกาลังกายจึงอาศัยการกินอาหารเสริมแทนมาก ๆ
#########################
กิตติ ปรมัตถผล และคณะ. (2556). สุขศึกษา 4 รายวิชา รายวิชาพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุ
ภัณฑ์.
---------- (2553). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ:
องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
https://sites.google.com/site/sukhsuksam4
http://i93.photobucket.com/albums/l61/nyzmxy/LH%20Series/skinstructure.jpg
http://bodysystemm.wikispaces.com/file/view/13.jpg/352387448/360x288/13.jpg
https://maulchon.files.wordpress.com/2012/06/033.jpg
http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Movement/pic-movement/m1.PNG
http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Movement/pic-movement/m6.PNG
http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Movement/pic-movement/m5.PNG
บรรณานุกรม
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
Tatsawan Khejonrak
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
sukanya petin
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
Ketsarin Prommajun
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
dnavaroj
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
Ploy Siriwanna
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
SAKANAN ANANTASOOK
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
dnavaroj
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
thanapisit marakul na ayudhya
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 

Similar to เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม

Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
Krumam Siri
 
The massage with herb for health
The massage with herb for healthThe massage with herb for health
The massage with herb for health
Sirintra Chaiwong
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่น
Kritsadin Khemtong
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1kruking2
 
9789740328049
97897403280499789740328049
9789740328049
Chirawat Wangka
 
งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342
งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342
งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342
ChanyaProm
 
แผน 1 1
แผน 1 1แผน 1 1
แผน 1 1tery10
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)
saruta38605
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
thitichaya24
 
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdfนิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
peter dontoom
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกายAobinta In
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ ปอด ตับ ไต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  ปอด ตับ ไตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  ปอด ตับ ไต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ ปอด ตับ ไต
tawitch58
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
pitsanu duangkartok
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10Chok Ke
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubonWaree Wera
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10Chok Ke
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newsavong0
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซJirawat Fishingclub
 

Similar to เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม (20)

Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
The massage with herb for health
The massage with herb for healthThe massage with herb for health
The massage with herb for health
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่น
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1
 
9789740328049
97897403280499789740328049
9789740328049
 
งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342
งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342
งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342
 
แผน 1 1
แผน 1 1แผน 1 1
แผน 1 1
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdfนิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกาย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ ปอด ตับ ไต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  ปอด ตับ ไตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  ปอด ตับ ไต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ ปอด ตับ ไต
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ31101 สุขศึกษาและพลศึกษา1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มที่ 1 เรื่อง ระบบอวัยวะของร่างกาย นางสาวณิชกมล อุทัยดา ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรียนประโคนชัยพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 32
