SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
การเข้าค่ายคุณธรรมของนักเรียนชั้นมัธยม
ศึกษาปีที่ ๔
โรงเรียนสันทรายวิทยาคม อาเภอสันทราย
จังหวัดเชียงใหม่
ปีการศึกษา๒๕๕๙
จัดทาโดย
นายศรัณย์ จันทร์แดง ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔/๑
เลขที่ ๑๔
นางสาวรัญชิดา กิ่งมณี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔/๑ เลขที่
๑๕
นางสาวพิมพ์มาดา ไทยใหญ่ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔/๑
เลขที่ ๔๑
เสนอ
คุณครูพวงทอง อยรังสกฤษฎ์กูล
โรงเรียนสันทรายวิทยาคม อาเภอสันทราย
จังหวัดเชียงใหม่
ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๙
ห น้ า | ก
คานา
รายงานเรื่อง การเข้าค่ายคุณธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔
โรงเรีย น สัน ท ร าย วิท ย าค ม อาเภ อสัน ท ราย จังห วัด เชี ย งให ม่
ปี การศึกษา๒๕๕๙ เล่มนี้ เปรียบเสมือนส่วนหนึ่งของการเข้าค่ายคุณธรรม
ในระดับชั้นม.๔ โรงเรีย นสันทราย วิทยาค ม ปี การศึกษา ๒๕๕ ๙
เ นื่ อ ง จ า ก ผู้ จั ด ท า มี ธุ ร ะ ส่ ว น ตั ว
ท า ใ ห้ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ม า ร่ ว ม ท า กิ จ ก ร ร ม กั บ เ พื่ อ น ๆ ไ ด้
จึงตั้งใจและร่วมกันจัดทารายงานเล่มนี้ขึ้นเพื่อศึกษาและหาความรู้ที่เพื่อนๆได้
ไปรับมาจากการทากิจกรรม โด ยเนื้อเรื่องจะกล่าวถึงตารางกิจกรรม
และค วามรู้ทุกๆอย่างข องเพื่ อนที่ ได้ไป ร่วมท ากิจกรรมในค รั้งนี้
จึงหวังแต่เพียงว่ารายงานเล่มนี้จะสร้างประโยชน์ให้แก่ผู้ที่สนใจได้ไม่มากก็น้
อย
หากผิดพลาด ณ ประการใด ทางคณะผู้จัดทาก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
ห น้ า | ข
สารบัญ
หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
ที่มาการเข้าค่ายคุณธรรม ๑
หลักการและเหตุผลของการเข้าค่ายคุณธรรม ๑
วัตถุประสงค์ของการเข้าค่ายคุณธรรม ๒
กลุ่มเป้าหมาย ๒
ขอบเขตโครงการ ๒
สถานที่และระยะเวลาในการอบรม ๒
การ เข้า ค่าย คุ ณ ธ ร รม ข อ งนัก เรี ย น ชั้ น มัธ ย ม ศึก ษ าปี ที่ ๔
โรงเรียนสันทรายวิทยาคม
๓
วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ๓
ตารางกิจกรรม ๓
สิ่งที่ได้เรียนรู้ ๓
๕ ห้องชีวิต เนรมิตนิสัย ๓
บุญ-บาป ๑๑
วันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ๒๑
ตารางกิจกรรม ๑๖
สิ่งที่ได้เรียนรู้ ๑๖
นรก-สวรรค์ ๑๖
บรรณานุกรม ๒๕
ห น้ า | 1
ที่มาการเข้าค่ายคุณธรรม
หลักการและเหตุผลของการเข้าค่ายคุณธรรม
เนื่องจากสังคมไทยในปัจจุบันมีความเจริญทางด้านวัตถุกับความเจริญท
า ง ด้ า น จิ ต ใ จ ไ ม่ ส ม ดุ ล กั น แ ล ะ เ ห ลื่ อ ม ล้ า ต่ อ กั น
จึง ท าใ ห้ สังค ม ไ ท ย เป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป จ า ก เดิ ม อ ย่ า งเห็ น ไ ด้ ชั ด
ก ล่า ว คื อ แ ต่ก่ อ น สังค ม ไ ท ย เร ามี ค ว าม เป็ น อ ยู่ อ ย่ า งเรี ย บ ง่า ย
มี จิ ต ใ จ โ อ บ อ้ อ ม อ า รี เ ปี่ ย ม ด้ ว ย คุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร ร ม
มีความเป็ นอยู่แบบสังคมพอเพียง คือพอกินพอใช้ มีความเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่
เห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกันแต่ในปัจจุบันสังคมไทยกาลังหันไปหาค่านิยมสมัย
ใ ห ม่ ที่ ผิ ด ๆ มี นิ สั ย ช อ บ ฟุ้ ง เ ฟ้ อ ห รู ห ร า
ยึด ติด อ ยู่ กับ บ ริโภ ค นิ ย ม แ ล ะวัต ถุ นิ ย ม เห็ น แ ก่ตัวกัน ม าก ขึ้ น
การพัฒนาทางด้านวัตถุดูเหมือนว่าจะได้รับการส่งเสริมอย่างจริงจังแต่การพัฒ
น า ท า ง ด้ า น จิ ต ใ จ ก ลั บ ถู ก ล ะ เ ล ย
จึงทาให้ปัญหาต่างๆในสังคมไทยเกิดขึ้นซึ่งนับวันจะทวีคูณและรุนแรงมากยิ่ง
ขึ้นเรื่อยๆ
อนึ่งเนื่องด้วยสังคมในสมัยปัจจุบันซึ่งเป็ นสังคมแห่งยุคเทคโนโลยี
ความทันสมัยและสิ่งยั่วยวนใจชวนให้หลงใหลทาให้คนสมัยนี้อยากลอง อยากรู้
อ ย า ก ดู อ ย า ก เ ห็ น
อยากทาและอยากเป็ นโดยไม่ได้คานึงถึงเรื่องความปลอดภัยของตัวเอง
อี ก ทั้ ง ยั ง ข า ด ค ว า ม คิ ด
ความใคร่ครวญให้ดีในการตัดสินใจที่จะกระทาการอะไรลงไป
เด็กวัยรุ่นหรือเยาวชนซึ่งเปรียบเสมือนเป็นอนาคตของชาติเปรียบเ
ห มื อ น ค น ที่ ก า ลั ง ไ ม่ รู้ ท า ง ที่ จ ะ เ ดิ น ไ ป
เมื่อมีใครแนะนาให้ทาสิ่งใดก็จะทาสิ่งนั้นโดยในบางทีหาได้รู้ไม่ว่าสิ่งที่เขาได้
ท า ล ง ไ ป นั้ น ถู ก กั บ ก ฎ ห ม า ย บ้ า น เ มื อ ง
กฎจารีตประเพ ณี อันดีงามของบ้านเมืองถิ่นนั้นห รือไม่ ย กตัวอย่าง
เยาวชนในสมัยนี้จะมีความเป็ นตัวของตัวเองสูง และจะคิดว่าตัวเองโตแล้ว
มี ค ว า ม คิ ด เ ป็ น ตั ว ข อ ง ตั ว เ อ ง
แต่เข าห ารู้ไม่ว่าค วามคิด เห็น ข องเข านั้นบ างเรื่องมีข้อผิด พ ลาด
โดยส่วนมากจะมีแรงบันดาลใจจากเพื่อนซึ่งในระดับเยาวชนชั้นกลางหรือ
ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ซึ่ ง จั ด อ ยู่ ใ น วั ย หั ว เ ลี้ ย ว หั ว ต่ อ
การที่จะไปจ้าจี้จ้าไชมากเกินไปจะทาให้พวกเขายิ่งคิดว่าไม่เข้าใจในตัวพวกเข
า เ อ ง จ น ก ล า ย เ ป็ น ก า ร ยิ่ ง ห้ า ม เ ห มื อ น ยิ่ ง ยุ
แต่ถ้าตามใจมากเกินไปก็จะเป็นการปล่อยให้หลงผิดโดยที่ตัวเขาเองคิดว่าทาถู
กต้องแล้ว
ปัญหาที่พบมากที่สุดในปัจจุบันนั้นส่วนมากเกิดจากสาเหตุคือคนข
า ด ศี ล ธ ร ร ม แ ล ะ จ ริ ย ธ ร ร ม ใ น สั ง ค ม
ห น้ า | 2
โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหายาเสพติดให้โทษอย่างเช่นยาบ้า กัญชา สุรา
ย า อี เ ป็ น ต้ น
ซึ่งสิ่งเหล่านี้ได้กลายเป็ นปัญหาหลักของสังคมและประเทศชาติอยู่ในปัจจุบันนี้
โดยได้แพร่กระจายมากในหมู่เยาวชนของชาติ ทั้งในชุมชนเมืองและตามต่าง
จังห วัด ซึ่ งใน วัยอย ากรู้และอย ากลองนี้ เป็ นเรื่องที่อันต รายที่ สุด
พวกเราในฐานะที่เป็ นผู้ใหญ่หารู้ไม่ว่าเยาวชนเหล่านี้ ใค รเป็ นอย่างไร
แต่เพื่อเป็นการป้ องกันให้เยาวชนเหล่านี้ห่างไกลจากอบายมุขและสิ่งเสพติดทั้ง
ม ว ล
จึงเป็ นหน้าที่ของทุกฝ่ายที่จะกระทาตัวเป็ นผู้บอกทางเดินให้เยาวชนได้รู้จักโท
ษของสิ่งไม่ดีเหล่านั้น
กี ฬ า กิ จ ก ร ร ม บั น เทิ ง ต่ า ง ๆ แ ล ะ ก า ร เข้ า ค่ า ย
สิ่งนี้ล้วนเป็ นสิ่งที่ผู้ใหญ่ของบ้านเมืองกาลังให้การสนับสนุนเพื่อเบี่ยงเบนความ
ส น ใ จ ใ น สิ่ ง ที่ ไ ม่ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ อ ย่ า ง อื่ น
และเป็นการส่งเสริมให้เยาวชนมีกิจกรรมกระทาในเวลาที่ว่างเพื่อจะได้ไม่ต้อง
มั่วสุมอยู่กับสิ่งเสพ ติด เห ล่านั้นห รือสิ่งที่ไม่เป็ นประโยช น์ อย่างอื่น
สิ่งที่กล่าวมาในเบื้องต้น ก็เป็นการนาห่างเยาวชนออกจากยาเสพติดในแง่หนึ่ง
ซึ่ ง อ า จ เ รี ย ก ไ ด้ ว่ า
ทางกายแต่ในฐานะเมืองไทยเราเป็นเมืองพุทธ มีคาสอนขององค์พระพุทธเจ้าเ
ป็ น ที่ พึ่ ง ท า ง ใ จ ไ ด้ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี
โครงการนี้จึงจะเป็ นการปลูกฝังเยาวชนทางด้านจิตใจโดยให้มีความคิดอาศัยธ
รรมะในขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นธรรมะที่จะต้องใช้ในชีวิตประจาวัน ตัวอย่างเช่น
หิ ริ คื อ ค ว า ม ล ะ อ า ย ค ว า ม ล ะ อ า ย ที่ จ ะ ก ร ะ ท า บ า ป
บ าป ห ม า ย ถึงสิ่งที่ ไ ม่ดี ทุ ก อ ย่ างไ ม่ว่าใน ที่ ต่ อ ห น้ าแ ล ะลับ ห ลัง
และไม่ละอายที่จะกระทาบุญทุกอย่าง บุญ หมายถึงสิ่งที่ดีงามทุกอย่าง
สิ่งที่ถูกจารีตประเพณีอันดีงามของบ้านเมืองก็จัดว่าเป็ นบุญ และโอตตัปปะ
คื อ ค ว า ม เ ก ร ง ก ลั ว
ความเกรงกลัวต่อผลแห่งบาปที่จะได้รับเมื่อทาบาปและความยินดีต่อผลแห่งบุ
ญที่จะได้รับในเมื่อทาบุญคือสิ่งที่ดีๆ สิ่งที่สังคมยอมรับว่าถูกจารีตประเพณี
และเพื่ อที่จะแก้ปัญ ห าย าเสพ ติด ให้ห มด ไปจะต้องแก้ไข ที่ต้นเห ตุ
คือ ก ารป ลูก ฝั งศี ลธ ร รม คุ ณ ธ รรม แ ละจ ริย ธ รร ม ใ ห้เกิด ขึ้น ใ น
จิตใจของเยาวชนเป็นอันดับแรก เพราะเยาวชนนั้นถือว่าเป็ นทรัพยากรมนุษย์
ที่ มี ค ว า ม ส า คัญ ที่ สุ ด ใ น ก า ร พั ฒ น า สัง ค ม แ ล ะ ป ร ะ เท ศ ช า ติ
ให้เจริญก้าวหน้าต่อไปในอนาคต
วัตถุประสงค์ของการเข้าค่ายคุณธรรม
 เพื่อให้เยาวชนตระหนักถึงคุณค่าความรักของพ่อแม่และค
ณะครู
ห น้ า | 3
 เพื่อส่งเสริมการศึกษาและให้เยาวชนได้รับประโยชน์จากกา
รเข้าค่ายอบรม
 เพื่ อให้เย าวช นมีระเบีย บวินัย ศีลธ รรม จริย ธ รรม
คุณธรรมและความสามัคคี
 เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนห่างไกลจากสิ่งเสพติดและอบายมุข
 เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้ประวัติพระพุทธศาสนาและปฏิบัติ
ตามหลักศีลธรรมคุณธรรมและจริยธรรมอันดีงามในทางพร
ะพุทธศาสนา
 เพื่อให้เยาวชนได้นาเอาหลักธรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตปร
ะจาวันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้เอง
 เพื่ อให้เยาวชนรู้จักรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม
รู้จักแยกแยะความดีความชั่วออกจากกันได้
กลุ่มเป้ าหมาย
เยาวชนชาย-หญิง ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔ โรงเรียนสันทรายวิทยาคม
อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
ขอบเขตโครงการ
โครงการนี้ เป็ นโค รงการระย ะสั้น (วันที่๕-๖ พ ฤษภาค ม
๒๕๕๙) ๒ วัน ๑คืน ซึ่งเป็นโครงการเข้าค่ายอบรมศีลธรรม โดยจะเน้นที่การ
ฟังบรรยายตามฐานต่าง ๆ และการทากิจกรรมร่วมกันเพื่ อสนุกสนาน
ความรักและความสามัคคีกันในหมู่เยาวชนที่อบรมและความรักในสถาบันครอ
บครัวให้เกิดขึ้นอย่างแน่นแฟ้น
สถานที่และระยะเวลาในการอบรม
 วัดธุดงธสถานล้านนา
 ระยะเวลา จากวันที่๕-๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙ (๒ วัน ๑ คืน)
การเข้าค่ายคุณธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔
โรงเรียนสันทรายวิทยาคม
วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๙
ตารางกิจกรรม
เวลา กิจกรรมที่ต้องทา
๐๗.๐๐ น. นักเรียนเดินทางถึงวัดธุดงค์ ธ สถานล้านนา
๐๘.๓๐ น. ลงทะเบียนการเข้าค่าย
๐๙.๐๐ น. เริ่มดาเนินกิจกรรม
๑๑.๓๐ น. รับประทานอาหารเที่ยง
ห น้ า | 4
๑๒.๓๐ น. เข้าฐานกิจกรรม ใช้เวลาฐานละ ๓๐ นาที รวมทั้งสิ้น ๕ ฐาน
๑๕.๓๐ น. พักเบรก
๑๖.๐๐ น. นัดหมายกิจกรรม
๑๖.๓๐ น. ทาธุระส่วนตัว
๑๗.๓๐ น. รับประทานอาหารเย็น
๑๘.๓๐ น. ทาวัตรเย็นและฟังเทศน์
๒๑.๐๐ น. เวียนเทียนและเดินจงกรม
๒๓.๐๐ น. เข้านอน
สิ่งที่ได้เรียนรู้
๕ ห้องชีวิต เนรมิตนิสัย
๑) ห้องนอน คือ ห้องมหาสิริมงคล
ห้องนอน คือ ห้องสาหรับพัฒนานิสัยรักบุญกลัวบาป
หน้าที่หลักของห้องนอนมีอะไรบ้าง
๑) ห้องนอนเป็ นห้องสาหรับการปลูกฝังสัมมาทิฐิ
ก า ร ส อ น ลู ก ห ล า น ใ ห้ รู้ จั ก ดี ชั่ ว บุ ญ บ า ป
อ ย่ า ง ช นิ ด ฝั ง ใ จ จ ะ อ ยู่ ที่ ห้ อ ง น อ น นี้
เพ ร า ะ โ ด ย ทั่ ว ไ ป ช่ ว ง ก่ อ น น อ น เป็ น ช่ ว ง ที่ อ า ร ม ณ์ ดี ที่ สุ ด
การสอนลูกหลานให้มีความเคารพในพระรัตนตรัยต้องฝึกจากห้องนอน
โ ด ย ทั้ ง พ่ อ ทั้ ง แ ม่ ก ร า บ พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ด้ ว ย กั น
ราลึกถึงคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยกัน
การสอนลูกให้กราบเท้าพ่อแม่ก็ฝึกจากห้องนอน เพราะเมื่อลูกกราบ
พ่ อ แ ม่ ก็ ใ ห้ พ ร ค ว า ม อ บ อุ่ น ใ จ ก็ เ กิ ด ขึ้ น ก่ อ น น อ น
ทาให้ปลูกฝังความกตัญญูกตเวทีลงไปในใจได้โดยง่าย
๒) ห้อ งน อ น เป็ น ห้อ ง ส าห รับ ฝึ ก สัม ม าส ม า ธิ (Meditation)
ให้ใจตั้งมั่นอยู่ในศูนย์กลางกายเป็ นปกติ
พ่อ แม่ ลูก จะนั่งสมาธิ ก็นั่งในห้องนอน กลั่นใจให้บริสุทธิ์ก่อนนอน
ทาอย่างนี้ หยุดจึงเป็ นตัวสาเร็จได้ เข้าถึงพระธ รรมกาย ในตัวได้ง่าย
ท าใ ห้ มี ก า ลัง ใ จ ใ น ก า ร ส ร้า ง บ า ร ม ีไ ป ใ ห้ ถึง ที่ สุ ด แ ห่ งธ ร ร ม
ตามที่พระเดชพระคุณหลวงปู่วัดปากน้าบอกเอาไว้