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ31101 สุขศึกษาและพลศึกษา1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มที่ 1 เรื่อง ระบบอวัยวะของร่างกาย สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ซึ่งเป็นสื่อการเรียนที่นามาใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ มีการรวบรวมเนื้อหาความรู้และแบบฝึกทักษะในรูปแบบต่าง ๆ มาไว้ ในเล่มเพื่อเพิ่มทักษะด้านต่าง ๆ ให้แก่ผู้เรียน มีทั้งหมด 7 เล่ม ดังนี้ เล่มที่ 1 ระบบอวัยวะของร่างกาย เล่มที่ 2 การวางแผนพัฒนาสุขภาพ เล่มที่ 3 พฤติกรรมทางเพศ เล่มที่ 4 เพศกับวัฒนธรรมไทย เล่มที่ 5 สิทธิผู้บริโภค เล่มที่ 6 สื่อโฆษณากับสุขภาพ เล่มที่ 7 โรคติดต่อ จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ คงเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน และนักเรียนที่นาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและนักเรียนได้ใช้ในการศึกษา หาความรู้เพิ่มเติมให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสามารถฝึกทักษะด้านต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์ ในการเรียนรู้ต่อไป ณิชกมล อุทัยดา คานา
  • 3. เรื่อง หน้า คานา สารบัญ คาแนะนาในการใช้เอกสารประกอบการเรียน สาระการเรียนรู้และตัวชี้วัด แบบทดสอบก่อนเรียน......................................................................... ระบบผิวหนัง....................................................................................... ระบบโครงกระดูก................................................................................ ระบบกล้ามเนื้อ................................................................................... แบบฝึกทักษะที่ 1................................................................................ แบบฝึกทักษะที่ 2................................................................................ แบบฝึกทักษะที่ 3................................................................................ แบบทดสอบหลังเรียน......................................................................... เฉลยแบบฝึกทักษะที่1......................................................................... เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 2........................................................................ เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 3........................................................................ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน............................................................... เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน................................................................. บรรณานุกรม....................................................................................... 1 4 7 10 14 16 18 20 23 25 27 29 32 35 สารบัญ
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน เล่มนี้ สร้างขึ้นเพื่อให้นักเรียนสามารถใช้ศึกษา หาความรู้ได้ด้วยตนเอง โดยนักเรียนจะได้รับประโยชน์จากบทเรียนตามจุดประสงค์ ที่ตั้งไว้ด้วยการปฏิบัติตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาสาระการเรียนรู้ และจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่าเมื่อเรียนจบ แล้วนักเรียนจะได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่องใดบ้าง 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อทดสอบว่านักเรียนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ เรื่องที่จะศึกษามากน้อยเพียงใดเรื่องใดบ้าง 3. ศึกษาเนื้อหาบทเรียนในเอกสารตามลาดับ หากไม่เข้าใจหรือมีข้อสงสัยให้ ถามครูผู้สอนหรือพลิกไปศึกษาเนื้อหาเดิมอีกครั้งหนึ่ง 5. นักเรียนต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง โดยไม่เปิดดูเฉลยก่อนเรียน ขณะที่ทาแบบฝึกทักษะและแบบทดสอบ คาแนะนาในการใช้เอกสารประกอบการเรียน 4. ลงมือทาแบบฝึกทักษะและแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดประเมินความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่ได้ศึกษา
  • 5. สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐานการเรียนรู้ พ 1.1 เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ตัวชี้วัด อธิบายกระบวนการสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางาน ของระบบอวัยวะ ต่าง ๆ จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. อธิบายกระบวนการสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางาน ของระบบ ผิวหนังได้ 2. อธิบายกระบวนการสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางาน ของระบบ โครงกระดูกได้ 3. อธิบายกระบวนการสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางาน ของระบบ กล้ามเนื้อได้ สาระการเรียนรู้ มาตรฐานและตัวชี้วัด