ศัตรูของห้องนอนคืออะไร?
ห น้ า | 5
ห ล ว งพ่ อ ต้อ งถ า ม ก่อ น ว่า ใค ร มี ที วีอ ยู่ ใน ห้ อ ง น อ น บ้า ง
กลับไปบ้านวันนี้ให้ยกออกมาข้างนอกเสีย เพราะทีวีทาให้ไม่ได้นั่งสมาธิ
เริ่ ม แ ร ก ว่ า จ ะ ดู ข ่า ว ต่ อ ม า ก็ ดู ล ะ ค ร จ บ แ ล้ ว ก็ ดู ห นั ง ต่ อ
พ อง่วงขึ้น ม า ก็เข้า น อน โ ด ย ยังไม่ได้ส วด ม น ต์ เลย ละค รน้ า เน่ า
ถ้า ไ ม่ มี เรื่ อ ง ต บ กัน จ น จ อ แ ต ก ก็ ต้ อ ง ตี กัน จ น เลื อ ด ท่ ว ม จ อ
นอน ดู เพ ลิน จน ห ลังข ด ห ลังแ ข็ง บางที น อน ค อเค ล็ด อีกต่างห าก
ส่ ง ผ ล ใ ห้ เรื่ อ ง สุ ด ท้ า ย ที่ ติ ด ใ จ ข อ ง เร า ไ ป ต อ น ห ลับ ก็ คื อ
เ รื่ อ ง ที่ ต บ กั น จ อ แ ต ก ห รื อ ตี กั น เ ลื อ ด ท่ ว ม จ อ
ท า ใ ห้ นึ ก ถึ ง อู่ ท ะ เล บุ ญ ไ ม่ อ อ ก จึง ไ ม่ ไ ด้ น อ น ใ น อู่ ท ะ เล บุ ญ
เมื่อตื่นเช้าขึ้นมาให้นึกถึงองค์พระก็นึกไม่ออก
เพราะฉะนั้น ใครมีทีวีอยู่ในห้อง เดี๋ยวก็ไม่ได้สวดมนต์ ไม่ได้ไหว้พระ
หลวงพ่อขอให้เอาออกไปนอกห้องนอนเสีย แล้วจะทาให้เราตรงต่อเวลา
ทาให้มี เวลาพู ด กับ ลูกห ลาน ก่อ นน อ นจะฝึ กให้เด็ กกราบ พ่ อแ ม่
จ ะ ใ ห้ พ ร ลู ก ห ล า น ก็ ท า ไ ด้ ใ น เ ว ล า นั้ น
ก่ อ น น อ น เ ด็ ก จ ะ นึ ก ถึ ง ค า อ ว ย พ ร ข อ ง พ่ อ แ ม่
พอตื่นขึ้นมาคาอวยพ รของพ่อแม่ก็ยังติดอยู่ในใจ ทาให้เด็กมีจิตใจดี
ไม่ขาดความอบอุ่น
ดั ง นั้ น ห้ อ ง น อ น คื อ
ห้องมห าสิริมงค ล มีไว้ใช้ ปลูกฝังศ ีล ธ ร ร ม ทบทวนบัญ ชี บุญ -บาป
ให้พรลูกหลานก่อนนอน กราบพ่อกราบแม่ก่อนนอน นั่งสมาธิก่อนนอน
ทาให้ชีวิตเกิดสิริมงคล
๒) ห้องน้า คือ ห้องมหาพิจารณา
ตื่นเช้าขึ้นมา เมื่อเราออกจากห้องนอนก็จะไปห้องน้า
ห้ อ ง น้ า เ ป็ น ห้ อ ง ม ห า พิ จ า ร ณ า คื อ
ฝึกคิดให้ตรงตามความเป็ นจริงของโลกและชีวิต เพราะห้องนอนหรือห้องอื่นๆ
ห น้ า | 6
เช่น ห้องครัว ห้องทางาน เวลาจะใช้ สามารถใช้พร้อมๆกันได้หลายคน
ยิ่ ง ห้ อ ง ค รั ว ด้ ว ย แ ล้ ว ห ล า ย ค น ล้ อ ม โ ต๊ ะ กิ น ข้ า ว กั น
แต่ห้องน้าใช้ได้ทีละคนเท่านั้นจึงมีเวลาที่จะพิจารณาตัวเองมาก
หน้าที่หลักของห้องน้ามีอะไรบ้าง
๑) เป็นที่พิจารณาความไม่งามของร่างกาย
พิ จ าร ณ า อ ายุ ข อ ง เร า ที่ ผ่ าน ไ ป แ ต่ ล ะวัน แ ต่ล ะ คื น ก็ ต ร ง นี้
แล้วความหลงตัวเองก็จะหมดไป ความเคียดแค้นชิงชังใครก็จะไม่มี
๒) เป็นที่พิจารณาความเสื่อมโทรมของร่างกายที่ดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง
๓)เป็นที่พิจารณาความเป็นรังแห่งโรคของร่างกาย
ห้องน้าเป็ นห้องพิจารณาความมีโรคภัยไข้เจ็บของเรา ที่สาคัญที่สุด
ห้องน้าเป็นห้องสาหรับรักษาสุขภาพอย่างดี
ห ล ว งพ่ อ ข อ ฝ าก ไ ป ถึง คุ ณ พ่ อ คุ ณ แ ม่ ที่ ยัง มี ลู ก เล็ ก อ ยู่ ด้ ว ย
ถามว่าเวลาเราป่วยไข้ไปหาหมอ หมอต้องการอะไรจากเราอย่างรีบด่วน
ถ้าเฉพาะห น้าเขาก็ต้องการเจาะเลือดมาตรวจดู ต้องการวัด ความดัน
แ ต่ว่า อ ย่ าง ไร ก็ ต าม เดี๋ ย ว ก็ ข อ อุ จ จ าร ะแ ล ะ ปัส ส า วะ ม า ต ร ว จ
เมื่อเรารู้อย่างนี้ทาไมจะต้องรอให้ป่ วยด้วยก็หัดตรวจอุจจาระ ปัสสาวะ
ของตัวเองให้เป็นจากในห้องนี้แล้วสุขภาพจะดี
ต อ น นี้ ห ล ว ง พ่ อ อ า ยุ ๖ ๙ ปี สุ ข ภ า พ ยั ง ใ ช้ ไ ด้
เพ ราะห มั่ น ต รวจดูค วาม ปก ติห รือไม่ป กติข องอุจจาระ ปัสสาวะ
ข อ ง ตัว เอ ง เป็ น ป ร ะ จ า ดู ก ร ะทั่ ง ส บ งจี ว ร ที่ นุ่ ง ที่ ห่ ม แ ต่ ล ะวัน
กลิ่นสาบสางมีอย่างไร เพราะถ้าคนจะป่วยจะไข้ จะมีสิ่งบอกเหตุล่วงหน้า
ตั้งแต่กลิ่นเสื้อกลิ่นผ้ามันจะบอกจากนั้นดูอุจจาระ ปัสสาวะ ตั้งแต่สี กลิ่น
ข อ ง มั น จ ะ บ อ ก
ตรงนี้ฝากด้วยใช้ห้องน้าใช้ให้เป็นฝึกให้ทุกคนในบ้านทาความสะอาดห้องน้าใ
ห้เป็น
แ ล้ว ไม่ ว่าฐ าน ะ เร าจ ะดี อ ย่ าง ไร ใน เรื่ อ งห้ อ ง น้ าส่ว น ตัว
ต่อให้เราเป็นมหาเศรษฐีมีเงินกี่พันกี่หมื่นล้านก็ตาม หัดดูแลห้องน้าตัวเองด้วย
ฝึกให้ลูกดูแลห้องน้าของเขาให้เป็ นไม่อย่างนั้นเขาจะดูแลสุขภาพไม่เป็ น
ตอนลูกเล็กๆ ฝึกให้เขาหัดขัดส้วมของเขาด้วยแล้วโตขึ้นจะเป็นคนไม่เกี่ยงงาน
ต่อไปเบื้องห น้าแม้พ่ อแม่ป่ วย ห รือตัวเข าป่ วย ก็จะดูแลพ่อแม่เป็ น
ถ้าเขาจะต้องเช็ดอุจจาระ ปัสสาวะหรือจะเทอุจจาระ ปัสสาวะ ให้พ่อแม่ก็ตาม
เขาจะไม่รังเกียจที่สาคัญเขาจะดูแลสุขภาพของเขาเป็ นเรื่องนี้มองข้ามไม่ได้
หลวงพ่อได้ เรื่องนี้มาจากโยมพ่อ แล้วก็มาได้อีกครั้งอย่างมากที่คุณยาย
แล้วอีกครั้งหนึ่งได้ตอนเรียนอยู่มหาวิทยาลัย เนื่องจากเรียนวิชาสัตวบาล
ห น้ า | 7
มีเป็ ดไก่เป็ นพันๆ ตัว วัวนมวัวเนื้ออีกเป็ นร้อยๆ ตัว ควายนมเป็ นฝูง
หมูเป็นฝูง มาให้เราดู
ส มั ย เ รี ย น
วิช าที่เรีย นบังคับ ให้ต อน เช้ าจะต้องดูสุข ภาพ เจ้าสัต ว์พ วกนี้ ก่อ น
แ ล้ ว จึ ง จ ะ ไ ป เ ข้ า ห้ อ ง เ รี ย น ไ ด้
ต้องเดินผ่านคอกสัตว์เหล่านี้แต่สัตว์บอกไม่ได้ว่ามันป่วย วัวก็บอกไม่ได้
ไก่ก็บอกไม่ได้ แล้วทาอย่างไร ก็ต้องไปดูอุจจาระ ปัสสาวะของมัน
มองป ราด ไป ห็ น ผิด ป รกติต รงไห น เดี๋ ย วรีบ ไป ต าม ห าให้ได้ว่า
อุ จ จ า ร ะ ก อ ง นี้ ข อ ง สั ต ว์ ตั ว ไ ห น
แล้วก็รักษาแก้ไขกันไปทาให้ดูแลสุขภาพสัตว์จานวนพันมาได้อย่างนี้
ห ล ว ง พ่ อ เ ล ย ส ะ ท้ อ น ม า ถึ ง ตั ว เ อ ง ว่ า
คุณยายก็จ้าจี้จ้าไชเรื่องห้องน้ากับหลวงพ่อไว้มากว่า ให้ไปอบรมพระภิกษุ
สามเณร อุบาสก อุบาสิกา
คุณ ย าย ใช้ค าห นึ่ งว่า ถ้าเข ายังไม่เต็ม ใจขัด ห้อ งน้ าให้เป็ น
ท่านอย่าให้บวช นะ ถ้าบวช ต่อไปข้างห น้า เขาจะเป็ นค นที่เกี่ยงงาน
แล้วเกี่ยงทุกอย่าง ดูถูกคนก็ปานนั้น
ดั ง นั้ น พ ว ก เร า ห วั ง จ ะ ใ ห้ ลู ก ห ล า น ข อ ง เร า ไ ด้ ดี
อย่ามองข้ามการงานในห้องน้า
๓)ห้องแต่งตัว (ห้องมหาสติ)
คานิยามที่แท้จริง ห้องแต่งตัว คือ ห้องพัฒนานิสัยตัดใจและใฝ่บุญ
หลักธรรมประจาห้องแต่งตัว คือ สัมมาสติ
หน้าที่หลักของห้องแต่งตัว
ห น้ า | 8
๑) ใ ช้ ใ น ก า ร ป ลู ก ฝั ง สั ม ม า ส ติ คื อ
ฝึกประคองรักษาใจให้ผ่องใสเป็นปกติ ไม่ปล่อยใจไปตามอานาจกิเลส
๒) ฝึกให้มีความระมัดระวังตนในทุก ๆ เรื่อง ไม่ประมาทเผอเรอ
มีความตื่นตัวตลอดเวลา
๓) ฝึกตัดใจไม่คิดหมกมุ่นในกาม ตามแฟชั่นหรือกระแสสังคม
๔) ฝึกใช้เหตุผลตักเตือนใจของตนให้เป็นสัมมาทิฐิและสัมมาสังกัปปะ
ไม่ให้เกิดความลาเอียง และสูญเสียศีลธรรมประจาใจ
ความรู้ประจาห้องแต่งตัว
๑. แต่งตัวเพื่อปกปิดอวัยวะที่ก่อให้เกิดความละอายและเป็นที่อุจาดต
า
๒. แต่งตัวเพื่อป้ องกันอันตรายจากความร้อนและความหนาว สัตว์
และแมลง
๓. เ ลื อ ก แ ต่ ง ตั ว ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม ทุ ก ส ถ า น ที่
ไม่ชวนให้โจรผู้ร้ายปล้นจี้หรือฉุดคร่าไปทาร้ายทางเพศ
๔. ใ ช้ เ ค รื่ อ ง แ ต่ ง ตั ว ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ฐ า น ะ
ไม่ตกเป็นทาสเสื้อผ้าเครื่องแต่งตัวตามกระแสสังคม
๕. ไม่สนับสนุนให้เด็กหมกมุ่นในกามด้วยการแต่งหน้าก่อนวัยอันคว
ร อันนาไปสู่ปัญหามากมายในภายหลัง
ประโยชน์จากการใช้ห้องแต่งตัวอย่างถูกต้อง
๑.ทางใจ
 ตัดใจไม่ให้หลงในลาภ ยศ สรรเสริญ สุข
 ตัดใจไม่ให้มัวเมาในความเป็ นหนุ่มเป็ นสาว ในความไม่มีโรค
ในความมีอายุยืน
 ตัดใจไม่ฟุ้งเฟ้อ ไม่สุรุ่ยสุร่าย
 ตัดใจสร้างบุญกุศลเป็นประจา เช่น การทาทาน การรักษาศีล การเจริญ
ภาวนา เป็นต้น
 ไม่ตกเป็นทาสอบายมุข
๒.ทางกาย
 รู้จักการให้เกียรติเคารพสถานที่
 รู้จักมารยาทในการเข้าสังคม
 รู้จักการวางตัวได้อย่างเหมาะสมตามภาวะและฐานะที่ตนเป็ น
 มีความตื่นตัวและกระตือรือร้นในการคิดดี พูดดี และทาดีอยู่เสมอ
ห น้ า | 9
๔) ห้องอาหาร (ห้องมหาประมาณ)
คานิยามที่แท้จริง ห้องอาหาร คือ ห้องพัฒนานิสัยรู้ประมาณในการพูด
และการใช้ทรัพย์
หลักธรรมประจาห้องอาหาร คือ สัมมาวาจา และสัมมากัมมันตะ
หน้าที่หลักของห้องอาหาร
๑. เป็นที่ประชุมสมาชิกทุกคนในบ้านอย่างพร้อมหน้าพร้อมตา
ทุกวัน
๒. ใช้ปลูกฝังสัมมาวาจาและสัมมากัมมันตะให้แก่สมาชิกทุกค
นในบ้าน
๓. ห า ก ส ม า ชิ ก ใ น ค ร อ บ ค รั ว รั บ
ประทานอาหารไม่พร้อมหน้าพร้อมตากัน จะเกิดปัญหา
น้ อ ย เนื้ อ ต่ า ใ จ แ ล ะ ปั ญ ห า ค ว า ม แ ต ก แ ย ก
แต่หากสมาชิกขาดสัมมาวาจาจะเกิดปัญหากระทบกระทั่งบ
านปลายใหญ่โต
ความรู้ที่ต้องมีเกี่ยวกับห้องอาหาร
๑. ห้องอาหาร คือ ห้องที่สมาชิกทั้งบ้านใช้รับประทานอาหารร่วมกัน
จึงต้องรักษาความสะอาดให้ดี ไม่ควรเก็บอาหารไว้ในห้องนี้
๒. ห้องครัว คือ ห้องสาหรับปรุงอาหารและเก็บอาหารทุกประเภท
ต้ อ ง รั ก ษ า ค ว า ม ส ะ อ า ด แ ล ะ จั ด ใ ห้ เ ป็ น ร ะ เ บี ย บ
มิฉะนั้นจะเป็นแหล่งชุมนุมของมด หนู และแมลงต่าง ๆ
๓. ห้องรับแขก คือ ห้องที่ใช้ต้อนรับแขกที่มาเยี่ยมเยียนหรือมีธุระสาคัญ
จึงเสมือน เป็ น ห น้าต าข องบ้าน ไม่ค วรปล่อย ให้รกรุงรัง
ต้องจัดให้เป็นระเบียบและทาความสะอาดอยู่เสมอ
๔. บ้ า น ใ ด ที่ ใ ช้ ห้ อ ง อ า ห า ร ร ว ม กั บ ห้ อ ง รั บ แ ข ก
ควรใช้เครื่องเรือนแบ่งเขต 2 ห้องให้ชัดเจน
๕. ค ว ร จั ด ชุ ด เ ก้ า อี้ รั บ แ ข ก ไ ว้ ต ร ง ป ร ะ ตู ท า ง เ ข้ า
แ ล ะ จั ด โ ต๊ ะ รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร ไ ว้ ใ ก ล้ ห้ อ ง ค รั ว
อีกทั้งควรตกแต่งห้องให้มีบรรยากาศเย็นตา
๖. ควรจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ของห้องครัว ห้องอาหาร ห้องรับแขก
ให้พร้อมและสะอาด มีครบตามจานวนสมาชิกในครอบครัว
๗. ควรจัดเตรียมวัตถุดิบและเครื่องปรุงให้ครบตามความจาเป็ น
และเพียงพอกับคนในบ้าน
ห น้ า | 10
๘. ควรฝึกอบรมสมาชิกในบ้านให้รู้จักช่วยกันทาครัวตั้งแต่เยาว์วัยเพื่อฝึ
กความสามัคคี
๙. ควรฝึกสมาชิกในบ้านให้รู้จักวิธีการถนอมอาหารให้ถูกหลักโภชนาก
าร เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย
ประโยชน์จากการใช้ห้องอาหารอย่างถูกต้อง
๑) ทางใจ
 รู้ จั ก ป ร ะ ม า ณ ใ น ก า ร รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร คื อ
ระลึก อ ยู่ ว่าเร ารับ ป ร ะท าน อ าห ารเพื่ อ ให้ชี วิต ด ารง อยู่ ไ ด้
จะได้นาเรี่ยวแรงไปทาความดี
 รู้ จั ก ป ร ะ ม า ณ ใ น ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย์ คื อ
รู้ จั ก ก า ร ก า ห น ด ร า ย จ่ า ย ใ ห้ น้ อ ย ก ว่ า ร า ย ไ ด้
จ ะ ไ ด้ มี ท รั พ ย์ เ ห ลื อ เ ก็ บ ไ ว้ ใ ช้ ใ น ค ร า ว จ า เ ป็ น
และใช้บริจาคสร้างบุญกุศลอันเป็ นหนทางไปสู่สุคติในสัมปรายภพ
 รู้จักประมาณในวาจา คือ การใช้คาพูดที่นุ่มนวล มีเหตุผล มีประโยชน์
เหมาะแก่กาลเทศะในสถานการณ์ต่าง ๆ
๒) ทางกาย
 ใช้ห้องอาหารสาหรับประกอบอาหาร
 ใช้เป็นที่ประชุมสมาชิกพร้อมหน้าพร้อมตา
 ใช้ห้องอาหารเป็นที่รับประทานอาหาร
 ใช้ห้องอาหารเป็นที่เก็บอาหาร
 ใช้ห้องอาหารเป็นที่ต้อนรับแขก
๕) ห้องทางาน (ห้องมหาสมบัติ)
คานิยามที่แท้จริงของห้องทางาน คือ ห้องพัฒนานิสัยใฝ่ความสาเร็จ
หลักธรรมประจาห้องทางาน คือ สัมมาอาชีวะและสัมมาวายามะ
หน้าที่หลักของห้องทางาน
๑. ใช้ในการปลูกฝังสัมมาอาชีวะ ไม่หารายได้จากการทาผิดศีลธรรม
ผิดกฎหมาย ผิดจารีตประเพณี
๒. ใช้ปลูกฝังวินัยประจาห้องทางาน 6 ประการ
 มีสัมมาวาจา ใช้คาพูดได้เหมาะสม
ห น้ า | 11
 มีความเคารพในบุคคล สถานที่ เหตุการณ์
 มีมารยาทดี เหมาะแก่บุคคลและกาลเทศะ
 มีความรับผิดชอบทั้งส่วนตัวและส่วนรวมเคร่งครัดต่อระเบียบ
วินัยในการทางาน
 เอาใจใส่ดูแลอุปกรณ์ต่าง ๆ ในห้องทางาน
ความรู้เกี่ยวกับห้องทางาน
๑. เลือกประกอบสัมม าอาชี พ ที่ไม่ผิด ศี ลธ รรม ไม่ผิด กฎห มาย
ไม่เกี่ยวกับอบายมุข ไม่ก่อให้เกิดมิจฉาทิฐิ
๒. ทาเลที่ประกอบอาชี พ ต้องสอดค ล้องกับชุ มช นและสิ่งแวด ล้อม
เพื่อความเหมาะสม ในการทางาน และเพื่อความสาเร็จในอาชีพ
๓. ห้องทางานต้องเหมาะสมกับจานวนบุคลากร และชนิดของงาน
๔. การต กแต่งต้องสะด วกใน การทางาน สะอาด ถูกสุข อน ามัย
มีความปลอดภัย ไม่มีภาพลามกอนาจาร
๕. อุปกรณ์ เค รื่องใช้ในแต่ละห้องต้องเพี ยงพ อ จัด เก็บเป็ นระบบ
เพื่อให้เกิดความคล่องตัว
๖. ใช้อุปกรณ์อย่างถูกวิธี และหมั่นดูแลรักษา จะได้มีไว้ใช้งานได้นาน ๆ
หากเกิด ชารุดเสียหายต้องรีบซ่อมแซม
๗. มีกุศโลบายในการสนับสนุนคนดี แก้ไขคนโง่ คัดคนพาลออก
ประโยชน์จากการใช้ห้องทางานอย่างถูกต้อง
๑. ทางใจ
 สามารถใช้สติปัญญาในการประกอบอาชีพได้ประสบผลสาเร็จด้ว
ยดีตาม เป้าหมาย
 มีโอกาสเพิ่มบุญกุศลให้ตนเองเป็นนิจ
 แสวงห าค วาม รู้ เพิ่ มพู น ปัญ ญ าท างโลกแ ละท างธ รรม
จะได้ไม่ต้องก่อเวร ก่อภัยกับใครทั้งสิ้น
๒. ทางกาย
 ใช้เพิ่มปัญญาในการประกอบสัมมาอาชีพ
 ใช้พัฒนาความชานาญในการทางาน
 ใช้ฝึกนิสัยมีวิริยอุตสาหะในการทางาน
 ใช้เพิ่มพูนทรัพย์ เป็นทางมาแห่งมหาสมบัติ
ห น้ า | 12
บุญ-บาป
ศีล ๕
ประกอบไปด้วย
ศีลข้อที่ ๑ : ปาณาติปาตาเวรมณี
หมายถึง การละเว้นจากการฆ่าชีวิตสัตว์ทุกชนิด
ผลกรรมเมื่อไม่ปฏิบัติ หรือผิดศีล
๑. มีปัญหาด้านสุขภาพ
๒. มีอุบัติเหตุ มีการอุปฆาตกรรม
๓. พิการ
๔. อายุสั้น ตายอย่างทุกข์ทรมาน
๕. อัปลักษณ์ มีปมด้อย
หนทางทุเลาเมื่อผิดศีล
ตั้งสัจว่าจะไม่ฆ่า หรือรังแกสัตว์ บริจาคเลือดให้สภากาชาดไทย
ถวายยาสมุนไพรให้วัด บริจาคค่ายาให้แก่โรงพยาบาล
ห น้ า | 13
ศีลข้อที่ ๒ : อทินนาทานาเวรมณี
หมายถึง การเว้นจากการลักทรัพย์หรือทรัพย์ที่เจ้าของเขาไม่ได้ให้
ผลกรรมเมื่อไม่ปฏิบัติ หรือผิดศีล
๑. ธุรกิจไม่เจริญก้าวหน้า
๒. ต้องชดใช้เงินให้ผู้อื่นอย่างไร้เหตุผล
๓. ทรัพย์หายบ่อยๆ
๔. ลูกหลานแย่งชิงสมบัติ
๕. โดนทาลายทรัพย์
๖. ตระกูลตกอับ
หนทางทุเลาเมื่อผิดศีล
ตั้งสัจว่าจะไม่ฉ้อโกง ไม่ลักทรัพย์ ไม่ทุจริต ทาบุญค่าน้า ค่าไฟให้วัด
มอบทุนให้แก่ผู้ด้อยโอกาส
ศีลข้อที่ ๓ : กาเมสุมิสฉาจาราเวรมณี
ห ม า ย ถึ ง ก า ร ล ะ เ ว้ น จ า ก ก า ร ป ร ะ พ ฤ ติ ผิ ด ใ น ก า ม
การประพฤติผิดลูกผิดเมียคนอื่น
ผลกรรมเมื่อไม่ปฏิบัติ หรือผิดศีล
ห น้ า | 14
๑. หาคู่ครองไม่ได้ อัปลักษณ์
๒. เป็นหม้าย
๓. คนรักนอกใจ
๔. ไม่มีมิตรจริงใจ
๕. มีความผิดปกติทางเพศ
๖. ต้องพลัดพรากจากคนรักก่อนวัยอันควร
๗. ท้องก่อนวัยอันควร โดนข่มขืน เสียตัวฟรี
หนทางทุเลาเมื่อผิดศีล
ตั้งสัจว่าจะไม่ทาผิดเรื่องทางเพศ ไม่ทาให้ใครเสียใจเรื่องความรัก
ไม่นอกใจ รักเดียวใจเดียว ถวายธงคู่ประดับวัด ช่วยออกค่าใช้จ่ายในงานแต่ง
ทาดีกับบุพการี
ศีลข้อที่ ๔ : มุสาวาทาเวรมณี
ห ม า ย ถึง ก า รล ะ เว้น จ าก ก าร พู ด ป ด ง ด เท็ จ พู ด จ า โก ห ก
พูดไม่อยู่กับร่องกับรอย
ผลกรรมเมื่อไม่ปฏิบัติ หรือผิดศีล
๑. ปากไม่สวย ฟันไม่สวย มีกลิ่นปาก
๒. ไม่มีคนจริงใจ
๓. อยู่ในสังคมที่ปากไม่เป็นมงคล
๔. โดนหลอกง่าย เชื่อง่าย
๕. พูดสิ่งใดไปก็ไม่มีใครเชื่อ
หนทางทุเลาเมื่อผิดศีล
ห น้ า | 15
ตั้งสัจว่าจะไม่พูดส่อเสียด เถียง ว่า หรือด่าผู้มีพ ระคุณและคนอื่น
ออกเงินค่าทาฟันให้ผู้ที่ยากจน พูดธรรมะเสมอ ไม่สาบานพร่าเพรื่อ
ศีลข้อที่ ๕ : สุราเมรยมัฌชปะมาทัตถานาเวรมณี
ห ม า ย ถึ ง
การละเว้นจากการดื่มสุราเมรัยและเครื่องดองของมืนเมาทุกชนิด
ผลกรรมเมื่อไม่ปฏิบัติ หรือผิดศีล
๑. สติปัญญาไม่ดี ขี้ลืม เรียนไม่เก่ง
๒. อยู่ในที่ที่เป็นอบายมุข
๓. หากกรรมหนักจะทาให้เป็นโรคทางปัญญา
๔. มีลูกหลานดื่มเหล้า เสพยา
๕. ขาดสติ
หนทางทุเลาเมื่อผิดศีล
ตั้งสัจว่าจะไม่ดื่ม หรือขายเหล้า หมั่นให้ทาน ให้ปัญญาวิชาความรู้
อริยสัจ ๔
มีความจริงอยู่ ๔ ประการคือ การมีอยู่ของทุกข์ เหตุแห่งทุกข์
ความดับทุกข์ และ หนทางไปสู่ความดับทุกข์ ความจริงเหล่านี้เรียกว่า
อริยสัจ ๔
๑. ทุกข์
ห น้ า | 16
คือ การมีอยู่ของทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ และตายล้วนเป็ นทุกข์ ความเศร้าโศก
ค ว า ม โ ก ร ธ ค ว า ม อิ จ ฉ า ริ ษ ย า ค ว า ม วิ ต ก กั ง ว ล
ค ว า ม ก ลั ว แ ล ะ ค ว า ม ผิ ด ห วั ง ล้ ว น เ ป็ น ทุ ก ข์
การพลัดพรากจากของที่รักก็เป็ นทุกข์ ความเกลียดก็เป็ นทุกข์ ความอยาก
ความยึดมั่นถือมั่น ความยึดติดในขันธ์ทั้ง 5 ล้วนเป็ นทุกข์
๒. สมุทัย
คือ เหตุแห่งทุกข์ เพราะอวิชา ผู้คนจึงไม่สามารถเห็นความจริงของชีวิต
พวกเขาตกอยู่ในเปลวเพ ลิงแห่งตัณหา ความโกรธ ความอิจฉาริษยา
ความเศร้าโศก ความวิตกกังวล ความกลัว และความผิดหวัง
๓. นิโรธ
คือ ความดับทุกข์ การเข้าใจความจริงของชีวิตนาไปสู่การดับความเศร้า
โศกทั้งมวล อันยังให้เกิดความสงบและความเบิกบาน
๔. มรรค
คื อ ห น ท างน าไป สู่ค วาม ดับ ทุ กข์ อัน ได้แ ก่ อริย ม รรค 8
ซึ่ ง ไ ด้ รั บ ก า ร ห ล่ อ
เลี้ยงด้วยการดารงชีวิตอย่างมีสติความมีสตินาไปสู่สมาธิและปัญญาซึ่งจะปลด
ป ล่ อ ย
ให้พ้นจากความทุกข์และความโศกเศร้าทั้งมวลอันจะนาไปสู่ความศานติและ
ค ว า ม เ บิ ก บ า น
พระพุทธองค์ได้ทรงเมตตานาทางพวกเราไปตามหนทางแห่งความรู้แจ้งนี้
ห น้ า | 17
กรรมดี-ชั่ว
การวินิจฉัยว่า สิ่งใดเป็ นกรรมดี สิ่งใดเป็ นกรรมชั่ว สิ่งใดถูก สิ่งใดผิด
สิ่งใดควรทา สิ่งใดไม่ควรทา มีหลักเกณฑ์ดังนี้คือ
๑. การกระทาที่มีเหตุมาจากกุศลมูล คือ อโลภะ อโทสะ อโมหะ
ก า ร ก ร ะ ท า นั้ น เป็ น ก ร ร ม ดี ถู ก เป็ น บุ ญ ค ว ร ท า
ถ้า มี เห ตุ ม า จ า ก อ กุ ศ ล มู ล คื อ โ ล ภ ะ โ ท ส ะ โ ม ห ะ
การกระทานั้นเป็นกรรมชั่ว ผิด เป็นบาป ไม่ควรทา
๒. การกระทาที่ไม่เป็ นไปเพื่ อเบีย ดเบีย นใค รๆ มีสุขเป็ นผ ล
ไม่ทาให้ร้อนใจภายหลัง การกระทานั้นเป็ นกรรมดี ถูก เป็ นบุญ
ควรทา ถ้าเป็ นไปเพื่อเบียดเบียนตนหรือผู้อื่น มีทุกข์เป็ นผล
หรือทาให้ร้อนใจภายหลัง การกระทานั้นเป็ นกรรมชั่ว ผิด
เป็นบาป ไม่ควรทา
๓. ก า ร ก ร ะ ท า ที่ ท า ใ ห้ กุ ศ ล ธ ร ร ม เ จ ริ ญ ขึ้ น
อกุศลธรรมเสื่อมไป การกระทานั้นเป็ นกรรมดี ถูก เป็ นบุญ ควรทา
ถ้ า ท า ใ ห้ กุ ศ ล ธ ร ร ม เ สื่ อ ม ไ ป อ กุ ศ ล ธ ร ร ม เจ ริ ญ ขึ้ น
การกระทานั้นเป็นกรรมชั่ว ผิด เป็นบาป ไม่ควรทา
การกระทาความดีที่สมบูรณ์แบบนั้น ต้องทาให้ครบวงจร คือ
ดีทั้งเหตุ ดีทั้งผล และทุกคนที่มีส่วน เกี่ยวข้องต่างได้รับผลดี เช่น
ในการปล่อยสัตว์ ผู้ปล่อยก็ได้บุญ คือ รู้สึกดีใจชื่นใจที่ตนได้ทาความดี
สัตว์ที่ถูก ปล่อยก็ดีใจที่มีชีวิตรอดพ้นจากความตาย หรือพ้นจากการจองจา
การกระทาบางอย่าง เช่น หลับในเวลาเรียน แม้จะไม่ใช่กรรมชั่ว
แต่ก็เป็ นสิ่งที่ไม่สมควร ดังนั้น นอกจากพิจารณาเหตุและผลดังกล่าวแล้ว
ก่อนจะทาอะไรลงไป ควรพิจารณาถึงสิ่งต่างๆ ดังนี้
๑. กฎห มาย การทาผิด กฎห มายย่อมไม่สมควร เช่น การ
จอดรถในที่ห้ามจอด
๒. ศี ล ก า ร ก ร ะ ท า บ า ง อ ย่ า ง เ ช่ น
การฆ่าสัตว์โดยมีอาชญาบัตรถูกต้อง แม้จะไม่ผิดกฎหมาย
แ ต่ ผิ ด ศี ล จึ ง ไ ม่ ค ว ร ท า
สาหรับคฤหัสถ์ควรรักษาศีลห้าเป็นอย่างน้อย
ห น้ า | 18
๓. ฐานะ การกระทาใด ถ้าไม่เหมาะกับเพศ วัย ความรู้ กาลัง ยศ
ตระกูล หรือ ฐานะในสังคมของตน การกระทานั้นไม่สมควร
เ ช่ น เ ป็ น ช า ย แ ต่ แ ต่ ง ก า ย เ ห มื อ น ห ญิ ง
มีรายได้น้อยแต่ชอบใช้ของแพงๆ
๔. ค าต าห นิ พ ร ะพุ ท ธ เจ้าต รัสว่า ติต น เองด้ว ย สิ่งใ ด
ไม่ควรทาสิ่งนั้น ดังนั้น การกระทาใด ถ้าตนเองตาหนิ หรือ ผู้รู้
(จักผิด ช อ บชั่ วดี ) ต าห นิ การก ระท านั้ น ไม่สม ค ว ร
ค าต าห นิ ข อ งผู้รู้เป รี ย บ เห มื อ น ล าย แ ท งขุ ม ท รัพ ย์
ผู้น ามาพิจารณ าโดย แย บค ายจะได้รับประโย ช น์ คือ
รู้ข้อบกพร่องในตัว แล้วแก้ไขเสีย
๕. กาลเวลา การกระทาที่ไม่เหมาะสมกับกาลเวลาแบ่งได้ ๔
ลักษณะ คือ
 ค ว ร จ ะ รี บ แ ต่ ก ลั บ เ ฉื่ อ ย ช า เ ช่ น
การปฐมพ ยาบาลผู้ประสบอุบัติเหตุห รือป่ วยห นัก
ต้องทาอย่างรีบด่วน ถ้าช้าอาจเกิดอันตรายถึงชีวิตได้
 ค ว ร จ ะ ช้ า แ ต่ ก ลั บ เ ร็ ว เ ช่ น
การรีบกลืนอาหารโดยไม่เคี้ยวให้ละเอียดทาให้อาหารย่
อยยาก
 ผิ ด เ ว ล า ถ้ า พู ด ไ ม่ ถู ก ก า ล เ ว ล า เ ช่ น
การพูดกับคนที่กาลังโกรธมักจะเกิดผลเสียมากกว่าผลดี
การทาผิดเวลา เช่น ซื้อควายหน้านา ซื้อผ้าหน้าหนาว
ย่อมได้ของแพง เพราะไม่วางแผนไว้ล่วงหน้า
 ผิ ด ล า ดั บ คื อ ค ว ร ท า ก่ อ น ก ลับ ท า ที ห ลั ง
ค ว ร ท า ที ห ลั ง ก ลั บ ท า ก่ อ น
อรรถกถาอาวาริยชาดกกล่าวถึงคนแจวเรือจ้างข้ามฟาก
เขาส่งผู้โดยสารข้ามแม่น้าคงคาก่อนแล้วค่อยทวงค่าจ้าง
ภ า ย ห ลั ง
การทาผิดลาดับทาให้เขาต้องทะเลาะกับผู้โดยสารที่ไม่ย
อมจ่ายค่าจ้าง เขาต้องใช้วิธีด่าและทุบตีผู้โดยสาร
จึงจะได้ค่าจ้าง ถ้าเขาใช้นโยบาย จ่ายก่อน จรทีหลัง
ซึ่ ง เ ป็ น วิ ธี ที่ ถู ก ต้ อ ง
เข าจ ะ เรี ย ก ร้อ ง ค่า จ้า งไ ด้ ม า ก ต า ม ต้ อ งก า ร
เ พ ร า ะ ผู้ โ ด ย ส า ร ที่ อ ย า ก จ ะ ข้ า ม ฟ า ก
แม้เกินราคาค่าจ้างก็ให้ได้
๖. สถานที่ การกระทาที่ไม่เหมาะกับสถานที่มี ๒ ลักษณะ คือ
สถานที่ การกระทาที่ไม่เหมาะกับสถานที่มี ๒ ลักษณะ คือ
ห น้ า | 19
 ขั ด กั บ ป ร ะ เ พ ณี อั น ดี ง า ม เ ช่ น
ก า ร แ ต่ ง ก า ย ด้ ว ย สี ฉู ด ฉ า ด ไ ป ใ น ง า น ศ พ
ค น ไท ย เราไม่นิ ย มท ากัน ท่าน จึงสอ น ว่า เข้าเมื อ ง
ตาหลิ่วต้องหลิ่วตาตาม
 ขั ด กั บ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม เ ช่ น
การสวมเสื้อผ้าสีดาหรือสีที่มืดทึบในขณะที่อากาศร้อนเป็ นสิ่งที่
ไ ม่ เ ห ม า ะ ส ม
เพ ราะสีดาจะดูด ความร้อนได้ดีทาให้ร่างกายร้อนมาก
เมื่อกลางปี ๒๕๓๘ ในสหรัฐอเมริกา อากาศร้อนจัดมาก
มีผู้เสียชีวิตเกือบพันคนเพราะปรับตัวให้เข้ากับอากาศที่ร้อนจั
ดไม่ได้
 อนึ่ง การอยู่ในถิ่นที่มีมลพิษมาก ห่างไกลจากที่ทางาน
ไกลจ ากวัด มี แ ห ล่งอ บ าย มุ ข ม าก เป็ น สิ่งที่ ไ ม่ค ว ร
เพราะเป็นอันตรายแก่สุขภาพและไม่สะดวกในการประกอบอา
ชีพและการปฏิบัติธรรม
ความพ อดี การกระทาที่ไม่พ อดี คือ ทายังไม่ถึงดีหรือทาเลย ดี
ทาให้ผลที่ออกมาไม่ดี เช่น การหุง ข้าวนานจนเลยความพอดี ย่อมได้ข้าวไหม้
ถ้าหุงยังไม่ถึงจุดที่พอดี ก็เลิกหุงเสียก่อน ข้าวก็สุกๆ ดิบๆ
กรรมดี
คือการทาความดีประเภทต่างๆ ไม่ใช่แค่ว่าเป็ นการทาบุญ ทาทาน
ส ว ด ม น ต์ ไ ห ว้ พ ร ะ นั่ ง ส ม า ธิ ภ า ว น า แ ค่ นั้ น
แต่เป็ นการทาความดีซึ่งเกิดขึ้นมาเพราะต้องการเห็นผู้อื่นพ้นทุกข์หรือการช่ว
ย เห ลื อ โ ด ย ไ ม่ ห วัง สิ่ ง ใ ด ต อ บ แ ท น เพี ย ง แ ค่ อ ยู่ เ ฉ ย ๆ
ไม่อาฆาตพ ยาบาทก็เป็ นการสร้างกรรมดีแล้ว หรือแม้แต่คนที่มีศัต รู
หรือคู่อาฆาต
ห รือค น ที่ เค้าท าให้เราเจ็ บช้ า แ ต่เราไม่ อาฆ าต เค้า เร าให้อ ภัย
และอโหสิกรรมให้ สิ่งเหล่านี้ก็ล้วนแต่เป็นการสร้างกรรมดี
กรรมดีครอบคลุมถึงอะไรบ้าง?
ห น้ า | 20
 การเปลี่ยนน้าหน้าพระ ทาความสะอาดหิ้งพระ
 การดูแลบุพการี การเลี้ยงดูบุตรตามหน้าที่ และกาลังความสามารถ
 การทาหน้าที่เป็นคนในสังคมที่ดี
ไม่จาเป็ นต้องเป็ นการส วด มนต์ การไห ว้พ ระ ห รือการนั่ งสมาธิ
แ ต่ ก า ร ส ว ด ม น ต์ ห รื อ ก า ร นั่ ง ส ม า ธิ เป็ น ก า ร ท า บุ ญ ขั้ น สู ง
เป็ น การท าบุ ญ ที่ เราเรีย กกัน ว่า "ปฏิบัติบูช า" ไม่ต้องใช้ เงิน ต รา
แค่พาสังขารนี้ไปนมัสการ พระรัตนตรัย และสิ่งที่เราได้รับกลับมาก็คือ "สติ
และปัญญา"
กรรมดีมีมากมาย เพี ย งแต่เราไม่คิด ร้ายกับผู้อื่น ไม่อิจฉาริษย า
ไม่อยากได้ในสมบัติของผู้อื่น ไม่นอกใจ นอกใจคู่สมรส ไม่โกหก ปลิ้นปล้อน
กะล่อน หรือไม่ยุ่งเกี่ย วกับอบายมุขทั้งปวง สิ่งเหล่านี้ล้วนครอบค ลุม
กิจวัตรประจาวันของเราหลายๆ ได้
กรรมดีไม่จาเป็ นต้องเข้าวัด ขอแค่เพียงทาความเข้าใจกับธรรมะเพราะ
" ธ ร ร ม ะ คื อ ธ ร ร ม ช า ติ " ไ ม่ ใ ช่ ก า ร ฝื น ธ ร ร ม ช า ติ
ห รื อฝื น ก ารเป็ น ตัว เรา ท าอ ะไร ที่ เป็ น ป ก ติ แ ล ะไม่ล ะเมิด ผู้อื่ น
เท่านี้ก็เป็นการสร้างกรรมดีแล้ว
เกณฑ์ตัดสินว่ากรรมใดเป็ นกรรมดี มีชื่อทางธรรมว่า " กุศลกรรมบถ ๑๐ "