  • 6. คาชี้แจง : จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. ผิวหนังบริเวณใดของร่างกายมีความหนามากที่สุด ก. หนังตา แก้ม ข. ฝ่ามือ ฝ่าเท้า ค. ข้อศอก น่อง ง. หนังหู ฝ่ามือ 2. ผิวหนังประกอบไปด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วนคือ ก. หนังแท้และหนังเทียม ข. หนังกาพร้าและรูขุมขน ค. หนังกาพร้าและหนังแท้ ง. หนังกาพร้าและหนังเทียม 3. ข้อใด ไม่ใช่ วิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดารงประสิทธิภาพของระบบผิวหนัง ก. ใช้ครีมที่มียี่ห้อและราคาแพงเท่านั้นในการบารุงผิว ข. อาบน้าชาระล้างร่างกายอย่างน้อยวันละ 1-2 ครั้ง ค. ทาครีมกันแดดก่อนออกไปเผชิญแสงแดดเสมอ ง. ดื่มน้าอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว 4. ข้อใดกล่าวถึงความสาคัญของระบบกระดูกได้ถูกต้อง ก. เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อทาให้เคลื่อนไหวได้ ข. เป็นที่รองรับอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ค. เป็นที่สร้างเม็ดเลือด ง. ถูกทุกข้อ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
  • 7. 5. ข้อใด ไม่ใช่ กระดูกแกน ก. กระดูกแขน กระดูกขา ข. กระดูกสันหลัง ค. กระดูกซี่โครง ง. กระดูกศีรษะ 6. การบริโภคอาหารประเภทใดที่มีผลช่วยบารุงระบบกระดูก ก. วิตามินเอและดี ข. คาร์โบไฮเดรต ค. แคลเซียม ง. โปรตีน 7. ใครมีพฤติกรรมที่ดี มีส่วนช่วยดารงประสิทธิภาพของระบบกระดูกมากที่สุด ก. สมพรดื่มน้าอัดลมเป็นประจาทุกวัน ข. สมควรชอบเล่นกีฬาประเภทผาดโผน ค. สมชายกินเนื้อสัตว์และดื่มนมเป็นประจาทุกวัน ง. สมหญิงไม่มีเวลาออกกาลังกายจึงอาศัยการกินอาหารเสริมแทนมาก ๆ 8. ข้อใดคือลักษณะของกล้ามเนื้อลาย ก. เกาะกระดูกเพื่อให้เป็นรูปร่างของร่างกาย ข. ทางานอยู่ภายใต้อาจจิตใจ เช่น กล้ามเนื้อแขน และขา ค. ทางานนอกเหมืออานาจจิตใจ มีลักษณะเรียบ เช่น กล้ามเนื้อที่ลาไส้ ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
  • 8. 9. ข้อใด ไม่ได้ มีส่วนประกอบของกล้ามเนื้อเรียบ ก. กล้ามเนื้อที่หลอดลมปอด ข. กล้ามเนื้อในกระเพาะอาหาร ค. กล้ามเนื้อแขน กล้ามเนื้อขาและกล้ามเนื้อทรวงอก ง. กล้ามเนื้อที่ผนังมดลูกและลาไส้ 10. สิ่งใดก่อให้กล้ามเนื้อเกิดอาการเมื่อยล้าและอ่อนแรงได้มากที่สุด ก. การกินอาหารประเภทเนื้อสัตว์มากเกินไป ข. การนั่งทางานท่าเดิม ๆ เป็นเวลานาน ๆ ค. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาก ๆ ง. การเล่นกีฬาและออกกาลังกายนาน ๆ #########################
  • 9. 1. ระบบผิวหนัง (Integumentary System) ระบบผิวหนังเป็นระบบที่ห่อหุ้มร่างกาย มีลักษณะเป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุดของร่างกาย ปกคลุมห่อหุ้มร่างกายทั้งหมดของเราไว้ ผิวหนังของผู้ใหญ่คนหนึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 3,000 ตารางนิ้ว มีความหนาประมาณ 1 – 4 มิลลิเมตร โดยความหนาของผิวหนังจะแตกต่างกันไปตามอวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และบริเวณที่ถูกเสียดสี โดยผิวหนังส่วนที่หนาที่สุดของร่างกายคือ บริเวณฝ่ามือ และฝ่าเท้า ส่วนผิวหนังส่วนที่บางที่สุดของร่างกาย คือบริเวณหนังตา และหนังหู ภายในผิวหนังนั้นมีปลายประสาทรับรู้ ความรู้สึกอยู่มากมายเพื่อรับรู้การสัมผัสความเจ็บปวด และอุณหภูมิร้อนเย็นต่าง ๆ นอกจากนี้บนผิวหนัง ยังมีรูเล็ก ๆ ซึ่งเรียกว่า รูขุมขน ซึ่งเป็นรูเปิดของขุมขน ท่อต่อมไขมันและต่อมเหงื่อผิวหนัง สามารถยืดหยุ่น ได้มาก และผิวหนังบนร่างกายส่วนใหญ่สามารถเลื่อนไปเลื่อนมาได้แต่ก็มีบางส่วนที่ติดแน่นกับอวัยวะ เช่น หนังศีรษะด้านนอกของใบหู ฝ่ามือ ฝ่าเท้า และตามรอยพับของข้อต่อต่าง ๆ นอกจากนี้ผิวหนังบริเวณ ฝ่ามือและฝ่าเท้าจะมีรอยนูนอยู่เป็นจานวนมากโดยเฉพาะปลายนิ้วมือจะมีสันนูนเรียงกันเป็น ร้อยหวาย หรือรอยก้นหอย ซึ่งรอยนี้จะต่างแตกกันออกไปในแต่ละบุคคล และบริเวณผิวหนังที่กล้ามเนื้อเกาะอยู่ จะเกิดเป็นรอยย่นได้เมื่อกล้ามเนื้อเกิดการหดตัว เช่น บริเวณใบหน้ามีกล้ามเนื้อยึดติดที่ผิวหนังมากเมื่อ แสดงอารมณ์โกรธ กลัว ยิ้มแย้มแจ่มใส หรือเศร้าหมองจะทาให้เกิดร่องรอยบนผิวหนังอย่างเห็นได้ชัด 1.1 โครงสร้างและส่วนประกอบของผิวหนัง ผิวหนังประกอบด้วย 2 ส่วน คือส่วนที่อยู่ บนพื้นผิว เรียกว่า หนังกาพร้า (Epidermis) ส่วนที่ลึกไป เรียกว่า หนังแท้ (Dermis) 1. หนังกาพร้า (Epidermis) เป็นผิวบนสุด ที่ประกอบด้วยเซลล์บาง ๆ ตรงพื้นผิวไม่มี นิวเคลียส เป็นส่วนที่หลุดลอกเป็นขี้ไคล แล้วสร้างเซลล์ใหม่ขึ้นมาแทนอยู่เสมอ ส่วนต่างที่เกิดจาก หนังกาพร้า ได้แก่ เล็บมือ เล็บเท้า รูขุมขนในชั้นหนังแท้ ส่วนเซลล์ชั้นในสุดที่ทาหน้าผลิตสีผิว (Melanin) เรียกว่าสเตรตัมเจอร์มินาทิวัม (Stratum Germinativum) 2. หนังแท้ (Dermis) หนังแท้อยู่ใต้หนังกาพร้า หนาประมาณ 1-2 มิลิเมตร ประกอบด้วย เยื่อเกี่ยวพัน 2 ชั้น คือ 2.1 ชั้นบนหรือชั้นตื้น (Papillary Layer) เป็นที่นูนมาแทรกหนังกาพร้า เรียกว่า เพ็บพิลลารี (Papillary) มีหลอดเลือด และปลายเส้นประสาทฝอย ระบบอวัยวะของร่างกาย
  • 10. 2.2 ชั้นล่างหรือชั้นลึกลงไป (Reticular Layer) มีไขมันอยู่ มีรากผมหรือขนและ ต่อมไขมัน(Sebaceous Glands) ส่วนประกอบของชั้นผิวหนัง ที่มา : https://sites.google.com/site/sukhsuksam4 ที่มา : http://i93.photobucket.com/albums/l61/nyzmxy/LH%20Series/skinstructure.jpg ที่มา :http://bodysystemm.wikispaces.com/file/view/13.jpg/352387448/360x288/13.jpg