ประกอบด้วยเกณฑ์ ๓ ทาง คือ ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ดังนี้
๑. กายกรรม ๓ ประการ
 ไม่ฆ่าหรือทาลายชีวิตผู้อื่น
 ไม่ลักขโมย หรือยึดเอาทรัพย์ของผู้อื่นมาเป็นของตน
 ไม่ประพฤติผิดในกาม
๒. วจีกรรม ๔ ประการ
 ไม่พูดเท็จ
 ไม่พูดส่อเสียด
 ไม่พูดคาหยาบคาย
 ไม่พูดเพ้อเจ้อ
๓. มโนกรรม ๓ ประการ
 ไม่โลภอยากได้ของคนอื่น
 ไม่คิดพยาบาทปองร้ายผู้อื่น
 เห็นชอบตามคลองธรรม
ห น้ า | 21
กรรมชั่ว
กรรมชั่วมีมากมายหลายอย่าง แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงทุจริต ๓ ชนิด รวม
๑๐ อย่าง คือ
๑. กายทุจริต ได้แก่ ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม
๒. วจีทุจริต ได้แก่ พูดเท็จ พูดคาหยาบ พูดส่อเสียด พูดเพ้อเจ้อ
๓. มโนทุจริต ได้แก่ อยากได้ของเขาในทางไม่ชอบ ปองร้ายเขา
มีความเห็นผิด (เช่น ทานไม่มีผล กรรม ดีกรรมชั่วไม่มีผล นรกสวรรค์ไม่มี
พ่อแม่ไม่มีบุญคุณ)
เมื่ อ แ บ่ ง ย่ อ ย อ อ ก ไ ป อี ก คื อ ฆ่ า สั ต ว์ ด้ ว ย ต น เอ ง
ชักชวนผู้อื่นในการฆ่าสัตว์ พอใจในการฆ่าสัตว์ กล่าวสรรเสริญการฆ่าสัตว์
กล่าวสรรเสริญความเห็นผิด รวม ๔๐ เรียกว่า อกุศลกรรมบถ ๔๐ อันได้แก่
๑. ทาร้ายสิ่งมีชีวิต ฆ่าสัตว์
๒. ขโมย ลักทรัพย์ ฉ้อโกง
๓. ประพฤติผิดในกาม
๔. โกหก หลอกลวง
๕. พูดส่อเสียด ดูถูก
๖. พูดหยาบ
๗. พูดเพ้อเจ้อ นินทา
๘. เพ่งเล็งอยากได้ของเขา
๙. คิดร้ายผู้อื่น ผูกพยาบาท
๑๐. เห็นผิดจากความจริง เห็นกงจักรเป็นดอกบัว
ห น้ า | 22
ก ร ร ม ชั่ ว ย่ อ ม น า ไ ป สู่ คุ ก ต ะ ร า ง ห รื อ น ร ก ค ว ร เว้น เสี ย
และควรเว้นอบายมุขซึ่งเป็ นเหตุให้ฉิบหาย เช่น น้าเมา การพนัน คนชั่ว
ความเกียจคร้าน เป็นต้น
วันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙
ตารางกิจกรรม
เวลา กิจกรรมที่ต้องทา
๐๕.๐๐ น. ตื่นนอน
๐๕.๓๐ น. ทาวัตรเช้า
๐๖.๓๐ น. ออกกาลังกายตอนเช้า
๐๗.๓๐ น. รับประทานอาหารเช้า
๐๘.๐๐ น. ใส่บาตร
๐๙.๐๐ น. พักเบรก
๑๐.๐๐ น. ฟังเทศน์
๑๑.๓๐ น. รับประทานอาหารเที่ยง และเก็บสัมภาระ
ห น้ า | 23
๑๓.๐๐ น. ทากิจกรรมนันทนาการ
๑๖.๐๐ น. ออกเดินทางกลับ
สิ่งที่ได้เรียนรู้
นรก-สวรรค์
พระพุทธศาสนา พูดเรื่องนี้ไว้เป็น ๓ ระดับ
ระดับที่ ๑. นรก-สวรรค์ ภายหลังการตาย
สาหรับประเด็นนี้ตามพระไตรปิฎก เมื่อตีความตามตัวอักษรแล้ว
ก็ ต้ อ ง บ อ ก ว่ า มี วิ ธี ล ง โ ท ษ ใ น น ร ก ด้ ว ย ป ร ะ ก า ร ต่ า ง ๆ
มีในพาลบัณฑิตสูตรและเทวทูตสูตร โดยมากพูดถึงนรกไม่ค่อยพูดถึงสวรรค์
นอกจากนี้ยังมีบางแห่งพูดถึงอายุเทวดาในชั้นต่างๆ เช่น ชั้นจาตุมหาราช
หรือชั้นโลกบาล ๔ ชั้นดาวดึงส์ ชั้นยามา ชั้นดุสิต ชั้นนิมมานรดี และ
ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี ยังมีอายุมนุษย์ ถึงรูปพรหม แสดงไว้ในฝ่ายพระอภิธรรม
ระดับที่ ๒. นรก-สวรรค์ ที่อยู่ในใจ
"ส ว ร ร ค์ ใ น อ ก น ร ก ใน ใ จ" เป็ น เรื่ อ ง ที่ มี ใน ช าตินี้ น รก -
สวรรค์แม้ในชาติหน้า มันก็สืบไปจากที่มีในชาตินี้ระดับจิตของเราอยู่แค่ไหน
เวลาต าย โด ยทั่วไปถ้าไม่ใช่กรณี ย กเว้น มันก็อยู่ในระดับนั้นแห ละ
ส่ ว น ใ น ก ร ณี ย ก เ ว้ น ถ้ า เ ว ล า ต า ย นึ ก ถึ ง อ า ร ม ณ์ ที่ ดี
เช่นทากรรมชั่วมามากแต่เวลาตายนึกถึงสิ่งที่ดี ก็ไปเกิดดีได้ ถ้าหากเวลาอยู่
ทากรรมดีแต่เวลาตายเกิดจิตเศร้าหมองระดับจิตก็จะตกลงไปได้เกิดในที่ต่า"
ห น้ า | 24
ระดับที่ ๓. นรก-สวรรค์ แต่ละขณะจิต
ต า ม ห ลัก วิ ช า ก า ร คื อ ก า ร ที่ เร า ป รุ ง แ ต่ ง ส ร้ า ง น ร ก -
สวรรค์ของเราเองตลอดเวลาในชีวิตประจาวัน คือปรุงแต่งด้วยกิเลส มีความดี
ความชั่ว มีกุศล อกุศลในจิตของเราเอง หากว่าจิตใจของเรามีภูมิธรรมดี
สร้างกุศ ลไว้มาก ทาจิต ใจให้อิ่มเอิบ เป็ น สุข พ ย าย ามมองในแง่ดี
ก็รับอารมณ์ที่เป็นสุขไว้ได้มาก
ปัจจุบันที่เป็ นอยู่ กลาย เป็ นเรื่องที่เราค วรจะเอาใจใส่มากกว่า
เป็ น เ รื่ อ ง ส า คั ญ ม า ก เพ ร า ะ เ ร า ไ ด้ รับ ผ ล อ ยู่ ต ล อ ด เ ว ล า
ฉ ะ นั้ น ท่ า น จึ ง ใ ห้ เ อ า ใ จ ใ ส่ น ร ก -
สวรรค์ที่มีอยู่ตลอดเวลาที่เราปรุงแต่งอยู่เรื่อยๆนั้นจะสอนให้เรายกระดับจิตขึ้น
ไป ก ารมีปัญ ญ ารู้เท่าทันสิ่งต่างๆ ท าให้เราเข้าใจโลกแ ละชี วิต ดี
ทาให้วางท่าทีต่อสิ่งทั้งหลายถูกต้อง ในกรณี อย่างนี้ท่านว่า มันพ้นเลย
ห น้ า | 25
จากเรื่องนรก-สวรรค์ไปแล้ว คือมีจิตใจปลอดโปร่ง แจ่มใสตลอดเวลา
มีความสบายทันตาในปัจจุบัน ไม่ต้องพูดถึงข้างหน้า"
ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก ( ม ห า ป ริ ฬ า ห น ร ก ) บ อ ก ว่า น ร ก -
สวรรค์ที่ว่านั้ นไม่สาคัญ เท่านรก-สวรรค์ ที่เราได้รับอยู่ในปัจจุบัน
ที่เราปรุงแต่งด้วยอายตนะทั้ง ๖ โดยพื้นจิตของเราสร้างขึ้นมา
การสร้างนรก-สวรรค์ใหญ่ๆ มันก็มาจากสร้างเล็กๆ น้อยๆ นี้เอง
สร้างจิตใจของเราให้ดี ทาอารมณ์ให้ดี ค่อยเป็นค่อยไป
ท่าทีของพุทธศาสนาต่อเรื่อง นรก-สวรรค์
ก า ร ว า ง ท่ า ที เป็ น หั ว ข้ อ ที่ อ า ต ม า บ อ ก แ ล้ ว ว่ า ส า คั ญ
ก า ร ว า ง ท่ า ที ส า คั ญ ก ว่ า ค ว า ม มี จ ริ ง ห รื อ ไ ม่
แต่มันจะไปเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับนรก-สวรรค์ระดับที่ ๓
ท่าทีที่ ๑ ต้องมีศรัทธา
พุทธศาสนานั้น บอกว่าให้เชื่ออย่างมีเหตุผล สาหรับสิ่งที่พิสูจน์ไม่ได้
ใน เมื่ อ จะ ต้อง เอาท าง "ศ รัท ธ า" ก็ ให้ ได้ห ลัก ก่อ น ศ รัท ธ า คื อ
ก า ร ไ ว้ ว า ง ใ จ ใ น ปั ญ ญ า ข อ ง ผู้ อื่ น
ห รื อ พู ด ใ น แ ง่ ห นึ่ ง คื อ เ ร า ฝ า ก ปั ญ ญ า ไ ว้ กั บ ค น อื่ น
การที่จะวางใจปัญญาของผู้อื่นได้ต้องพิจารณาในขั้นแรกที่ "ตัวปัญญา" นั้น
เราคิดว่าสิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสมานั้น เท่าที่เรามองเห็น ก็เป็ นความจริง
เราจึงเห็นว่าพระองค์มีปัญญาพอที่เราจะฝากปัญญาของเราไว้กับท่านได้
เราจึงเกิด ศ รัทธ าขึ้นเป็ นขั้นแรก ขั้นที่สอง คือ "ความปรารถนาดี"
พระพุ ทธเจ้ามีความปรารถนาดี มีเมตตากรุณา สอนเราด้วยใจบริสุทธิ์
พระองค์สอนเรื่อง นรก-สวรรค์ว่าชาติหน้ามีจริงหรือเปล่า ถ้าเรามีศรัทธา
เราก็น้อมไปทางเชื่อ เรื่องก็เป็นอย่างนั้น
ท่าทีที่ ๒ ถือตามเหตุผล
เป็ นท่าทีที่ "ยังไม่มีศ รัทธ า" พ ระพุ ทธเจ้าได้ต รัสกาลามสูต ร
และได้ย ก ตัวอย่ างซึ่ งมาเข้าเรื่องน รก-ส วรรค์ กรรม ดี-กรรม ชั่ ว
ท ร งส อ น ให้ พิ จ าร ณ า ใน ปัจ จุ บัน นี้ ว่า สิ่งที่ ดี งาม สิ่งที่ เป็ น กุ ศ ล
ทาแล้วมันเกื้อกูลแก่ชีวิตของตนเองในปัจจุบันไหม มันดีแก่ตัวเราไหม
ดีต่อผู้อื่นไห ม ทาแล้วถ้านรก-สวรรค์มีจริง เราก็ไม่ต้องไปต กนรก
ได้ไปสวรรค์ สรุปในแง่นี้ได้ว่า ถึงแม้ไม่ต้องใช้ศรัทธา เอาตามเหตุผล
ก็ควรทากรรมดี ละเว้นกรรมชั่ว นี้เป็นแนวทางกาลามสูตร
ห น้ า | 26
ท่าทีที่ ๓ มั่นใจตน -ไม่อ้อนวอน
ใน ทางพุ ท ธ ศ าสน า ค น ทาดี ไม่ต้องอ้อนวอน ข อ ไป สวรรค์
เพ ราะมัน เป็ น ไปต ามกฎธ รรมด า เพี ยงแต่รู้ไว้ แ ละมั่นใจเท่านั้ น
พุทธศาสนิกชนเรามีความรู้ไว้สาหรับให้เกิดความมั่นใจตนเอง
ท่าทีที่ ๔ ไม่หวังผลตอบแทน
พุทธศาสนาสอนต่อไปอีกระดับหนึ่งว่าถ้าเรายังทาดีเพราะหวังผลอยู่ก็เรี
ย ก ว่ า เ ป็ น โ ล กี ย ปุ ถุ ช น
คนของพุทธศาสนาที่แท้จริงต้องเป็ นคนทาความดีโดยไม่ต้องห่วงผ ล
เมื่ อ เร า ท า จิต ข อ ง เร า ใ ห้ ป ร ะ ณี ต ขึ้ น พ อ มัน ล ะเอี ย ด อ่ อ น ขึ้ น
สิ่งที่กระทาไว้แม้เป็นเรื่องเล็กน้อย มันก็ปรากฏผลได้ง่าย
สวรรค์
ส ว ร ร ค์ คื อ ภู มิ อั น เ ป็ น ที่ อ ยู่ ข อ ง เ ท ว ด า
เ ป็ น โ ล ก ที่ อ ยู่ อ า ศั ย ข อ ง ก า ย ล ะ เ อี ย ด อั น เ ป็ น ทิ พ ย์
ที่มีรัศมีสว่างไสวรอบกายตลอดเวลา มีทั้งหมด ๖ ชั้น
เ ห ตุ ที่ ท า ใ ห้ ม า เ กิ ด เ ป็ น เ ท ว ด า
เ พ ร า ะ ไ ด้ ส ร้ า ง บุ ญ กุ ศ ล ไ ว้ เ มื่ อ ค รั้ ง ยั ง เ ป็ น ม นุ ษ ย์
เมื่ออุบัติขึ้นก็ตั้งอยู่ในวัยหนุ่มสาวทันที งดงามตลอดเวลา จนกว่าจะถึงเวลาจุติ
ไม่มีความแก่บังเกิดขึ้นเหมือนในเมืองมนุษย์
วิมานปราสาท คือ ที่อยู่อาศัยของเทวดา ล้วนมีความวิจิตรงดงาม
มีขนาดแตกต่างกัน มีความเป็ นอยู่สะดวกสบาย มีอาหารทิพย์บังเกิดขึ้น
มีบริวารคอยรับใช้ใกล้ชิด เสื้อผ้าเป็ นทิพย์ วิจิตรงดงาม บังเกิดขึ้นให้สวมใส่
กิจกรรมแต่ละวันก็มีการเที่ยวเพลิดเพลินบันเทิงอยู่กับการชมสวน
การสังสรรค์กัน ระห ว่างทวย เทพ ทั้งห ลาย ส่วนจะอุบัติขึ้น ณ
สวรรค์ชั้น ไห น เป็ น เทวด าประเภทใด และอยู่ใน ฐาน ะอะไรนั้ น
ก็ ขึ้ น อ ยู่ กั บ บุ ญ ที่ ตั ว เอ ง สั่ ง ส ม ม า เ มื่ อ ค รั้ ง ยั ง เ ป็ น ม นุ ษ ย์
ซึ่งได้มีกล่าวไว้ในพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๗ เรื่อง ทานสูตร สรุปย่อได้ดังนี้
เกิ ด บ น ส ว ร ร ค์ ชั้ น จ า ตุ ม ห า ร า ชิ ก า มี จ า ก ห ล า ย ส า เห ตุ
คือเมื่อครั้งเป็นมนุษย์ทาบุญไม่ค่อยเป็นไม่รู้หลักการทาบุญและไม่ค่อยได้สั่งส
ม บุ ญ น า น ๆ ท าค รั้งห นึ่ ง เมื่ อ ท า ก็ ท าน้ อ ย ห รื อ ท าบุ ญ เอ า คุ ณ
บุ ญ ที่ ไ ด้ ก็ ไ ม่ บ ริ สุ ท ธิ์ ไ ม่ ส ม บู ร ณ์
บาปในตัวก็มีอยู่แต่ว่าบุญมากกว่าเมื่อละโลกใจนึกถึงบุญก่อนก็ไปสวรรค์ชั้นนี้
ซึ่งตั้งอยู่ ณ เชิงเขาสิเนรุ
ส ว ร ร ค์ ชั้ น นี้ จ ะ มี ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ม า ก ที่ สุ ด
เพ ร า ะ อ ยู่ ใ ก ล้ ชิ ด กับ พื้ น ม นุ ษ ย์ ม า ก ก ว่ า ส ว ร ร ค์ ชั้ น อื่ น ๆ
ห น้ า | 27
และมีบางส่วนที่มีที่อยู่ซ้อนกับภูมิมนุษย์ ที่ได้ชื่อ สวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา
เพราะมีเทพผู้เป็นใหญ่ครองสวรรค์ชั้นนี้อยู่ ๔ พระองค์ คือ
ท้าวธตรฐ ปกครองเทวดา ๓ พวก ได้แก่ คนธรรพ์ วิทยาธร กุมภัณฑ์
ท้าววิรุฬหก ปกครองพวกครุฑ
ท้าววิรูปักษ์ ปกครองพวกนาค
ท้าวเวสสุวรรณ ปกครองพวกยักษ์
เกิดบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
คื อ เมื่ อ ค รั้งเป็ น ม นุ ษ ย์ ท าบุ ญ เพ ร าะเห็ น ว่าเป็ น สิ่ง ดี งา ม
เป็ นสิ่งที่ควรทากระทาแล้วก็สั่งสมบุญ สั่งสมเทวธรรม มีหิริโอตตัปปะด้วย
เมื่อละโลกก็จะไปบังเกิดบนสวรรค์ชั้นนี้ซึ่งตั้งอยู่ที่หน้าตัดของเขาสิเนรุที่ชื่อว่า
ดาวดึงส์ เพ ราะเป็ นที่อยู่ของเทพ ผู้ปกครองภพ ถึง ๓ ๓ องค์ โด ย มี
ท้าวสักกเทวราช หรือ พระอินทร์เป็นประธานและที่สาคัญมีพระธาตุจุฬามณี
ซึ่งทุกวันพระเทวดาจะมาประชุมกันที่สุธรรมาเทวสภาเพื่อรับฟังโอวาทจากท้า
วสักกะ
เกิดบนสวรรค์ชั้นยามา
คื อ เมื่ อ ค รั้ง เป็ น ม นุ ษ ย์ ท า บุ ญ เพ ร า ะ อ ย า ก จ ะ สื บ ท อ ด
แ ล ะ รั ก ษ า ป ร ะ เ พ ณี แ ห่ ง ค ว า ม ดี ง า ม นั้ น ไ ว้
ทานองว่าวงศ์ตระกูลสร้างสมความดีมาอย่างไร ก็อยากจะรักษาประเพณีไว้
หรือผู้หลักผู้ใหญ่สอนอย่างไร บรรพ บุรุษทามาอย่างไรก็ทาอย่างนั้น
ทากันไปตามธรรมเนียม เช่น เห็นปู่ย่าสร้างโบสถ์ บารุงวัด สร้างพระประธาน
ก็ท าต ามนั้ น ด้วย ห รื อพ ระภิกษุ ที่ รัก ษ าพ ระพุ ท ธ ศ าส น าเอาไ ว้
ตามธรรมเนียมปฏิบัติ ที่พระต้องมีหน้าที่รักษาพระพุทธศาสนา เมื่อละโลกแล้ว
ส่วนใหญ่จะไปบังเกิดบนสวรรค์ชั้นนี้ ซึ่งตั้งอยู่สูงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ขึ้นไป
เกิดบนสวรรค์ชั้นดุสิต
หรือในโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยาเรียกกันว่า ดุสิต บุรี คือ
เมื่ อ ค รั้ง ยัง เป็ น ม นุ ษ ย์ ท า บุ ญ เพื่ อ ป ร า ร ถ น า ส ง เค ร าะ ห์ โล ก
ป ร า ร ถ น า ใ ห้ ช า ว โ ล ก มี ค ว า ม สุ ข มี ค ว า ม คิ ด ที่ ยิ่ ง ใ ห ญ่
ไม่ใช่ เพื่ อต นเองอย่ างเดี ย ว แต่เพื่ อส งเค ราะห์ โลก เพื่ อน มนุ ษ ย์
และสรรพ สัต ว์ทั้งห ลาย ด้วย เมื่อ ละโลกแ ล้วก็จะไป สวรรค์ ชั้ น นี้
ซึ่งตั้งอยู่สูงถัดจากสวรรค์ชั้นยามาขึ้นไป
เกิดบนสวรรค์ชั้นนิมมานรดี
เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4

More Related Content

What's hot

เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์Tongsamut vorasan
 
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3niralai
 
บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่niralai
 
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่5
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่5บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่5
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่5niralai
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)niralai
 
สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์Nattapong Manlee
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2niralai
 
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )niralai
 
กลอนเทียนปัญญา
กลอนเทียนปัญญากลอนเทียนปัญญา
กลอนเทียนปัญญาniralai
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญาTongsamut vorasan
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2niralai
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1niralai
 
Why not the best? draft 2.0-29-9-59
Why not the best? draft 2.0-29-9-59Why not the best? draft 2.0-29-9-59
Why not the best? draft 2.0-29-9-59Pramook Boothsamarn
 
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสWat Thai Washington, D.C.
 
5 youngawakening leader camps words
5 youngawakening leader camps words5 youngawakening leader camps words
5 youngawakening leader camps wordsAnurak Menrum
 

What's hot (20)

เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 
ทุกศาสนา
ทุกศาสนาทุกศาสนา
ทุกศาสนา
 
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
 
บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่
 
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่5
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่5บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่5
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่5
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
 
สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
 
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )
 
ธรรมดาของตาเห็นธรรม
ธรรมดาของตาเห็นธรรมธรรมดาของตาเห็นธรรม
ธรรมดาของตาเห็นธรรม
 
กลอนเทียนปัญญา
กลอนเทียนปัญญากลอนเทียนปัญญา
กลอนเทียนปัญญา
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
Why not the best? draft 2.0-29-9-59
Why not the best? draft 2.0-29-9-59Why not the best? draft 2.0-29-9-59
Why not the best? draft 2.0-29-9-59
 
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
 
5 youngawakening leader camps words
5 youngawakening leader camps words5 youngawakening leader camps words
5 youngawakening leader camps words
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 

Similar to เข้าค่ายม.4

โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมtassanee chaicharoen
 
Portfolio faculty of forestry
Portfolio faculty of forestryPortfolio faculty of forestry
Portfolio faculty of forestryjungkookjin
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2duenka
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรniralai
 
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่niralai
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารguestf16531
 
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัว
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัวโครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัว
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัวffhantr
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕niralai
 
นิว.Pdf
นิว.Pdfนิว.Pdf
นิว.PdfAwantee
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมniralai
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมniralai
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงามธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงามAmnuay Nantananont
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารkrubuatoom
 
ครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้ว
ครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้วครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้ว
ครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้วครู เอี้ยง
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการaaesahasmat
 

Similar to เข้าค่ายม.4 (20)

Com final
Com finalCom final
Com final
 
Com final
Com finalCom final
Com final
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
Portfolio faculty of forestry
Portfolio faculty of forestryPortfolio faculty of forestry
Portfolio faculty of forestry
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
 
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัว
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัวโครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัว
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัว
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕
 
นิว.Pdf
นิว.Pdfนิว.Pdf
นิว.Pdf
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคม
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงามธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
 
ครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้ว
ครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้วครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้ว
ครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้ว
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 
Administration4 M
Administration4 MAdministration4 M
Administration4 M
 