  • 11. 1.2 ความสาคัญของของระบบผิวหนัง 1. เป็นส่วนที่ห่อหุ้มร่างกาย สาหรับป้องกันอันตรายต่าง ๆ หรืออาจเกิดขึ้นกับอวัยวะ ใต้ผิวหนัง 2. เป็นอวัยวะรับสัมผัสความรู้สึกต่าง ๆ เช่น ร้อน หนาว 3. เป็นอวัยวะขับถ่ายของเสีย เช่น เหงื่อ 4. เป็นอวัยวะที่ช่วยขับสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ใต้ต่อมผิวหนังให้เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น ขับไขมันไปหล่อเลี้ยงเส้นขนหรือผมให้เงางาม 5. ช่วยเป็นส่วนป้องกันรังสีต่าง ๆ ไม่ให้เป็นอันตรายต่อร่างกาย 6. ช่วยควบคุมความร้อนในร่างกายให้อยู่คงที่อยู่เสมอ ร่างกายคนเราขณะปกติมี อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส หรือถ้าอากาศอบอ้าวร้อนเกินไปก็จะระบายความร้อนออกทางรูขุมขน 1.3 การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบผิวหนัง ผิวหนังเป็นอวัยวะภายนอกที่ห่อหุ้มร่างกาย ช่วยส่งเสริมบุคลิกภาพของบุคลและบ่งบอก การมีสุขภาพที่ดีและไม่ดีของแต่ละคนด้วย เช่นคนที่มีสุขภาพที่ดีผิวหนัง หรือผิวพรรณจะเต่งตึง สดใส แข็งแรง เป็นต้น ดังนั้นจึงจาเป็นต้องสร้างเสริมและดูแลผิวหนังให้มีสภาพที่สมบูรณ์ มีประสิทธิภาพ อยู่เสมอ ดังนี้ 1. อาบน้าชาระร่างกายให้สะอาดด้วยสบู่อย่างน้อยวัยละ 1-2 ครั้ง 2. ทาครีมบารุงผิวที่มีคุณภาพและเหมาะสมกับผิวของตนเอง 3. ทาครีมกันแดดก่อนออกจากบ้านเมื่อต้องไปเผชิญกับแดดร้อนจัด 4. สวมเสื้อผ้าที่สะอาดพอดีตัว ไม่คับหรือหลวมเกินไป และเหมาะสมกันสภาพอากาศ 5. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และเพียงพอต่อความต้องการโดยเฉพาะผักและผลไม้ 6. ดื่มน้าสะอาดอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว โดยน้าจะช่วยให้ผิวพรรณสดชื่นแจ่มใส 7. ออกกาลังกายเป็นประจาเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง 8. นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อยวันละ 8 ชั่งโมง 9. ดูแลผิวหนังอย่าให้เป็นแผล ถ้ามีควรรีบรักษาเพื่อไม่ให้เกิดแผลเรื้อรัง นักเรียนมีวิธีการดูแลผิวอย่างไรบ้าง เหมือนหรือแตกต่างกันกับเพื่อน ๆ
  • 12. 2. ระบบโครงกระดูก (Skeletal System) ร่างกายของมนุษย์ที่เจริญเติบโตเต็มที่จะประกอบด้วยกระดูกทั้งหมด 206 ชิ้นแบ่งเป็น กระดูกแกน 80 ชิ้น เช่น กะโหลกศีรษะ กระดูกสันหลัง กระดูกก้นกบกระดูกซี่โครงอีกพวกหนึ่ง คือ กระดูกรยางค์ จานวน 126 ชิ้น เช่น กระดูกแขนขา สะบัก ไหปลาร้า เชิงกรานกระดูกแกน (Axial Skeleton) เป็นกระดูกที่เป็นแกนกลางของร่างกาย ทาหน้าที่ค้าจุนและป้องกันอันตราย ให้แก่อวัยวะสาคัญภายในร่างกาย มีจานวนทั้งสิ้น 80 ชิ้น 2.1 โครงสร้างกระดูกของคนแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. กระดูกแกน (Axial Skeleton) หมายถึง กระดูกที่อยู่บริเวณกลาง ๆ ของร่างกาย ประกอบด้วย 1.1 กระดูกกะโหลกศีรษะ (Skull) ภายในกะโหลกศีรษะเป็นโพรงสาหรับบรรจุสมอง จะมีกระดูกกะโหลกศีรษะและกระดูกย่อยหลาย ๆ ชิ้นเชื่อมติดกัน กระดูกกะโหลกศีรษะจึงทาหน้าที่ห่อหุ้ม และป้องกันสมองด้วย 1.2 กระดูกสันหลัง (Vertebra) เป็นส่วนของกระดูกแกนที่ช่วยค้าจุนและรองรับน้าหนัก ของร่างกาย กระดูกสันหลังเป็นแนวกระดูกที่ทอดอยู่ทางด้านหลังของร่างกาย ประกอบด้วยกระดูกชิ้น เล็กๆ เป็นข้อ ๆ ติดกันด้วยกล้ามเนื้อและเอ็น ระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละข้อจะมีแผ่นกระดูกอ่อนหรือที่ เรียกทั่วไปว่า “หมอนรองกระดูก (Intervertebral Disc)” ทาหน้าที่รองและเชื่อมกระดูกสันหลังแต่ละข้อ เพื่อป้องกันการเสียดสี ถ้าแผ่นกระดูกอ่อนนี้เสื่อมเราจะปวดหลังและไม่สามารถบิดหรือเอียงตัวได้ 1.3 กระดูกซี่โครง (Ribe) มีลักษณะเป็นซี่ ๆ มีทั้งหมด 12 คู่ หรือ 24 ชิ้น ทาหน้าที่เป็น กาแพงให้ส่วนอก กระดูกซี่โครงจะเชื่อมกบกระดูกอก (Sternum) ด้วยกระดูกอ่อน ระหว่างกระดูกซี่โครง มีกล้ามเนื้อยึดซี่โครงทั้งแถบนอกและแถบในการหดตัวและการคลายตัวของกล้ามเนื้อ 2 ชุดนี้สลับกัน เกิดการเคลื่อนที่เข้า ออกของอากาศภายนอกและภายในช่องอก มีผลทาให้กระดุกซี่โครงเคลื่อนขึ้นและลง และทาให้ปริมาตรภายในช่องอกเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย 2. กระดูกรยางค์ (Appendicular Skeleton) เป็นกระดูกที่เชื่อมต่อกับกระดูกแกน ทาหน้าที่ค้าจุนและเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย มีจานวนทั้งสิ้น 126 ชิ้น ประกอบด้วย 2.1 กระดูกแขน มีจานวน 64 ชิ้น (ข้างละ 32 ชิ้น) 2.2 กระดูกขา มีจานวน 62 ชิ้น (ข้างละ 31 ชิ้น)