เข้าค่ายม.4

  • 1. การเข้าค่ายคุณธรรมของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนสันทรายวิทยาคม อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา๒๕๕๙ จัดทาโดย นายศรัณย์ จันทร์แดง ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔/๑ เลขที่ ๑๔ นางสาวรัญชิดา กิ่งมณี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔/๑ เลขที่ ๑๕ นางสาวพิมพ์มาดา ไทยใหญ่ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔/๑ เลขที่ ๔๑ เสนอ คุณครูพวงทอง อยรังสกฤษฎ์กูล โรงเรียนสันทรายวิทยาคม อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๙
  • 2.
  • 3. ห น้ า | ก คานา รายงานเรื่อง การเข้าค่ายคุณธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔ โรงเรีย น สัน ท ร าย วิท ย าค ม อาเภ อสัน ท ราย จังห วัด เชี ย งให ม่ ปี การศึกษา๒๕๕๙ เล่มนี้ เปรียบเสมือนส่วนหนึ่งของการเข้าค่ายคุณธรรม ในระดับชั้นม.๔ โรงเรีย นสันทราย วิทยาค ม ปี การศึกษา ๒๕๕ ๙ เ นื่ อ ง จ า ก ผู้ จั ด ท า มี ธุ ร ะ ส่ ว น ตั ว ท า ใ ห้ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ม า ร่ ว ม ท า กิ จ ก ร ร ม กั บ เ พื่ อ น ๆ ไ ด้ จึงตั้งใจและร่วมกันจัดทารายงานเล่มนี้ขึ้นเพื่อศึกษาและหาความรู้ที่เพื่อนๆได้ ไปรับมาจากการทากิจกรรม โด ยเนื้อเรื่องจะกล่าวถึงตารางกิจกรรม และค วามรู้ทุกๆอย่างข องเพื่ อนที่ ได้ไป ร่วมท ากิจกรรมในค รั้งนี้ จึงหวังแต่เพียงว่ารายงานเล่มนี้จะสร้างประโยชน์ให้แก่ผู้ที่สนใจได้ไม่มากก็น้ อย หากผิดพลาด ณ ประการใด ทางคณะผู้จัดทาก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 4. ห น้ า | ข สารบัญ หน้า คานา ก สารบัญ ข ที่มาการเข้าค่ายคุณธรรม ๑ หลักการและเหตุผลของการเข้าค่ายคุณธรรม ๑ วัตถุประสงค์ของการเข้าค่ายคุณธรรม ๒ กลุ่มเป้าหมาย ๒ ขอบเขตโครงการ ๒ สถานที่และระยะเวลาในการอบรม ๒ การ เข้า ค่าย คุ ณ ธ ร รม ข อ งนัก เรี ย น ชั้ น มัธ ย ม ศึก ษ าปี ที่ ๔ โรงเรียนสันทรายวิทยาคม ๓ วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ๓ ตารางกิจกรรม ๓ สิ่งที่ได้เรียนรู้ ๓ ๕ ห้องชีวิต เนรมิตนิสัย ๓ บุญ-บาป ๑๑ วันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ๒๑ ตารางกิจกรรม ๑๖ สิ่งที่ได้เรียนรู้ ๑๖ นรก-สวรรค์ ๑๖ บรรณานุกรม ๒๕
  • 5.
  • 6. ห น้ า | 1 ที่มาการเข้าค่ายคุณธรรม หลักการและเหตุผลของการเข้าค่ายคุณธรรม เนื่องจากสังคมไทยในปัจจุบันมีความเจริญทางด้านวัตถุกับความเจริญท า ง ด้ า น จิ ต ใ จ ไ ม่ ส ม ดุ ล กั น แ ล ะ เ ห ลื่ อ ม ล้ า ต่ อ กั น จึง ท าใ ห้ สังค ม ไ ท ย เป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป จ า ก เดิ ม อ ย่ า งเห็ น ไ ด้ ชั ด ก ล่า ว คื อ แ ต่ก่ อ น สังค ม ไ ท ย เร ามี ค ว าม เป็ น อ ยู่ อ ย่ า งเรี ย บ ง่า ย มี จิ ต ใ จ โ อ บ อ้ อ ม อ า รี เ ปี่ ย ม ด้ ว ย คุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร ร ม มีความเป็ นอยู่แบบสังคมพอเพียง คือพอกินพอใช้ มีความเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ เห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกันแต่ในปัจจุบันสังคมไทยกาลังหันไปหาค่านิยมสมัย ใ ห ม่ ที่ ผิ ด ๆ มี นิ สั ย ช อ บ ฟุ้ ง เ ฟ้ อ ห รู ห ร า ยึด ติด อ ยู่ กับ บ ริโภ ค นิ ย ม แ ล ะวัต ถุ นิ ย ม เห็ น แ ก่ตัวกัน ม าก ขึ้ น การพัฒนาทางด้านวัตถุดูเหมือนว่าจะได้รับการส่งเสริมอย่างจริงจังแต่การพัฒ น า ท า ง ด้ า น จิ ต ใ จ ก ลั บ ถู ก ล ะ เ ล ย จึงทาให้ปัญหาต่างๆในสังคมไทยเกิดขึ้นซึ่งนับวันจะทวีคูณและรุนแรงมากยิ่ง ขึ้นเรื่อยๆ อนึ่งเนื่องด้วยสังคมในสมัยปัจจุบันซึ่งเป็ นสังคมแห่งยุคเทคโนโลยี ความทันสมัยและสิ่งยั่วยวนใจชวนให้หลงใหลทาให้คนสมัยนี้อยากลอง อยากรู้ อ ย า ก ดู อ ย า ก เ ห็ น อยากทาและอยากเป็ นโดยไม่ได้คานึงถึงเรื่องความปลอดภัยของตัวเอง อี ก ทั้ ง ยั ง ข า ด ค ว า ม คิ ด ความใคร่ครวญให้ดีในการตัดสินใจที่จะกระทาการอะไรลงไป เด็กวัยรุ่นหรือเยาวชนซึ่งเปรียบเสมือนเป็นอนาคตของชาติเปรียบเ ห มื อ น ค น ที่ ก า ลั ง ไ ม่ รู้ ท า ง ที่ จ ะ เ ดิ น ไ ป เมื่อมีใครแนะนาให้ทาสิ่งใดก็จะทาสิ่งนั้นโดยในบางทีหาได้รู้ไม่ว่าสิ่งที่เขาได้ ท า ล ง ไ ป นั้ น ถู ก กั บ ก ฎ ห ม า ย บ้ า น เ มื อ ง กฎจารีตประเพ ณี อันดีงามของบ้านเมืองถิ่นนั้นห รือไม่ ย กตัวอย่าง เยาวชนในสมัยนี้จะมีความเป็ นตัวของตัวเองสูง และจะคิดว่าตัวเองโตแล้ว มี ค ว า ม คิ ด เ ป็ น ตั ว ข อ ง ตั ว เ อ ง แต่เข าห ารู้ไม่ว่าค วามคิด เห็น ข องเข านั้นบ างเรื่องมีข้อผิด พ ลาด โดยส่วนมากจะมีแรงบันดาลใจจากเพื่อนซึ่งในระดับเยาวชนชั้นกลางหรือ ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ซึ่ ง จั ด อ ยู่ ใ น วั ย หั ว เ ลี้ ย ว หั ว ต่ อ การที่จะไปจ้าจี้จ้าไชมากเกินไปจะทาให้พวกเขายิ่งคิดว่าไม่เข้าใจในตัวพวกเข า เ อ ง จ น ก ล า ย เ ป็ น ก า ร ยิ่ ง ห้ า ม เ ห มื อ น ยิ่ ง ยุ แต่ถ้าตามใจมากเกินไปก็จะเป็นการปล่อยให้หลงผิดโดยที่ตัวเขาเองคิดว่าทาถู กต้องแล้ว ปัญหาที่พบมากที่สุดในปัจจุบันนั้นส่วนมากเกิดจากสาเหตุคือคนข า ด ศี ล ธ ร ร ม แ ล ะ จ ริ ย ธ ร ร ม ใ น สั ง ค ม
  • 7. ห น้ า | 2 โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหายาเสพติดให้โทษอย่างเช่นยาบ้า กัญชา สุรา ย า อี เ ป็ น ต้ น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ได้กลายเป็ นปัญหาหลักของสังคมและประเทศชาติอยู่ในปัจจุบันนี้ โดยได้แพร่กระจายมากในหมู่เยาวชนของชาติ ทั้งในชุมชนเมืองและตามต่าง จังห วัด ซึ่ งใน วัยอย ากรู้และอย ากลองนี้ เป็ นเรื่องที่อันต รายที่ สุด พวกเราในฐานะที่เป็ นผู้ใหญ่หารู้ไม่ว่าเยาวชนเหล่านี้ ใค รเป็ นอย่างไร แต่เพื่อเป็นการป้ องกันให้เยาวชนเหล่านี้ห่างไกลจากอบายมุขและสิ่งเสพติดทั้ง ม ว ล จึงเป็ นหน้าที่ของทุกฝ่ายที่จะกระทาตัวเป็ นผู้บอกทางเดินให้เยาวชนได้รู้จักโท ษของสิ่งไม่ดีเหล่านั้น กี ฬ า กิ จ ก ร ร ม บั น เทิ ง ต่ า ง ๆ แ ล ะ ก า ร เข้ า ค่ า ย สิ่งนี้ล้วนเป็ นสิ่งที่ผู้ใหญ่ของบ้านเมืองกาลังให้การสนับสนุนเพื่อเบี่ยงเบนความ ส น ใ จ ใ น สิ่ ง ที่ ไ ม่ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ อ ย่ า ง อื่ น และเป็นการส่งเสริมให้เยาวชนมีกิจกรรมกระทาในเวลาที่ว่างเพื่อจะได้ไม่ต้อง มั่วสุมอยู่กับสิ่งเสพ ติด เห ล่านั้นห รือสิ่งที่ไม่เป็ นประโยช น์ อย่างอื่น สิ่งที่กล่าวมาในเบื้องต้น ก็เป็นการนาห่างเยาวชนออกจากยาเสพติดในแง่หนึ่ง ซึ่ ง อ า จ เ รี ย ก ไ ด้ ว่ า ทางกายแต่ในฐานะเมืองไทยเราเป็นเมืองพุทธ มีคาสอนขององค์พระพุทธเจ้าเ ป็ น ที่ พึ่ ง ท า ง ใ จ ไ ด้ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี โครงการนี้จึงจะเป็ นการปลูกฝังเยาวชนทางด้านจิตใจโดยให้มีความคิดอาศัยธ รรมะในขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นธรรมะที่จะต้องใช้ในชีวิตประจาวัน ตัวอย่างเช่น หิ ริ คื อ ค ว า ม ล ะ อ า ย ค ว า ม ล ะ อ า ย ที่ จ ะ ก ร ะ ท า บ า ป บ าป ห ม า ย ถึงสิ่งที่ ไ ม่ดี ทุ ก อ ย่ างไ ม่ว่าใน ที่ ต่ อ ห น้ าแ ล ะลับ ห ลัง และไม่ละอายที่จะกระทาบุญทุกอย่าง บุญ หมายถึงสิ่งที่ดีงามทุกอย่าง สิ่งที่ถูกจารีตประเพณีอันดีงามของบ้านเมืองก็จัดว่าเป็ นบุญ และโอตตัปปะ คื อ ค ว า ม เ ก ร ง ก ลั ว ความเกรงกลัวต่อผลแห่งบาปที่จะได้รับเมื่อทาบาปและความยินดีต่อผลแห่งบุ ญที่จะได้รับในเมื่อทาบุญคือสิ่งที่ดีๆ สิ่งที่สังคมยอมรับว่าถูกจารีตประเพณี และเพื่ อที่จะแก้ปัญ ห าย าเสพ ติด ให้ห มด ไปจะต้องแก้ไข ที่ต้นเห ตุ คือ ก ารป ลูก ฝั งศี ลธ ร รม คุ ณ ธ รรม แ ละจ ริย ธ รร ม ใ ห้เกิด ขึ้น ใ น จิตใจของเยาวชนเป็นอันดับแรก เพราะเยาวชนนั้นถือว่าเป็ นทรัพยากรมนุษย์ ที่ มี ค ว า ม ส า คัญ ที่ สุ ด ใ น ก า ร พั ฒ น า สัง ค ม แ ล ะ ป ร ะ เท ศ ช า ติ ให้เจริญก้าวหน้าต่อไปในอนาคต วัตถุประสงค์ของการเข้าค่ายคุณธรรม  เพื่อให้เยาวชนตระหนักถึงคุณค่าความรักของพ่อแม่และค ณะครู
  • 8. ห น้ า | 3  เพื่อส่งเสริมการศึกษาและให้เยาวชนได้รับประโยชน์จากกา รเข้าค่ายอบรม  เพื่ อให้เย าวช นมีระเบีย บวินัย ศีลธ รรม จริย ธ รรม คุณธรรมและความสามัคคี  เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนห่างไกลจากสิ่งเสพติดและอบายมุข  เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้ประวัติพระพุทธศาสนาและปฏิบัติ ตามหลักศีลธรรมคุณธรรมและจริยธรรมอันดีงามในทางพร ะพุทธศาสนา  เพื่อให้เยาวชนได้นาเอาหลักธรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตปร ะจาวันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้เอง  เพื่ อให้เยาวชนรู้จักรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม รู้จักแยกแยะความดีความชั่วออกจากกันได้ กลุ่มเป้ าหมาย เยาวชนชาย-หญิง ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔ โรงเรียนสันทรายวิทยาคม อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ขอบเขตโครงการ โครงการนี้ เป็ นโค รงการระย ะสั้น (วันที่๕-๖ พ ฤษภาค ม ๒๕๕๙) ๒ วัน ๑คืน ซึ่งเป็นโครงการเข้าค่ายอบรมศีลธรรม โดยจะเน้นที่การ ฟังบรรยายตามฐานต่าง ๆ และการทากิจกรรมร่วมกันเพื่ อสนุกสนาน ความรักและความสามัคคีกันในหมู่เยาวชนที่อบรมและความรักในสถาบันครอ บครัวให้เกิดขึ้นอย่างแน่นแฟ้น สถานที่และระยะเวลาในการอบรม  วัดธุดงธสถานล้านนา  ระยะเวลา จากวันที่๕-๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙ (๒ วัน ๑ คืน) การเข้าค่ายคุณธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔ โรงเรียนสันทรายวิทยาคม วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ตารางกิจกรรม เวลา กิจกรรมที่ต้องทา ๐๗.๐๐ น. นักเรียนเดินทางถึงวัดธุดงค์ ธ สถานล้านนา ๐๘.๓๐ น. ลงทะเบียนการเข้าค่าย ๐๙.๐๐ น. เริ่มดาเนินกิจกรรม ๑๑.๓๐ น. รับประทานอาหารเที่ยง
  • 9. ห น้ า | 4 ๑๒.๓๐ น. เข้าฐานกิจกรรม ใช้เวลาฐานละ ๓๐ นาที รวมทั้งสิ้น ๕ ฐาน ๑๕.๓๐ น. พักเบรก ๑๖.๐๐ น. นัดหมายกิจกรรม ๑๖.๓๐ น. ทาธุระส่วนตัว ๑๗.๓๐ น. รับประทานอาหารเย็น ๑๘.๓๐ น. ทาวัตรเย็นและฟังเทศน์ ๒๑.๐๐ น. เวียนเทียนและเดินจงกรม ๒๓.๐๐ น. เข้านอน สิ่งที่ได้เรียนรู้ ๕ ห้องชีวิต เนรมิตนิสัย ๑) ห้องนอน คือ ห้องมหาสิริมงคล ห้องนอน คือ ห้องสาหรับพัฒนานิสัยรักบุญกลัวบาป หน้าที่หลักของห้องนอนมีอะไรบ้าง ๑) ห้องนอนเป็ นห้องสาหรับการปลูกฝังสัมมาทิฐิ ก า ร ส อ น ลู ก ห ล า น ใ ห้ รู้ จั ก ดี ชั่ ว บุ ญ บ า ป อ ย่ า ง ช นิ ด ฝั ง ใ จ จ ะ อ ยู่ ที่ ห้ อ ง น อ น นี้ เพ ร า ะ โ ด ย ทั่ ว ไ ป ช่ ว ง ก่ อ น น อ น เป็ น ช่ ว ง ที่ อ า ร ม ณ์ ดี ที่ สุ ด การสอนลูกหลานให้มีความเคารพในพระรัตนตรัยต้องฝึกจากห้องนอน โ ด ย ทั้ ง พ่ อ ทั้ ง แ ม่ ก ร า บ พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ด้ ว ย กั น ราลึกถึงคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยกัน การสอนลูกให้กราบเท้าพ่อแม่ก็ฝึกจากห้องนอน เพราะเมื่อลูกกราบ พ่ อ แ ม่ ก็ ใ ห้ พ ร ค ว า ม อ บ อุ่ น ใ จ ก็ เ กิ ด ขึ้ น ก่ อ น น อ น ทาให้ปลูกฝังความกตัญญูกตเวทีลงไปในใจได้โดยง่าย ๒) ห้อ งน อ น เป็ น ห้อ ง ส าห รับ ฝึ ก สัม ม าส ม า ธิ (Meditation) ให้ใจตั้งมั่นอยู่ในศูนย์กลางกายเป็ นปกติ พ่อ แม่ ลูก จะนั่งสมาธิ ก็นั่งในห้องนอน กลั่นใจให้บริสุทธิ์ก่อนนอน ทาอย่างนี้ หยุดจึงเป็ นตัวสาเร็จได้ เข้าถึงพระธ รรมกาย ในตัวได้ง่าย ท าใ ห้ มี ก า ลัง ใ จ ใ น ก า ร ส ร้า ง บ า ร ม ีไ ป ใ ห้ ถึง ที่ สุ ด แ ห่ งธ ร ร ม ตามที่พระเดชพระคุณหลวงปู่วัดปากน้าบอกเอาไว้ ศัตรูของห้องนอนคืออะไร?
  • 10. ห น้ า | 5 ห ล ว งพ่ อ ต้อ งถ า ม ก่อ น ว่า ใค ร มี ที วีอ ยู่ ใน ห้ อ ง น อ น บ้า ง กลับไปบ้านวันนี้ให้ยกออกมาข้างนอกเสีย เพราะทีวีทาให้ไม่ได้นั่งสมาธิ เริ่ ม แ ร ก ว่ า จ ะ ดู ข ่า ว ต่ อ ม า ก็ ดู ล ะ ค ร จ บ แ ล้ ว ก็ ดู ห นั ง ต่ อ พ อง่วงขึ้น ม า ก็เข้า น อน โ ด ย ยังไม่ได้ส วด ม น ต์ เลย ละค รน้ า เน่ า ถ้า ไ ม่ มี เรื่ อ ง ต บ กัน จ น จ อ แ ต ก ก็ ต้ อ ง ตี กัน จ น เลื อ ด ท่ ว ม จ อ นอน ดู เพ ลิน จน ห ลังข ด ห ลังแ ข็ง บางที น อน ค อเค ล็ด อีกต่างห าก ส่ ง ผ ล ใ ห้ เรื่ อ ง สุ ด ท้ า ย ที่ ติ ด ใ จ ข อ ง เร า ไ ป ต อ น ห ลับ ก็ คื อ เ รื่ อ ง ที่ ต บ กั น จ อ แ ต ก ห รื อ ตี กั น เ ลื อ ด ท่ ว ม จ อ ท า ใ ห้ นึ ก ถึ ง อู่ ท ะ เล บุ ญ ไ ม่ อ อ ก จึง ไ ม่ ไ ด้ น อ น ใ น อู่ ท ะ เล บุ ญ เมื่อตื่นเช้าขึ้นมาให้นึกถึงองค์พระก็นึกไม่ออก เพราะฉะนั้น ใครมีทีวีอยู่ในห้อง เดี๋ยวก็ไม่ได้สวดมนต์ ไม่ได้ไหว้พระ หลวงพ่อขอให้เอาออกไปนอกห้องนอนเสีย แล้วจะทาให้เราตรงต่อเวลา ทาให้มี เวลาพู ด กับ ลูกห ลาน ก่อ นน อ นจะฝึ กให้เด็ กกราบ พ่ อแ ม่ จ ะ ใ ห้ พ ร ลู ก ห ล า น ก็ ท า ไ ด้ ใ น เ ว ล า นั้ น ก่ อ น น อ น เ ด็ ก จ ะ นึ ก ถึ ง ค า อ ว ย พ ร ข อ ง พ่ อ แ ม่ พอตื่นขึ้นมาคาอวยพ รของพ่อแม่ก็ยังติดอยู่ในใจ ทาให้เด็กมีจิตใจดี ไม่ขาดความอบอุ่น ดั ง นั้ น ห้ อ ง น อ น คื อ ห้องมห าสิริมงค ล มีไว้ใช้ ปลูกฝังศ ีล ธ ร ร ม ทบทวนบัญ ชี บุญ -บาป ให้พรลูกหลานก่อนนอน กราบพ่อกราบแม่ก่อนนอน นั่งสมาธิก่อนนอน ทาให้ชีวิตเกิดสิริมงคล ๒) ห้องน้า คือ ห้องมหาพิจารณา ตื่นเช้าขึ้นมา เมื่อเราออกจากห้องนอนก็จะไปห้องน้า ห้ อ ง น้ า เ ป็ น ห้ อ ง ม ห า พิ จ า ร ณ า คื อ ฝึกคิดให้ตรงตามความเป็ นจริงของโลกและชีวิต เพราะห้องนอนหรือห้องอื่นๆ
  • 11. ห น้ า | 6 เช่น ห้องครัว ห้องทางาน เวลาจะใช้ สามารถใช้พร้อมๆกันได้หลายคน ยิ่ ง ห้ อ ง ค รั ว ด้ ว ย แ ล้ ว ห ล า ย ค น ล้ อ ม โ ต๊ ะ กิ น ข้ า ว กั น แต่ห้องน้าใช้ได้ทีละคนเท่านั้นจึงมีเวลาที่จะพิจารณาตัวเองมาก หน้าที่หลักของห้องน้ามีอะไรบ้าง ๑) เป็นที่พิจารณาความไม่งามของร่างกาย พิ จ าร ณ า อ ายุ ข อ ง เร า ที่ ผ่ าน ไ ป แ ต่ ล ะวัน แ ต่ล ะ คื น ก็ ต ร ง นี้ แล้วความหลงตัวเองก็จะหมดไป ความเคียดแค้นชิงชังใครก็จะไม่มี ๒) เป็นที่พิจารณาความเสื่อมโทรมของร่างกายที่ดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง ๓)เป็นที่พิจารณาความเป็นรังแห่งโรคของร่างกาย ห้องน้าเป็ นห้องพิจารณาความมีโรคภัยไข้เจ็บของเรา ที่สาคัญที่สุด ห้องน้าเป็นห้องสาหรับรักษาสุขภาพอย่างดี ห ล ว งพ่ อ ข อ ฝ าก ไ ป ถึง คุ ณ พ่ อ คุ ณ แ ม่ ที่ ยัง มี ลู ก เล็ ก อ ยู่ ด้ ว ย ถามว่าเวลาเราป่วยไข้ไปหาหมอ หมอต้องการอะไรจากเราอย่างรีบด่วน ถ้าเฉพาะห น้าเขาก็ต้องการเจาะเลือดมาตรวจดู ต้องการวัด ความดัน แ ต่ว่า อ ย่ าง ไร ก็ ต าม เดี๋ ย ว ก็ ข อ อุ จ จ าร ะแ ล ะ ปัส ส า วะ ม า ต ร ว จ เมื่อเรารู้อย่างนี้ทาไมจะต้องรอให้ป่ วยด้วยก็หัดตรวจอุจจาระ ปัสสาวะ ของตัวเองให้เป็นจากในห้องนี้แล้วสุขภาพจะดี ต อ น นี้ ห ล ว ง พ่ อ อ า ยุ ๖ ๙ ปี สุ ข ภ า พ ยั ง ใ ช้ ไ ด้ เพ ราะห มั่ น ต รวจดูค วาม ปก ติห รือไม่ป กติข องอุจจาระ ปัสสาวะ ข อ ง ตัว เอ ง เป็ น ป ร ะ จ า ดู ก ร ะทั่ ง ส บ งจี ว ร ที่ นุ่ ง ที่ ห่ ม แ ต่ ล ะวัน กลิ่นสาบสางมีอย่างไร เพราะถ้าคนจะป่วยจะไข้ จะมีสิ่งบอกเหตุล่วงหน้า ตั้งแต่กลิ่นเสื้อกลิ่นผ้ามันจะบอกจากนั้นดูอุจจาระ ปัสสาวะ ตั้งแต่สี กลิ่น ข อ ง มั น จ ะ บ อ ก ตรงนี้ฝากด้วยใช้ห้องน้าใช้ให้เป็นฝึกให้ทุกคนในบ้านทาความสะอาดห้องน้าใ ห้เป็น แ ล้ว ไม่ ว่าฐ าน ะ เร าจ ะดี อ ย่ าง ไร ใน เรื่ อ งห้ อ ง น้ าส่ว น ตัว ต่อให้เราเป็นมหาเศรษฐีมีเงินกี่พันกี่หมื่นล้านก็ตาม หัดดูแลห้องน้าตัวเองด้วย ฝึกให้ลูกดูแลห้องน้าของเขาให้เป็ นไม่อย่างนั้นเขาจะดูแลสุขภาพไม่เป็ น ตอนลูกเล็กๆ ฝึกให้เขาหัดขัดส้วมของเขาด้วยแล้วโตขึ้นจะเป็นคนไม่เกี่ยงงาน ต่อไปเบื้องห น้าแม้พ่ อแม่ป่ วย ห รือตัวเข าป่ วย ก็จะดูแลพ่อแม่เป็ น ถ้าเขาจะต้องเช็ดอุจจาระ ปัสสาวะหรือจะเทอุจจาระ ปัสสาวะ ให้พ่อแม่ก็ตาม เขาจะไม่รังเกียจที่สาคัญเขาจะดูแลสุขภาพของเขาเป็ นเรื่องนี้มองข้ามไม่ได้ หลวงพ่อได้ เรื่องนี้มาจากโยมพ่อ แล้วก็มาได้อีกครั้งอย่างมากที่คุณยาย แล้วอีกครั้งหนึ่งได้ตอนเรียนอยู่มหาวิทยาลัย เนื่องจากเรียนวิชาสัตวบาล
  • 12. ห น้ า | 7 มีเป็ ดไก่เป็ นพันๆ ตัว วัวนมวัวเนื้ออีกเป็ นร้อยๆ ตัว ควายนมเป็ นฝูง หมูเป็นฝูง มาให้เราดู ส มั ย เ รี ย น วิช าที่เรีย นบังคับ ให้ต อน เช้ าจะต้องดูสุข ภาพ เจ้าสัต ว์พ วกนี้ ก่อ น แ ล้ ว จึ ง จ ะ ไ ป เ ข้ า ห้ อ ง เ รี ย น ไ ด้ ต้องเดินผ่านคอกสัตว์เหล่านี้แต่สัตว์บอกไม่ได้ว่ามันป่วย วัวก็บอกไม่ได้ ไก่ก็บอกไม่ได้ แล้วทาอย่างไร ก็ต้องไปดูอุจจาระ ปัสสาวะของมัน มองป ราด ไป ห็ น ผิด ป รกติต รงไห น เดี๋ ย วรีบ ไป ต าม ห าให้ได้ว่า อุ จ จ า ร ะ ก อ ง นี้ ข อ ง สั ต ว์ ตั ว ไ ห น แล้วก็รักษาแก้ไขกันไปทาให้ดูแลสุขภาพสัตว์จานวนพันมาได้อย่างนี้ ห ล ว ง พ่ อ เ ล ย ส ะ ท้ อ น ม า ถึ ง ตั ว เ อ ง ว่ า คุณยายก็จ้าจี้จ้าไชเรื่องห้องน้ากับหลวงพ่อไว้มากว่า ให้ไปอบรมพระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา คุณ ย าย ใช้ค าห นึ่ งว่า ถ้าเข ายังไม่เต็ม ใจขัด ห้อ งน้ าให้เป็ น ท่านอย่าให้บวช นะ ถ้าบวช ต่อไปข้างห น้า เขาจะเป็ นค นที่เกี่ยงงาน แล้วเกี่ยงทุกอย่าง ดูถูกคนก็ปานนั้น ดั ง นั้ น พ ว ก เร า ห วั ง จ ะ ใ ห้ ลู ก ห ล า น ข อ ง เร า ไ ด้ ดี อย่ามองข้ามการงานในห้องน้า ๓)ห้องแต่งตัว (ห้องมหาสติ) คานิยามที่แท้จริง ห้องแต่งตัว คือ ห้องพัฒนานิสัยตัดใจและใฝ่บุญ หลักธรรมประจาห้องแต่งตัว คือ สัมมาสติ หน้าที่หลักของห้องแต่งตัว
  • 13. ห น้ า | 8 ๑) ใ ช้ ใ น ก า ร ป ลู ก ฝั ง สั ม ม า ส ติ คื อ ฝึกประคองรักษาใจให้ผ่องใสเป็นปกติ ไม่ปล่อยใจไปตามอานาจกิเลส ๒) ฝึกให้มีความระมัดระวังตนในทุก ๆ เรื่อง ไม่ประมาทเผอเรอ มีความตื่นตัวตลอดเวลา ๓) ฝึกตัดใจไม่คิดหมกมุ่นในกาม ตามแฟชั่นหรือกระแสสังคม ๔) ฝึกใช้เหตุผลตักเตือนใจของตนให้เป็นสัมมาทิฐิและสัมมาสังกัปปะ ไม่ให้เกิดความลาเอียง และสูญเสียศีลธรรมประจาใจ ความรู้ประจาห้องแต่งตัว ๑. แต่งตัวเพื่อปกปิดอวัยวะที่ก่อให้เกิดความละอายและเป็นที่อุจาดต า ๒. แต่งตัวเพื่อป้ องกันอันตรายจากความร้อนและความหนาว สัตว์ และแมลง ๓. เ ลื อ ก แ ต่ ง ตั ว ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม ทุ ก ส ถ า น ที่ ไม่ชวนให้โจรผู้ร้ายปล้นจี้หรือฉุดคร่าไปทาร้ายทางเพศ ๔. ใ ช้ เ ค รื่ อ ง แ ต่ ง ตั ว ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ฐ า น ะ ไม่ตกเป็นทาสเสื้อผ้าเครื่องแต่งตัวตามกระแสสังคม ๕. ไม่สนับสนุนให้เด็กหมกมุ่นในกามด้วยการแต่งหน้าก่อนวัยอันคว ร อันนาไปสู่ปัญหามากมายในภายหลัง ประโยชน์จากการใช้ห้องแต่งตัวอย่างถูกต้อง ๑.ทางใจ  ตัดใจไม่ให้หลงในลาภ ยศ สรรเสริญ สุข  ตัดใจไม่ให้มัวเมาในความเป็ นหนุ่มเป็ นสาว ในความไม่มีโรค ในความมีอายุยืน  ตัดใจไม่ฟุ้งเฟ้อ ไม่สุรุ่ยสุร่าย  ตัดใจสร้างบุญกุศลเป็นประจา เช่น การทาทาน การรักษาศีล การเจริญ ภาวนา เป็นต้น  ไม่ตกเป็นทาสอบายมุข ๒.ทางกาย  รู้จักการให้เกียรติเคารพสถานที่  รู้จักมารยาทในการเข้าสังคม  รู้จักการวางตัวได้อย่างเหมาะสมตามภาวะและฐานะที่ตนเป็ น  มีความตื่นตัวและกระตือรือร้นในการคิดดี พูดดี และทาดีอยู่เสมอ
  • 14. ห น้ า | 9 ๔) ห้องอาหาร (ห้องมหาประมาณ) คานิยามที่แท้จริง ห้องอาหาร คือ ห้องพัฒนานิสัยรู้ประมาณในการพูด และการใช้ทรัพย์ หลักธรรมประจาห้องอาหาร คือ สัมมาวาจา และสัมมากัมมันตะ หน้าที่หลักของห้องอาหาร ๑. เป็นที่ประชุมสมาชิกทุกคนในบ้านอย่างพร้อมหน้าพร้อมตา ทุกวัน ๒. ใช้ปลูกฝังสัมมาวาจาและสัมมากัมมันตะให้แก่สมาชิกทุกค นในบ้าน ๓. ห า ก ส ม า ชิ ก ใ น ค ร อ บ ค รั ว รั บ ประทานอาหารไม่พร้อมหน้าพร้อมตากัน จะเกิดปัญหา น้ อ ย เนื้ อ ต่ า ใ จ แ ล ะ ปั ญ ห า ค ว า ม แ ต ก แ ย ก แต่หากสมาชิกขาดสัมมาวาจาจะเกิดปัญหากระทบกระทั่งบ านปลายใหญ่โต ความรู้ที่ต้องมีเกี่ยวกับห้องอาหาร ๑. ห้องอาหาร คือ ห้องที่สมาชิกทั้งบ้านใช้รับประทานอาหารร่วมกัน จึงต้องรักษาความสะอาดให้ดี ไม่ควรเก็บอาหารไว้ในห้องนี้ ๒. ห้องครัว คือ ห้องสาหรับปรุงอาหารและเก็บอาหารทุกประเภท ต้ อ ง รั ก ษ า ค ว า ม ส ะ อ า ด แ ล ะ จั ด ใ ห้ เ ป็ น ร ะ เ บี ย บ มิฉะนั้นจะเป็นแหล่งชุมนุมของมด หนู และแมลงต่าง ๆ ๓. ห้องรับแขก คือ ห้องที่ใช้ต้อนรับแขกที่มาเยี่ยมเยียนหรือมีธุระสาคัญ จึงเสมือน เป็ น ห น้าต าข องบ้าน ไม่ค วรปล่อย ให้รกรุงรัง ต้องจัดให้เป็นระเบียบและทาความสะอาดอยู่เสมอ ๔. บ้ า น ใ ด ที่ ใ ช้ ห้ อ ง อ า ห า ร ร ว ม กั บ ห้ อ ง รั บ แ ข ก ควรใช้เครื่องเรือนแบ่งเขต 2 ห้องให้ชัดเจน ๕. ค ว ร จั ด ชุ ด เ ก้ า อี้ รั บ แ ข ก ไ ว้ ต ร ง ป ร ะ ตู ท า ง เ ข้ า แ ล ะ จั ด โ ต๊ ะ รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร ไ ว้ ใ ก ล้ ห้ อ ง ค รั ว อีกทั้งควรตกแต่งห้องให้มีบรรยากาศเย็นตา ๖. ควรจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ของห้องครัว ห้องอาหาร ห้องรับแขก ให้พร้อมและสะอาด มีครบตามจานวนสมาชิกในครอบครัว ๗. ควรจัดเตรียมวัตถุดิบและเครื่องปรุงให้ครบตามความจาเป็ น และเพียงพอกับคนในบ้าน
  • 15. ห น้ า | 10 ๘. ควรฝึกอบรมสมาชิกในบ้านให้รู้จักช่วยกันทาครัวตั้งแต่เยาว์วัยเพื่อฝึ กความสามัคคี ๙. ควรฝึกสมาชิกในบ้านให้รู้จักวิธีการถนอมอาหารให้ถูกหลักโภชนาก าร เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย ประโยชน์จากการใช้ห้องอาหารอย่างถูกต้อง ๑) ทางใจ  รู้ จั ก ป ร ะ ม า ณ ใ น ก า ร รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร คื อ ระลึก อ ยู่ ว่าเร ารับ ป ร ะท าน อ าห ารเพื่ อ ให้ชี วิต ด ารง อยู่ ไ ด้ จะได้นาเรี่ยวแรงไปทาความดี  รู้ จั ก ป ร ะ ม า ณ ใ น ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย์ คื อ รู้ จั ก ก า ร ก า ห น ด ร า ย จ่ า ย ใ ห้ น้ อ ย ก ว่ า ร า ย ไ ด้ จ ะ ไ ด้ มี ท รั พ ย์ เ ห ลื อ เ ก็ บ ไ ว้ ใ ช้ ใ น ค ร า ว จ า เ ป็ น และใช้บริจาคสร้างบุญกุศลอันเป็ นหนทางไปสู่สุคติในสัมปรายภพ  รู้จักประมาณในวาจา คือ การใช้คาพูดที่นุ่มนวล มีเหตุผล มีประโยชน์ เหมาะแก่กาลเทศะในสถานการณ์ต่าง ๆ ๒) ทางกาย  ใช้ห้องอาหารสาหรับประกอบอาหาร  ใช้เป็นที่ประชุมสมาชิกพร้อมหน้าพร้อมตา  ใช้ห้องอาหารเป็นที่รับประทานอาหาร  ใช้ห้องอาหารเป็นที่เก็บอาหาร  ใช้ห้องอาหารเป็นที่ต้อนรับแขก ๕) ห้องทางาน (ห้องมหาสมบัติ) คานิยามที่แท้จริงของห้องทางาน คือ ห้องพัฒนานิสัยใฝ่ความสาเร็จ หลักธรรมประจาห้องทางาน คือ สัมมาอาชีวะและสัมมาวายามะ หน้าที่หลักของห้องทางาน ๑. ใช้ในการปลูกฝังสัมมาอาชีวะ ไม่หารายได้จากการทาผิดศีลธรรม ผิดกฎหมาย ผิดจารีตประเพณี ๒. ใช้ปลูกฝังวินัยประจาห้องทางาน 6 ประการ  มีสัมมาวาจา ใช้คาพูดได้เหมาะสม
  • 16. ห น้ า | 11  มีความเคารพในบุคคล สถานที่ เหตุการณ์  มีมารยาทดี เหมาะแก่บุคคลและกาลเทศะ  มีความรับผิดชอบทั้งส่วนตัวและส่วนรวมเคร่งครัดต่อระเบียบ วินัยในการทางาน  เอาใจใส่ดูแลอุปกรณ์ต่าง ๆ ในห้องทางาน ความรู้เกี่ยวกับห้องทางาน ๑. เลือกประกอบสัมม าอาชี พ ที่ไม่ผิด ศี ลธ รรม ไม่ผิด กฎห มาย ไม่เกี่ยวกับอบายมุข ไม่ก่อให้เกิดมิจฉาทิฐิ ๒. ทาเลที่ประกอบอาชี พ ต้องสอดค ล้องกับชุ มช นและสิ่งแวด ล้อม เพื่อความเหมาะสม ในการทางาน และเพื่อความสาเร็จในอาชีพ ๓. ห้องทางานต้องเหมาะสมกับจานวนบุคลากร และชนิดของงาน ๔. การต กแต่งต้องสะด วกใน การทางาน สะอาด ถูกสุข อน ามัย มีความปลอดภัย ไม่มีภาพลามกอนาจาร ๕. อุปกรณ์ เค รื่องใช้ในแต่ละห้องต้องเพี ยงพ อ จัด เก็บเป็ นระบบ เพื่อให้เกิดความคล่องตัว ๖. ใช้อุปกรณ์อย่างถูกวิธี และหมั่นดูแลรักษา จะได้มีไว้ใช้งานได้นาน ๆ หากเกิด ชารุดเสียหายต้องรีบซ่อมแซม ๗. มีกุศโลบายในการสนับสนุนคนดี แก้ไขคนโง่ คัดคนพาลออก ประโยชน์จากการใช้ห้องทางานอย่างถูกต้อง ๑. ทางใจ  สามารถใช้สติปัญญาในการประกอบอาชีพได้ประสบผลสาเร็จด้ว ยดีตาม เป้าหมาย  มีโอกาสเพิ่มบุญกุศลให้ตนเองเป็นนิจ  แสวงห าค วาม รู้ เพิ่ มพู น ปัญ ญ าท างโลกแ ละท างธ รรม จะได้ไม่ต้องก่อเวร ก่อภัยกับใครทั้งสิ้น ๒. ทางกาย  ใช้เพิ่มปัญญาในการประกอบสัมมาอาชีพ  ใช้พัฒนาความชานาญในการทางาน  ใช้ฝึกนิสัยมีวิริยอุตสาหะในการทางาน  ใช้เพิ่มพูนทรัพย์ เป็นทางมาแห่งมหาสมบัติ
  • 17. ห น้ า | 12 บุญ-บาป ศีล ๕ ประกอบไปด้วย ศีลข้อที่ ๑ : ปาณาติปาตาเวรมณี หมายถึง การละเว้นจากการฆ่าชีวิตสัตว์ทุกชนิด ผลกรรมเมื่อไม่ปฏิบัติ หรือผิดศีล ๑. มีปัญหาด้านสุขภาพ ๒. มีอุบัติเหตุ มีการอุปฆาตกรรม ๓. พิการ ๔. อายุสั้น ตายอย่างทุกข์ทรมาน ๕. อัปลักษณ์ มีปมด้อย หนทางทุเลาเมื่อผิดศีล ตั้งสัจว่าจะไม่ฆ่า หรือรังแกสัตว์ บริจาคเลือดให้สภากาชาดไทย ถวายยาสมุนไพรให้วัด บริจาคค่ายาให้แก่โรงพยาบาล
  • 18. ห น้ า | 13 ศีลข้อที่ ๒ : อทินนาทานาเวรมณี หมายถึง การเว้นจากการลักทรัพย์หรือทรัพย์ที่เจ้าของเขาไม่ได้ให้ ผลกรรมเมื่อไม่ปฏิบัติ หรือผิดศีล ๑. ธุรกิจไม่เจริญก้าวหน้า ๒. ต้องชดใช้เงินให้ผู้อื่นอย่างไร้เหตุผล ๓. ทรัพย์หายบ่อยๆ ๔. ลูกหลานแย่งชิงสมบัติ ๕. โดนทาลายทรัพย์ ๖. ตระกูลตกอับ หนทางทุเลาเมื่อผิดศีล ตั้งสัจว่าจะไม่ฉ้อโกง ไม่ลักทรัพย์ ไม่ทุจริต ทาบุญค่าน้า ค่าไฟให้วัด มอบทุนให้แก่ผู้ด้อยโอกาส ศีลข้อที่ ๓ : กาเมสุมิสฉาจาราเวรมณี ห ม า ย ถึ ง ก า ร ล ะ เ ว้ น จ า ก ก า ร ป ร ะ พ ฤ ติ ผิ ด ใ น ก า ม การประพฤติผิดลูกผิดเมียคนอื่น ผลกรรมเมื่อไม่ปฏิบัติ หรือผิดศีล
  • 19. ห น้ า | 14 ๑. หาคู่ครองไม่ได้ อัปลักษณ์ ๒. เป็นหม้าย ๓. คนรักนอกใจ ๔. ไม่มีมิตรจริงใจ ๕. มีความผิดปกติทางเพศ ๖. ต้องพลัดพรากจากคนรักก่อนวัยอันควร ๗. ท้องก่อนวัยอันควร โดนข่มขืน เสียตัวฟรี หนทางทุเลาเมื่อผิดศีล ตั้งสัจว่าจะไม่ทาผิดเรื่องทางเพศ ไม่ทาให้ใครเสียใจเรื่องความรัก ไม่นอกใจ รักเดียวใจเดียว ถวายธงคู่ประดับวัด ช่วยออกค่าใช้จ่ายในงานแต่ง ทาดีกับบุพการี ศีลข้อที่ ๔ : มุสาวาทาเวรมณี ห ม า ย ถึง ก า รล ะ เว้น จ าก ก าร พู ด ป ด ง ด เท็ จ พู ด จ า โก ห ก พูดไม่อยู่กับร่องกับรอย ผลกรรมเมื่อไม่ปฏิบัติ หรือผิดศีล ๑. ปากไม่สวย ฟันไม่สวย มีกลิ่นปาก ๒. ไม่มีคนจริงใจ ๓. อยู่ในสังคมที่ปากไม่เป็นมงคล ๔. โดนหลอกง่าย เชื่อง่าย ๕. พูดสิ่งใดไปก็ไม่มีใครเชื่อ หนทางทุเลาเมื่อผิดศีล
  • 20. ห น้ า | 15 ตั้งสัจว่าจะไม่พูดส่อเสียด เถียง ว่า หรือด่าผู้มีพ ระคุณและคนอื่น ออกเงินค่าทาฟันให้ผู้ที่ยากจน พูดธรรมะเสมอ ไม่สาบานพร่าเพรื่อ ศีลข้อที่ ๕ : สุราเมรยมัฌชปะมาทัตถานาเวรมณี ห ม า ย ถึ ง การละเว้นจากการดื่มสุราเมรัยและเครื่องดองของมืนเมาทุกชนิด ผลกรรมเมื่อไม่ปฏิบัติ หรือผิดศีล ๑. สติปัญญาไม่ดี ขี้ลืม เรียนไม่เก่ง ๒. อยู่ในที่ที่เป็นอบายมุข ๓. หากกรรมหนักจะทาให้เป็นโรคทางปัญญา ๔. มีลูกหลานดื่มเหล้า เสพยา ๕. ขาดสติ หนทางทุเลาเมื่อผิดศีล ตั้งสัจว่าจะไม่ดื่ม หรือขายเหล้า หมั่นให้ทาน ให้ปัญญาวิชาความรู้ อริยสัจ ๔ มีความจริงอยู่ ๔ ประการคือ การมีอยู่ของทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ ความดับทุกข์ และ หนทางไปสู่ความดับทุกข์ ความจริงเหล่านี้เรียกว่า อริยสัจ ๔ ๑. ทุกข์