  • 13. เมื่อศึกษาถึงโครงสร้างของกระดูกพบว่า กระดูกของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. กระดูกอ่อน (Caitilage) เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันซึ่งประกอบด้วยเซลล์กระดูกอ่อน (Chondrocyte) สารระหว่างเซลล์ และเส้นใยชนิดต่าง ๆ โดยทั่งไปกระดูกอ่อนแทรกซึมสารระหว่างเซลล์ มาเนื่องจากไม่มีหลอดเลือดฝอยมาหล่อเลี้ยงกระดูกอ่อน 2. กระดูก (Bone) เป็นโครงสร้างที่เจริญมาจากเนื้อเยื่อเกี่ยวพันหรือกระดูกอ่อนก็ได้ ประกอบด้วยเซลล์กระดูก เส้นใยชนิดต่าง ๆ และสารระหว่างเซลล์ ซึ่งมีผลึกไฮดรอกซีอะพาไทต์ มาเสริม ทาให้กระดูกกระดูกมีความแข็งแรงมากกว่ากระดูกอ่อน โครงกระดูกของมนุษย์จะเชื่อมกันด้วยข้อต่อซึ่งจะทาให้ร่างกายของมนุษย์เคลื่อนไหวได้ หลายทิศทาง จากการศึกษาพบว่า ข้อต่อที่เชื่อมต่อกระดูกแต่ละชิ้นในร่างกายมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ข้อต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้ (Immovable Joint) เป็นข้อต่อที่ทาหน้าที่ยึดกระดูกเอาไว้ ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้เลย เช่น ข้อต่อกระดูกศีรษะ เรียกว่า ซูเจอร์ (Suture) เป็นต้น 2. ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้ (Movable Joint)เป็นข้อต่อที่เชื่อมต่อกระดูกแล้วทาให้ เคลื่อนไหวได้ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น ข้อต่อที่กระดูกนิ้วมือ นิ้วเท้า เป็นต้น 2.2 ความสาคัญของระบบโครงกระดูก 1. ประกอบเป็นโครงร่างส่วนที่แข็งของร่างกาย 2. เป็นที่รองรับอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย 3. เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อทาให้มีการเคลื่อนไหวได้ 4. เป็นที่สร้างเม็ดเลือด 5. เป็นที่เก็บและจ่ายแคลเซียม ฟอสเฟต และแมกนีเซียม 6. ป้องกันอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ปอด หัวใจ ตับ สมอง และประสาท 2.3 การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบโครงกระดูก 1. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่โดยเฉพาะอาหารที่มีแคลเซียมและวิตามินดี เช่น เนื้อสัตว์ นม และผลไม้ต่าง ๆ 2. ออกกาลังกายเป็นประจาสม่าเสมอจะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
  • 15. 3. ระบบกล้ามเนื้อ ระบบกล้ามเนื้อ (Muscular System)จะทางานร่วมกับระบบโครงกระดูกเพื่อให้ร่างกาย สามารถเคลื่อนไหวได้ นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เป็นโครงร่างของร่างกายอีกด้วย 3.1 โครงสร้างระบบกล้ามเนื้อ แบ่งได้ดังนี้ 1. กล้ามเนื้อลาย (Striated Muscle or Cross-Strjated Muscle) มีลายตามขวาง ตลอดความยาว เกาะติดกับโครงกระดูกหรือกระดูกช่วยทาให้เป็นรูปร่างของร่างกายและอยู่ภายใต้อานาจ จิตใจ กล้ามเนื้อลายนับว่าเป็นกล้ามเนื้อที่ใช้ในการเคลื่อนไหวของร่างกายทั้งหมด เช่น กล้ามเนื้อแขน กล้ามเนื้อขา กล้ามเนื้อทรวงอก เป็นต้น และเป็นกล้ามเนื้อที่แข็งแรงที่สุด ลักษณะในการทางานของ กล้ามเนื้อลายคือดึงรั้งกระดูกให้มีการเคลื่อนไหวตามที่ใจต้องการ คนที่ออกกาลังเสมอเส้นใยกล้ามเนื้อ จะโตขึ้น และหนาขึ้น แต่จานวนไม่เพิ่มขึ้น กล้ามเนื้อลายมีหน้าที่เคลื่อนไหวร่างกายที่ข้อต่อต่าง ๆ เคลื่อนไหวลูกตา ช่วยในการเคี้ยวและการกลืน เคลื่อนไหวลิ้น เคลื่อนไหวใบหน้าแสดงอารมณ์ต่าง ๆ และยังประกอบเป็นผนังอก และผนังท้อง ตลอดจนการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ ภาพกล้ามเนื้อลาย ที่มา : http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Movement/pic- movement/m1.PNG
  • 16. 2. กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth Muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่มีลักษณะเรียบ ไม่มีลาย และไม่อยู่ในอานาจจิตใจเป็นส่วนประกอบของอวัยวะภายในร่างกาย เช่น กล้ามเนื้อที่หลอดลมปอด กล้ามเนื้อในกระเพาะอาหาร ลาไส้ อวัยวะสืบพันธุ์ มดลูก เส้นเลือดดา ฯลฯ ซึ่งอยู่นอกอานาจของจิตใจ แต่อยู่ภายใต้การควบคุมของระบบประสาทอิสระ (Autonomie Nervous System )มีลักษณะเป็นเซลล์ รูปกระสวยมีนิวเคลียสรูปไข่อยู่ตรงกลาง ภาพกล้ามเนื้อเรียบ ที่มา : http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Movement/pic- movement/m6.PNG 3. กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscle)กล้ามเนื้อหัวใจจะพบที่บริเวณหัวใจและผนัง เส้นเลือดเข้าสู่หัวใจเท่านั้น เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจมีลักษณะคล้ายกับกล้ามเนื้อลายคือ มีการเรียงตัว ให้เป็นลายเมื่อส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ กล้ามเนื้อหัวใจมีลักษณะแตกกิ่งก้านและสานกัน มีรอยต่อและ ช่องระหว่างเซลล์ซึ่งบริเวณที่มีความต้านทานไฟฟ้าต่าทาให้เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจสามารถส่งกระแสไฟฟ้า ผ่านจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งได้
  • 17. ภาพกล้ามเนื้อหัวใจ ที่มา : http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Movement/pic- movement/m5.PNG 3.2 ความสาคัญของระบบกล้ามเนื้อ 1. ช่วยให้ร่างกายสามารถเคลื่อนไหวได้จากการทางาน ซึ่งในการเคลื่อนไหวของร่างกายนี้ ต้องอาศัยการทางานของระบบโครงกระดูกและข้อต่อต่างๆด้วย โดยอาศัยการยึดและหดตัวของกล้ามเนื้อ 2. ช่วยให้อวัยวะภายในต่างๆเช่นหัวใจ ปอด กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่ หลอดเลือด ทางานได้ตามปกติและมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการบีบตัวของกล้ามเนื้ออวัยวะดังกล่าว 3. ผลิตความร้อนให้ความอบอุ่นร่างกาย ซึ่งความร้อนนี้เกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อ แล้วเกิดปฏิกิริยาทางเคมี 4. ช่วยป้องกันอวัยวะภายในไม่ให้ได้รับความกระทบกระเทือน 5. เป็นที่เกิดพลังงานของร่างกาย 3.3 การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบกล้ามเนื้อ 1. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และมีปริมาณที่เพียงพอต่อต่อความต้องการของ ร่างกาย 2. ออกกาลังสม่าเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วันละอย่างน้อย 30 นาที โดยเน้น รูปแบบการบริหารกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ เป็นต้น
  • 18. 3. ทาจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส ดูแลสุขภาพจิตของตนเองให้ดี 4. ควรมีเวลาพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่ทางานหนักหรือหักโหมจนเกินไป โดยเฉพาะ ลักษณะงาน ที่ต้องทางานอยู่ท่าเดิมนาน ๆ จะทาให้กล้ามเนื้อบริเวณนั้นอ่อนล้าและเกิดความไม่แข็งแรงได้ 5. เมื่อเกิดความผิดปกติเกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อ เช่น มีอาการปวดหลังเรื้อรัง ควรรีบไปพบแพทย์ ภาพประกอบกล้ามเนื้อทั้ง 3 ประเภท ที่มา : http://www.wangchan.ac.th/teacher_issue/t712/pic-1/431111.jpg ****************************************
  • 19. 1. คาชี้แจง : จากภาพให้นักเรียนเติมส่วนประกอบของผิวหนังให้ถูกต้อง 2. คาชี้แจง : จากภาพให้นักเรียนเติมส่วนประกอบของชั้นผิวหนัง เป็นภาษาอังกฤษ แบบฝึกทักษะที่ 1
  • 20. 3. คาชี้แจง : ให้นักเรียนวาดรูปส่วนประกอบของชั้นผิวหนังและบอกส่วนประกอบ 4.คาชี้แจง : ให้นักเรียนสรุปการสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบผิวหนัง เป็นผังมโนทัศน์
  • 21. 1. คาชี้แจง : ให้นักเรียนเติมรายละเอียดของโครงกระดูกของร่างกาย แบบฝึกทักษะที่ 2
  • 22. 2. คาชี้แจง : จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. โครงกระดูกมีความสาคัญอย่างไรต่อร่างกาย ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 2. โครงกระดูกของร่างกายแบ่งเป็นกี่กลุ่ม อะไรบ้าง ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 3. นักเรียนมีวิธีในการดูแลและสร้างเสริมประสิทธิภาพการทางานของระบบโครงกระดูกอย่างไร ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ *************************************
  • 23. 1. คาชี้แจง : จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. กล้ามเนื้อมีความสาคัญอย่างไร ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 2. กล้ามเนื้อแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 3. นักเรียนมีวิธีการสร้างเสริมประสิทธิภาพการทางานของกล้ามเนื้ออย่างไร ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ *********************************** แบบฝึกทักษะที่ 3
  • 24. 2. คาชี้แจง : จงวาดรูปกล้ามเนื้อและแสดงส่วนประกอบ กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อหัวใจ กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ
  • 25. คาชี้แจง : จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. ข้อใด ไม่ได้ มีส่วนประกอบของกล้ามเนื้อเรียบ ก. กล้ามเนื้อที่หลอดลมปอด ข. กล้ามเนื้อในกระเพาะอาหาร ค. กล้ามเนื้อแขน กล้ามเนื้อขาและกล้ามเนื้อทรวงอก ง. กล้ามเนื้อที่ผนังมดลูกและลาไส้ 2. ผิวหนังบริเวณใดของร่างกายมีความหนามากที่สุด ก. หนังตา แก้ม ข. ฝ่ามือ ฝ่าเท้า ค. ข้อศอก น่อง ง. หนังหู ฝ่ามือ 3. ข้อใดกล่าวถึงความสาคัญของระบบกระดูกได้ถูกต้อง ก. เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อทาให้เคลื่อนไหวได้ ข. เป็นที่รองรับอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ค. เป็นที่สร้างเม็ดเลือด ง. ถูกทุกข้อ 4. ข้อใด ไม่ใช่ วิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดารงประสิทธิภาพของระบบผิวหนัง ก. ใช้ครีมที่มียี่ห้อและราคาแพงเท่านั้นในการบารุงผิว ข. อาบน้าชาระล้างร่างกายอย่างน้อยวันละ 1-2 ครั้ง ค. ทาครีมกันแดดก่อนออกไปเผชิญแสงแดดเสมอ ง. ดื่มน้าอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว แบบทดสอบหลังเรียน
  • 26. 5. ข้อใด ไม่ใช่ กระดูกแกน ก. กระดูกแขน กระดูกขา ข. กระดูกสันหลัง ค. กระดูกซี่โครง ง. กระดูกศีรษะ 6. การบริโภคอาหารประเภทใดที่มีผลช่วยบารุงระบบกระดูก ก. วิตามินเอและดี ข. คาร์โบไฮเดรต ค. แคลเซียม ง. โปรตีน 7. ข้อใดคือลักษณะของกล้ามเนื้อลาย ก. เกาะกระดูกเพื่อให้เป็นรูปร่างของร่างกาย ข. ทางานอยู่ภายใต้อาจจิตใจ เช่น กล้ามเนื้อแขน และขา ค. ทางานนอกเหมืออานาจจิตใจ มีลักษณะเรียบ เช่น กล้ามเนื้อที่ลาไส้ ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข 8. ผิวหนังประกอบไปด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วนคือ ก. หนังแท้และหนังเทียม ข. หนังกาพร้าและรูขุมขน ค. หนังกาพร้าและหนังแท้ ง. หนังกาพร้าและหนังเทียม
  • 27. 9. สิ่งใดก่อให้กล้ามเนื้อเกิดอาการเมื่อยล้าและอ่อนแรงได้มากที่สุด ก. การกินอาหารประเภทเนื้อสัตว์มากเกินไป ข. การนั่งทางานท่าเดิม ๆ เป็นเวลานาน ๆ ค. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาก ๆ ง. การเล่นกีฬาและออกกาลังกายนาน ๆ 10. ใครมีพฤติกรรมที่ดี มีส่วนช่วยดารงประสิทธิภาพของระบบกระดูกมากที่สุด ก. สมพรดื่มน้าอัดลมเป็นประจาทุกวัน ข. สมควรชอบเล่นกีฬาประเภทผาดโผน ค. สมชายกินเนื้อสัตว์และดื่มนมเป็นประจาทุกวัน ง. สมหญิงไม่มีเวลาออกกาลังกายจึงอาศัยการกินอาหารเสริมแทนมาก ๆ #########################
  • 29. 1. คาชี้แจง : จากภาพให้นักเรียนเติมส่วนประกอบของผิวหนังให้ถูกต้อง 2. คาชี้แจง : จากภาพให้นักเรียนเติมส่วนประกอบของชั้นผิวหนัง เป็นภาษาอังกฤษ เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1 เส้นขน หนังกาพร้า หนังแท้ สเตรตัมคอร์เนียม ไขมัน ต่อมเหงื่อ ต่อมไขมัน เส้นเลือดฝอย เซลล์ไขมัน เส้นเลือด รากผม Hair Sebaceous Hair follicle Subcutaneous Layer Epidermis Dermis Pore Sweat gland Nerve ending Skin
  • 30. 3. คาชี้แจง : ให้นักเรียนวาดรูปส่วนประกอบของชั้นผิวหนังและบอกส่วนประกอบ 4.คาชี้แจง : ให้นักเรียนสรุปการสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบผิวหนังเป็นผังมโน ทัศน์ แนวการตอบ ขึ้นอยู่ในดุลยพินิจของผู้สอน
  • 31. 1. คาชี้แจง : ให้นักเรียนเติมรายละเอียดของโครงกระดูกของร่างกาย เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 2 กะโหลก กระดูกคอ กระดูกไหปลาร้า กระดูกซี่โครง กระดูกอก กระดูกสันหลังบริเวณเอว กระดูกเชิงกราน กระดูกก้นกบ กระดูกสะบัก กระดูกต้นแขน กระดูกกระเบนเหน็บ กระดูกปลายแขน กระดูกข้อมือ กระดูกต้นขา กระดูกมือ กระดูกสะบ้า กระดูกน่อง กระดูกแข้ง กระดูกเท้า
  • 32. 2. คาชี้แจง : จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. โครงกระดูกมีความสาคัญอย่างไรต่อร่างกาย (แนวตอบ) 1. ประกอบเป็นโครงร่างส่วนที่แข็งของร่างกาย 2. เป็นที่รองรับอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย 3. เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อทาให้มีการเคลื่อนไหวได้ 4. เป็นที่สร้างเม็ดเลือด 5. เป็นที่เก็บและจ่ายแคลเซียม ฟอสเฟต และแมกนีเซียม 6. ป้องกันอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ปอด หัวใจ ตับ สมอง และประสาท 2. โครงกระดูกของร่างกายแบ่งเป็นกี่กลุ่ม อะไรบ้าง (แนวตอบ) โครงกระดูกของคนแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กระดูกแกนและกระดูกรยางค์ 3. นักเรียนมีวิธีในการดูแลและสร้างเสริมประสิทธิภาพการทางานของระบบโครงกระดูกอย่างไร (แนวตอบ) 1. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่โดยเฉพาะอาหารที่มีแคลเซียมและวิตามินดี เช่น เนื้อสัตว์ นม และผลไม้ต่าง ๆ 2. ออกกาลังกายเป็นประจาสม่าเสมอจะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง *************************************
  • 33. 1. คาชี้แจง : จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. กล้ามเนื้อมีความสาคัญอย่างไร (แนวตอบ) 1. ช่วยให้ร่างกายสามารถเคลื่อนไหวได้จากการทางาน ซึ่งในการเคลื่อนไหวของร่างกายนี้ ต้องอาศัยการทางานของระบบโครงกระดูกและข้อต่อต่างๆด้วย โดยอาศัยการยึดและหดตัวของกล้ามเนื้อ 2. ช่วยให้อวัยวะภายในต่างๆเช่นหัวใจ ปอด กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่ หลอดเลือด ทางานได้ตามปกติและมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการบีบตัวของกล้ามเนื้ออวัยวะดังกล่าว 3. ผลิตความร้อนให้ความอบอุ่นร่างกาย ซึ่งความร้อนนี้เกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อ แล้วเกิดปฏิกิริยาทางเคมี 4. ช่วยป้องกันอวัยวะภายในไม่ให้ได้รับความกระทบกระเทือน 5. เป็นที่เกิดพลังงานของร่างกาย 2. กล้ามเนื้อแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง (แนวตอบ) กล้ามเนื้อแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อลาย และกล้ามเนื้อหัวใจ 3. นักเรียนมีวิธีการสร้างเสริมประสิทธิภาพการทางานของกล้ามเนื้ออย่างไร (แนวตอบ) 1. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และมีปริมาณที่เพียงพอต่อต่อความต้องการ ของร่างกาย 2. ออกกาลังสม่าเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วันละอย่างน้อย 30 นาที โดยเน้นรูปแบบการบริหารกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ เป็นต้น 3. ทาจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส ดูแลสุขภาพจิตของตนเองให้ดี 4. ควรมีเวลาพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่ทางานหนักหรือหักโหมจนเกินไป โดยเฉพาะ ลักษณะงานที่ต้องทางานอยู่ท่าเดิมนาน ๆ จะทาให้กล้ามเนื้อบริเวณนั้นอ่อนล้าและเกิดความไม่แข็งแรงได้ 5. เมื่อเกิดความผิดปกติเกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อ เช่น มีอาการปวดหลังเรื้อรัง ควรรีบไปพบแพทย์ *********************************** เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 3
  • 34. 2. คาชี้แจง : จงวาดรูปกล้ามเนื้อและแสดงส่วนประกอบ (แนวตอบ) กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ
  • 35. คาชี้แจง : จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. ผิวหนังบริเวณใดของร่างกายมีความหนามากที่สุด ก. หนังตา แก้ม ข. ฝ่ามือ ฝ่าเท้า ค. ข้อศอก น่อง ง. หนังหู ฝ่ามือ 2. ผิวหนังประกอบไปด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วนคือ ก. หนังแท้และหนังเทียม ข. หนังกาพร้าและรูขุมขน ค. หนังกาพร้าและหนังแท้ ง. หนังกาพร้าและหนังเทียม 3. ข้อใด ไม่ใช่ วิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดารงประสิทธิภาพของระบบผิวหนัง ก. ใช้ครีมที่มียี่ห้อและราคาแพงเท่านั้นในการบารุงผิว ข. อาบน้าชาระล้างร่างกายอย่างน้อยวันละ 1-2 ครั้ง ค. ทาครีมกันแดดก่อนออกไปเผชิญแสงแดดเสมอ ง. ดื่มน้าอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว 4. ข้อใดกล่าวถึงความสาคัญของระบบกระดูกได้ถูกต้อง ก. เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อทาให้เคลื่อนไหวได้ ข. เป็นที่รองรับอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ค. เป็นที่สร้างเม็ดเลือด ง. ถูกทุกข้อ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
  • 36. 5. ข้อใด ไม่ใช่ กระดูกแกน ก. กระดูกแขน กระดูกขา ข. กระดูกสันหลัง ค. กระดูกซี่โครง ง. กระดูกศีรษะ 6. การบริโภคอาหารประเภทใดที่มีผลช่วยบารุงระบบกระดูก ก. วิตามินเอและดี ข. คาร์โบไฮเดรต ค. แคลเซียม ง. โปรตีน 7. ใครมีพฤติกรรมที่ดี มีส่วนช่วยดารงประสิทธิภาพของระบบกระดูกมากที่สุด ก. สมพรดื่มน้าอัดลมเป็นประจาทุกวัน ข. สมควรชอบเล่นกีฬาประเภทผาดโผน ค. สมชายกินเนื้อสัตว์และดื่มนมเป็นประจาทุกวัน ง. สมหญิงไม่มีเวลาออกกาลังกายจึงอาศัยการกินอาหารเสริมแทนมาก ๆ 8. ข้อใดคือลักษณะของกล้ามเนื้อลาย ก. เกาะกระดูกเพื่อให้เป็นรูปร่างของร่างกาย ข. ทางานอยู่ภายใต้อาจจิตใจ เช่น กล้ามเนื้อแขน และขา ค. ทางานนอกเหมืออานาจจิตใจ มีลักษณะเรียบ เช่น กล้ามเนื้อที่ลาไส้ ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
  • 37. 9. ข้อใด ไม่ได้ มีส่วนประกอบของกล้ามเนื้อเรียบ ก. กล้ามเนื้อที่หลอดลมปอด ข. กล้ามเนื้อในกระเพาะอาหาร ค. กล้ามเนื้อแขน กล้ามเนื้อขาและกล้ามเนื้อทรวงอก ง. กล้ามเนื้อที่ผนังมดลูกและลาไส้ 10. สิ่งใดก่อให้กล้ามเนื้อเกิดอาการเมื่อยล้าและอ่อนแรงได้มากที่สุด ก. การกินอาหารประเภทเนื้อสัตว์มากเกินไป ข. การนั่งทางานท่าเดิม ๆ เป็นเวลานาน ๆ ค. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาก ๆ ง. การเล่นกีฬาและออกกาลังกายนาน ๆ #########################
  • 38. คาชี้แจง : จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. ข้อใด ไม่ได้ มีส่วนประกอบของกล้ามเนื้อเรียบ ก. กล้ามเนื้อที่หลอดลมปอด ข. กล้ามเนื้อในกระเพาะอาหาร ค. กล้ามเนื้อแขน กล้ามเนื้อขาและกล้ามเนื้อทรวงอก ง. กล้ามเนื้อที่ผนังมดลูกและลาไส้ 2. ผิวหนังบริเวณใดของร่างกายมีความหนามากที่สุด ก. หนังตา แก้ม ข. ฝ่ามือ ฝ่าเท้า ค. ข้อศอก น่อง ง. หนังหู ฝ่ามือ 3. ข้อใดกล่าวถึงความสาคัญของระบบกระดูกได้ถูกต้อง ก. เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อทาให้เคลื่อนไหวได้ ข. เป็นที่รองรับอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ค. เป็นที่สร้างเม็ดเลือด ง. ถูกทุกข้อ 4. ข้อใด ไม่ใช่ วิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดารงประสิทธิภาพของระบบผิวหนัง ก. ใช้ครีมที่มียี่ห้อและราคาแพงเท่านั้นในการบารุงผิว ข. อาบน้าชาระล้างร่างกายอย่างน้อยวันละ 1-2 ครั้ง ค. ทาครีมกันแดดก่อนออกไปเผชิญแสงแดดเสมอ ง. ดื่มน้าอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
  • 39. 5. ข้อใด ไม่ใช่ กระดูกแกน ก. กระดูกแขน กระดูกขา ข. กระดูกสันหลัง ค. กระดูกซี่โครง ง. กระดูกศีรษะ 6. การบริโภคอาหารประเภทใดที่มีผลช่วยบารุงระบบกระดูก ก. วิตามินเอและดี ข. คาร์โบไฮเดรต ค. แคลเซียม ง. โปรตีน 7. ข้อใดคือลักษณะของกล้ามเนื้อลาย ก. เกาะกระดูกเพื่อให้เป็นรูปร่างของร่างกาย ข. ทางานอยู่ภายใต้อาจจิตใจ เช่น กล้ามเนื้อแขน และขา ค. ทางานนอกเหมืออานาจจิตใจ มีลักษณะเรียบ เช่น กล้ามเนื้อที่ลาไส้ ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข 8. ผิวหนังประกอบไปด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วนคือ ก. หนังแท้และหนังเทียม ข. หนังกาพร้าและรูขุมขน ค. หนังกาพร้าและหนังแท้ ง. หนังกาพร้าและหนังเทียม
  • 40. 9. สิ่งใดก่อให้กล้ามเนื้อเกิดอาการเมื่อยล้าและอ่อนแรงได้มากที่สุด ก. การกินอาหารประเภทเนื้อสัตว์มากเกินไป ข. การนั่งทางานท่าเดิม ๆ เป็นเวลานาน ๆ ค. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาก ๆ ง. การเล่นกีฬาและออกกาลังกายนาน ๆ 10. ใครมีพฤติกรรมที่ดี มีส่วนช่วยดารงประสิทธิภาพของระบบกระดูกมากที่สุด ก. สมพรดื่มน้าอัดลมเป็นประจาทุกวัน ข. สมควรชอบเล่นกีฬาประเภทผาดโผน ค. สมชายกินเนื้อสัตว์และดื่มนมเป็นประจาทุกวัน ง. สมหญิงไม่มีเวลาออกกาลังกายจึงอาศัยการกินอาหารเสริมแทนมาก ๆ #########################
  • 41. กิตติ ปรมัตถผล และคณะ. (2556). สุขศึกษา 4 รายวิชา รายวิชาพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุ ภัณฑ์. ---------- (2553). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. https://sites.google.com/site/sukhsuksam4 http://i93.photobucket.com/albums/l61/nyzmxy/LH%20Series/skinstructure.jpg http://bodysystemm.wikispaces.com/file/view/13.jpg/352387448/360x288/13.jpg https://maulchon.files.wordpress.com/2012/06/033.jpg http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Movement/pic-movement/m1.PNG http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Movement/pic-movement/m6.PNG http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Movement/pic-movement/m5.PNG บรรณานุกรม