  • 21. ห น้ า | 16 คือ การมีอยู่ของทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ และตายล้วนเป็ นทุกข์ ความเศร้าโศก ค ว า ม โ ก ร ธ ค ว า ม อิ จ ฉ า ริ ษ ย า ค ว า ม วิ ต ก กั ง ว ล ค ว า ม ก ลั ว แ ล ะ ค ว า ม ผิ ด ห วั ง ล้ ว น เ ป็ น ทุ ก ข์ การพลัดพรากจากของที่รักก็เป็ นทุกข์ ความเกลียดก็เป็ นทุกข์ ความอยาก ความยึดมั่นถือมั่น ความยึดติดในขันธ์ทั้ง 5 ล้วนเป็ นทุกข์ ๒. สมุทัย คือ เหตุแห่งทุกข์ เพราะอวิชา ผู้คนจึงไม่สามารถเห็นความจริงของชีวิต พวกเขาตกอยู่ในเปลวเพ ลิงแห่งตัณหา ความโกรธ ความอิจฉาริษยา ความเศร้าโศก ความวิตกกังวล ความกลัว และความผิดหวัง ๓. นิโรธ คือ ความดับทุกข์ การเข้าใจความจริงของชีวิตนาไปสู่การดับความเศร้า โศกทั้งมวล อันยังให้เกิดความสงบและความเบิกบาน ๔. มรรค คื อ ห น ท างน าไป สู่ค วาม ดับ ทุ กข์ อัน ได้แ ก่ อริย ม รรค 8 ซึ่ ง ไ ด้ รั บ ก า ร ห ล่ อ เลี้ยงด้วยการดารงชีวิตอย่างมีสติความมีสตินาไปสู่สมาธิและปัญญาซึ่งจะปลด ป ล่ อ ย ให้พ้นจากความทุกข์และความโศกเศร้าทั้งมวลอันจะนาไปสู่ความศานติและ ค ว า ม เ บิ ก บ า น พระพุทธองค์ได้ทรงเมตตานาทางพวกเราไปตามหนทางแห่งความรู้แจ้งนี้
  • 22. ห น้ า | 17 กรรมดี-ชั่ว การวินิจฉัยว่า สิ่งใดเป็ นกรรมดี สิ่งใดเป็ นกรรมชั่ว สิ่งใดถูก สิ่งใดผิด สิ่งใดควรทา สิ่งใดไม่ควรทา มีหลักเกณฑ์ดังนี้คือ ๑. การกระทาที่มีเหตุมาจากกุศลมูล คือ อโลภะ อโทสะ อโมหะ ก า ร ก ร ะ ท า นั้ น เป็ น ก ร ร ม ดี ถู ก เป็ น บุ ญ ค ว ร ท า ถ้า มี เห ตุ ม า จ า ก อ กุ ศ ล มู ล คื อ โ ล ภ ะ โ ท ส ะ โ ม ห ะ การกระทานั้นเป็นกรรมชั่ว ผิด เป็นบาป ไม่ควรทา ๒. การกระทาที่ไม่เป็ นไปเพื่ อเบีย ดเบีย นใค รๆ มีสุขเป็ นผ ล ไม่ทาให้ร้อนใจภายหลัง การกระทานั้นเป็ นกรรมดี ถูก เป็ นบุญ ควรทา ถ้าเป็ นไปเพื่อเบียดเบียนตนหรือผู้อื่น มีทุกข์เป็ นผล หรือทาให้ร้อนใจภายหลัง การกระทานั้นเป็ นกรรมชั่ว ผิด เป็นบาป ไม่ควรทา ๓. ก า ร ก ร ะ ท า ที่ ท า ใ ห้ กุ ศ ล ธ ร ร ม เ จ ริ ญ ขึ้ น อกุศลธรรมเสื่อมไป การกระทานั้นเป็ นกรรมดี ถูก เป็ นบุญ ควรทา ถ้ า ท า ใ ห้ กุ ศ ล ธ ร ร ม เ สื่ อ ม ไ ป อ กุ ศ ล ธ ร ร ม เจ ริ ญ ขึ้ น การกระทานั้นเป็นกรรมชั่ว ผิด เป็นบาป ไม่ควรทา การกระทาความดีที่สมบูรณ์แบบนั้น ต้องทาให้ครบวงจร คือ ดีทั้งเหตุ ดีทั้งผล และทุกคนที่มีส่วน เกี่ยวข้องต่างได้รับผลดี เช่น ในการปล่อยสัตว์ ผู้ปล่อยก็ได้บุญ คือ รู้สึกดีใจชื่นใจที่ตนได้ทาความดี สัตว์ที่ถูก ปล่อยก็ดีใจที่มีชีวิตรอดพ้นจากความตาย หรือพ้นจากการจองจา การกระทาบางอย่าง เช่น หลับในเวลาเรียน แม้จะไม่ใช่กรรมชั่ว แต่ก็เป็ นสิ่งที่ไม่สมควร ดังนั้น นอกจากพิจารณาเหตุและผลดังกล่าวแล้ว ก่อนจะทาอะไรลงไป ควรพิจารณาถึงสิ่งต่างๆ ดังนี้ ๑. กฎห มาย การทาผิด กฎห มายย่อมไม่สมควร เช่น การ จอดรถในที่ห้ามจอด ๒. ศี ล ก า ร ก ร ะ ท า บ า ง อ ย่ า ง เ ช่ น การฆ่าสัตว์โดยมีอาชญาบัตรถูกต้อง แม้จะไม่ผิดกฎหมาย แ ต่ ผิ ด ศี ล จึ ง ไ ม่ ค ว ร ท า สาหรับคฤหัสถ์ควรรักษาศีลห้าเป็นอย่างน้อย
  • 23. ห น้ า | 18 ๓. ฐานะ การกระทาใด ถ้าไม่เหมาะกับเพศ วัย ความรู้ กาลัง ยศ ตระกูล หรือ ฐานะในสังคมของตน การกระทานั้นไม่สมควร เ ช่ น เ ป็ น ช า ย แ ต่ แ ต่ ง ก า ย เ ห มื อ น ห ญิ ง มีรายได้น้อยแต่ชอบใช้ของแพงๆ ๔. ค าต าห นิ พ ร ะพุ ท ธ เจ้าต รัสว่า ติต น เองด้ว ย สิ่งใ ด ไม่ควรทาสิ่งนั้น ดังนั้น การกระทาใด ถ้าตนเองตาหนิ หรือ ผู้รู้ (จักผิด ช อ บชั่ วดี ) ต าห นิ การก ระท านั้ น ไม่สม ค ว ร ค าต าห นิ ข อ งผู้รู้เป รี ย บ เห มื อ น ล าย แ ท งขุ ม ท รัพ ย์ ผู้น ามาพิจารณ าโดย แย บค ายจะได้รับประโย ช น์ คือ รู้ข้อบกพร่องในตัว แล้วแก้ไขเสีย ๕. กาลเวลา การกระทาที่ไม่เหมาะสมกับกาลเวลาแบ่งได้ ๔ ลักษณะ คือ  ค ว ร จ ะ รี บ แ ต่ ก ลั บ เ ฉื่ อ ย ช า เ ช่ น การปฐมพ ยาบาลผู้ประสบอุบัติเหตุห รือป่ วยห นัก ต้องทาอย่างรีบด่วน ถ้าช้าอาจเกิดอันตรายถึงชีวิตได้  ค ว ร จ ะ ช้ า แ ต่ ก ลั บ เ ร็ ว เ ช่ น การรีบกลืนอาหารโดยไม่เคี้ยวให้ละเอียดทาให้อาหารย่ อยยาก  ผิ ด เ ว ล า ถ้ า พู ด ไ ม่ ถู ก ก า ล เ ว ล า เ ช่ น การพูดกับคนที่กาลังโกรธมักจะเกิดผลเสียมากกว่าผลดี การทาผิดเวลา เช่น ซื้อควายหน้านา ซื้อผ้าหน้าหนาว ย่อมได้ของแพง เพราะไม่วางแผนไว้ล่วงหน้า  ผิ ด ล า ดั บ คื อ ค ว ร ท า ก่ อ น ก ลับ ท า ที ห ลั ง ค ว ร ท า ที ห ลั ง ก ลั บ ท า ก่ อ น อรรถกถาอาวาริยชาดกกล่าวถึงคนแจวเรือจ้างข้ามฟาก เขาส่งผู้โดยสารข้ามแม่น้าคงคาก่อนแล้วค่อยทวงค่าจ้าง ภ า ย ห ลั ง การทาผิดลาดับทาให้เขาต้องทะเลาะกับผู้โดยสารที่ไม่ย อมจ่ายค่าจ้าง เขาต้องใช้วิธีด่าและทุบตีผู้โดยสาร จึงจะได้ค่าจ้าง ถ้าเขาใช้นโยบาย จ่ายก่อน จรทีหลัง ซึ่ ง เ ป็ น วิ ธี ที่ ถู ก ต้ อ ง เข าจ ะ เรี ย ก ร้อ ง ค่า จ้า งไ ด้ ม า ก ต า ม ต้ อ งก า ร เ พ ร า ะ ผู้ โ ด ย ส า ร ที่ อ ย า ก จ ะ ข้ า ม ฟ า ก แม้เกินราคาค่าจ้างก็ให้ได้ ๖. สถานที่ การกระทาที่ไม่เหมาะกับสถานที่มี ๒ ลักษณะ คือ สถานที่ การกระทาที่ไม่เหมาะกับสถานที่มี ๒ ลักษณะ คือ
  • 24. ห น้ า | 19  ขั ด กั บ ป ร ะ เ พ ณี อั น ดี ง า ม เ ช่ น ก า ร แ ต่ ง ก า ย ด้ ว ย สี ฉู ด ฉ า ด ไ ป ใ น ง า น ศ พ ค น ไท ย เราไม่นิ ย มท ากัน ท่าน จึงสอ น ว่า เข้าเมื อ ง ตาหลิ่วต้องหลิ่วตาตาม  ขั ด กั บ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม เ ช่ น การสวมเสื้อผ้าสีดาหรือสีที่มืดทึบในขณะที่อากาศร้อนเป็ นสิ่งที่ ไ ม่ เ ห ม า ะ ส ม เพ ราะสีดาจะดูด ความร้อนได้ดีทาให้ร่างกายร้อนมาก เมื่อกลางปี ๒๕๓๘ ในสหรัฐอเมริกา อากาศร้อนจัดมาก มีผู้เสียชีวิตเกือบพันคนเพราะปรับตัวให้เข้ากับอากาศที่ร้อนจั ดไม่ได้  อนึ่ง การอยู่ในถิ่นที่มีมลพิษมาก ห่างไกลจากที่ทางาน ไกลจ ากวัด มี แ ห ล่งอ บ าย มุ ข ม าก เป็ น สิ่งที่ ไ ม่ค ว ร เพราะเป็นอันตรายแก่สุขภาพและไม่สะดวกในการประกอบอา ชีพและการปฏิบัติธรรม ความพ อดี การกระทาที่ไม่พ อดี คือ ทายังไม่ถึงดีหรือทาเลย ดี ทาให้ผลที่ออกมาไม่ดี เช่น การหุง ข้าวนานจนเลยความพอดี ย่อมได้ข้าวไหม้ ถ้าหุงยังไม่ถึงจุดที่พอดี ก็เลิกหุงเสียก่อน ข้าวก็สุกๆ ดิบๆ กรรมดี คือการทาความดีประเภทต่างๆ ไม่ใช่แค่ว่าเป็ นการทาบุญ ทาทาน ส ว ด ม น ต์ ไ ห ว้ พ ร ะ นั่ ง ส ม า ธิ ภ า ว น า แ ค่ นั้ น แต่เป็ นการทาความดีซึ่งเกิดขึ้นมาเพราะต้องการเห็นผู้อื่นพ้นทุกข์หรือการช่ว ย เห ลื อ โ ด ย ไ ม่ ห วัง สิ่ ง ใ ด ต อ บ แ ท น เพี ย ง แ ค่ อ ยู่ เ ฉ ย ๆ ไม่อาฆาตพ ยาบาทก็เป็ นการสร้างกรรมดีแล้ว หรือแม้แต่คนที่มีศัต รู หรือคู่อาฆาต ห รือค น ที่ เค้าท าให้เราเจ็ บช้ า แ ต่เราไม่ อาฆ าต เค้า เร าให้อ ภัย และอโหสิกรรมให้ สิ่งเหล่านี้ก็ล้วนแต่เป็นการสร้างกรรมดี กรรมดีครอบคลุมถึงอะไรบ้าง?
  • 25. ห น้ า | 20  การเปลี่ยนน้าหน้าพระ ทาความสะอาดหิ้งพระ  การดูแลบุพการี การเลี้ยงดูบุตรตามหน้าที่ และกาลังความสามารถ  การทาหน้าที่เป็นคนในสังคมที่ดี ไม่จาเป็ นต้องเป็ นการส วด มนต์ การไห ว้พ ระ ห รือการนั่ งสมาธิ แ ต่ ก า ร ส ว ด ม น ต์ ห รื อ ก า ร นั่ ง ส ม า ธิ เป็ น ก า ร ท า บุ ญ ขั้ น สู ง เป็ น การท าบุ ญ ที่ เราเรีย กกัน ว่า "ปฏิบัติบูช า" ไม่ต้องใช้ เงิน ต รา แค่พาสังขารนี้ไปนมัสการ พระรัตนตรัย และสิ่งที่เราได้รับกลับมาก็คือ "สติ และปัญญา" กรรมดีมีมากมาย เพี ย งแต่เราไม่คิด ร้ายกับผู้อื่น ไม่อิจฉาริษย า ไม่อยากได้ในสมบัติของผู้อื่น ไม่นอกใจ นอกใจคู่สมรส ไม่โกหก ปลิ้นปล้อน กะล่อน หรือไม่ยุ่งเกี่ย วกับอบายมุขทั้งปวง สิ่งเหล่านี้ล้วนครอบค ลุม กิจวัตรประจาวันของเราหลายๆ ได้ กรรมดีไม่จาเป็ นต้องเข้าวัด ขอแค่เพียงทาความเข้าใจกับธรรมะเพราะ " ธ ร ร ม ะ คื อ ธ ร ร ม ช า ติ " ไ ม่ ใ ช่ ก า ร ฝื น ธ ร ร ม ช า ติ ห รื อฝื น ก ารเป็ น ตัว เรา ท าอ ะไร ที่ เป็ น ป ก ติ แ ล ะไม่ล ะเมิด ผู้อื่ น เท่านี้ก็เป็นการสร้างกรรมดีแล้ว เกณฑ์ตัดสินว่ากรรมใดเป็ นกรรมดี มีชื่อทางธรรมว่า " กุศลกรรมบถ ๑๐ " ประกอบด้วยเกณฑ์ ๓ ทาง คือ ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ดังนี้ ๑. กายกรรม ๓ ประการ  ไม่ฆ่าหรือทาลายชีวิตผู้อื่น  ไม่ลักขโมย หรือยึดเอาทรัพย์ของผู้อื่นมาเป็นของตน  ไม่ประพฤติผิดในกาม ๒. วจีกรรม ๔ ประการ  ไม่พูดเท็จ  ไม่พูดส่อเสียด  ไม่พูดคาหยาบคาย  ไม่พูดเพ้อเจ้อ ๓. มโนกรรม ๓ ประการ  ไม่โลภอยากได้ของคนอื่น  ไม่คิดพยาบาทปองร้ายผู้อื่น  เห็นชอบตามคลองธรรม
  • 26. ห น้ า | 21 กรรมชั่ว กรรมชั่วมีมากมายหลายอย่าง แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงทุจริต ๓ ชนิด รวม ๑๐ อย่าง คือ ๑. กายทุจริต ได้แก่ ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม ๒. วจีทุจริต ได้แก่ พูดเท็จ พูดคาหยาบ พูดส่อเสียด พูดเพ้อเจ้อ ๓. มโนทุจริต ได้แก่ อยากได้ของเขาในทางไม่ชอบ ปองร้ายเขา มีความเห็นผิด (เช่น ทานไม่มีผล กรรม ดีกรรมชั่วไม่มีผล นรกสวรรค์ไม่มี พ่อแม่ไม่มีบุญคุณ) เมื่ อ แ บ่ ง ย่ อ ย อ อ ก ไ ป อี ก คื อ ฆ่ า สั ต ว์ ด้ ว ย ต น เอ ง ชักชวนผู้อื่นในการฆ่าสัตว์ พอใจในการฆ่าสัตว์ กล่าวสรรเสริญการฆ่าสัตว์ กล่าวสรรเสริญความเห็นผิด รวม ๔๐ เรียกว่า อกุศลกรรมบถ ๔๐ อันได้แก่ ๑. ทาร้ายสิ่งมีชีวิต ฆ่าสัตว์ ๒. ขโมย ลักทรัพย์ ฉ้อโกง ๓. ประพฤติผิดในกาม ๔. โกหก หลอกลวง ๕. พูดส่อเสียด ดูถูก ๖. พูดหยาบ ๗. พูดเพ้อเจ้อ นินทา ๘. เพ่งเล็งอยากได้ของเขา ๙. คิดร้ายผู้อื่น ผูกพยาบาท ๑๐. เห็นผิดจากความจริง เห็นกงจักรเป็นดอกบัว
  • 27. ห น้ า | 22 ก ร ร ม ชั่ ว ย่ อ ม น า ไ ป สู่ คุ ก ต ะ ร า ง ห รื อ น ร ก ค ว ร เว้น เสี ย และควรเว้นอบายมุขซึ่งเป็ นเหตุให้ฉิบหาย เช่น น้าเมา การพนัน คนชั่ว ความเกียจคร้าน เป็นต้น วันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ตารางกิจกรรม เวลา กิจกรรมที่ต้องทา ๐๕.๐๐ น. ตื่นนอน ๐๕.๓๐ น. ทาวัตรเช้า ๐๖.๓๐ น. ออกกาลังกายตอนเช้า ๐๗.๓๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. ใส่บาตร ๐๙.๐๐ น. พักเบรก ๑๐.๐๐ น. ฟังเทศน์ ๑๑.๓๐ น. รับประทานอาหารเที่ยง และเก็บสัมภาระ
  • 28. ห น้ า | 23 ๑๓.๐๐ น. ทากิจกรรมนันทนาการ ๑๖.๐๐ น. ออกเดินทางกลับ สิ่งที่ได้เรียนรู้ นรก-สวรรค์ พระพุทธศาสนา พูดเรื่องนี้ไว้เป็น ๓ ระดับ ระดับที่ ๑. นรก-สวรรค์ ภายหลังการตาย สาหรับประเด็นนี้ตามพระไตรปิฎก เมื่อตีความตามตัวอักษรแล้ว ก็ ต้ อ ง บ อ ก ว่ า มี วิ ธี ล ง โ ท ษ ใ น น ร ก ด้ ว ย ป ร ะ ก า ร ต่ า ง ๆ มีในพาลบัณฑิตสูตรและเทวทูตสูตร โดยมากพูดถึงนรกไม่ค่อยพูดถึงสวรรค์ นอกจากนี้ยังมีบางแห่งพูดถึงอายุเทวดาในชั้นต่างๆ เช่น ชั้นจาตุมหาราช หรือชั้นโลกบาล ๔ ชั้นดาวดึงส์ ชั้นยามา ชั้นดุสิต ชั้นนิมมานรดี และ ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี ยังมีอายุมนุษย์ ถึงรูปพรหม แสดงไว้ในฝ่ายพระอภิธรรม ระดับที่ ๒. นรก-สวรรค์ ที่อยู่ในใจ "ส ว ร ร ค์ ใ น อ ก น ร ก ใน ใ จ" เป็ น เรื่ อ ง ที่ มี ใน ช าตินี้ น รก - สวรรค์แม้ในชาติหน้า มันก็สืบไปจากที่มีในชาตินี้ระดับจิตของเราอยู่แค่ไหน เวลาต าย โด ยทั่วไปถ้าไม่ใช่กรณี ย กเว้น มันก็อยู่ในระดับนั้นแห ละ ส่ ว น ใ น ก ร ณี ย ก เ ว้ น ถ้ า เ ว ล า ต า ย นึ ก ถึ ง อ า ร ม ณ์ ที่ ดี เช่นทากรรมชั่วมามากแต่เวลาตายนึกถึงสิ่งที่ดี ก็ไปเกิดดีได้ ถ้าหากเวลาอยู่ ทากรรมดีแต่เวลาตายเกิดจิตเศร้าหมองระดับจิตก็จะตกลงไปได้เกิดในที่ต่า"
  • 29. ห น้ า | 24 ระดับที่ ๓. นรก-สวรรค์ แต่ละขณะจิต ต า ม ห ลัก วิ ช า ก า ร คื อ ก า ร ที่ เร า ป รุ ง แ ต่ ง ส ร้ า ง น ร ก - สวรรค์ของเราเองตลอดเวลาในชีวิตประจาวัน คือปรุงแต่งด้วยกิเลส มีความดี ความชั่ว มีกุศล อกุศลในจิตของเราเอง หากว่าจิตใจของเรามีภูมิธรรมดี สร้างกุศ ลไว้มาก ทาจิต ใจให้อิ่มเอิบ เป็ น สุข พ ย าย ามมองในแง่ดี ก็รับอารมณ์ที่เป็นสุขไว้ได้มาก ปัจจุบันที่เป็ นอยู่ กลาย เป็ นเรื่องที่เราค วรจะเอาใจใส่มากกว่า เป็ น เ รื่ อ ง ส า คั ญ ม า ก เพ ร า ะ เ ร า ไ ด้ รับ ผ ล อ ยู่ ต ล อ ด เ ว ล า ฉ ะ นั้ น ท่ า น จึ ง ใ ห้ เ อ า ใ จ ใ ส่ น ร ก - สวรรค์ที่มีอยู่ตลอดเวลาที่เราปรุงแต่งอยู่เรื่อยๆนั้นจะสอนให้เรายกระดับจิตขึ้น ไป ก ารมีปัญ ญ ารู้เท่าทันสิ่งต่างๆ ท าให้เราเข้าใจโลกแ ละชี วิต ดี ทาให้วางท่าทีต่อสิ่งทั้งหลายถูกต้อง ในกรณี อย่างนี้ท่านว่า มันพ้นเลย
  • 30. ห น้ า | 25 จากเรื่องนรก-สวรรค์ไปแล้ว คือมีจิตใจปลอดโปร่ง แจ่มใสตลอดเวลา มีความสบายทันตาในปัจจุบัน ไม่ต้องพูดถึงข้างหน้า" ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก ( ม ห า ป ริ ฬ า ห น ร ก ) บ อ ก ว่า น ร ก - สวรรค์ที่ว่านั้ นไม่สาคัญ เท่านรก-สวรรค์ ที่เราได้รับอยู่ในปัจจุบัน ที่เราปรุงแต่งด้วยอายตนะทั้ง ๖ โดยพื้นจิตของเราสร้างขึ้นมา การสร้างนรก-สวรรค์ใหญ่ๆ มันก็มาจากสร้างเล็กๆ น้อยๆ นี้เอง สร้างจิตใจของเราให้ดี ทาอารมณ์ให้ดี ค่อยเป็นค่อยไป ท่าทีของพุทธศาสนาต่อเรื่อง นรก-สวรรค์ ก า ร ว า ง ท่ า ที เป็ น หั ว ข้ อ ที่ อ า ต ม า บ อ ก แ ล้ ว ว่ า ส า คั ญ ก า ร ว า ง ท่ า ที ส า คั ญ ก ว่ า ค ว า ม มี จ ริ ง ห รื อ ไ ม่ แต่มันจะไปเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับนรก-สวรรค์ระดับที่ ๓ ท่าทีที่ ๑ ต้องมีศรัทธา พุทธศาสนานั้น บอกว่าให้เชื่ออย่างมีเหตุผล สาหรับสิ่งที่พิสูจน์ไม่ได้ ใน เมื่ อ จะ ต้อง เอาท าง "ศ รัท ธ า" ก็ ให้ ได้ห ลัก ก่อ น ศ รัท ธ า คื อ ก า ร ไ ว้ ว า ง ใ จ ใ น ปั ญ ญ า ข อ ง ผู้ อื่ น ห รื อ พู ด ใ น แ ง่ ห นึ่ ง คื อ เ ร า ฝ า ก ปั ญ ญ า ไ ว้ กั บ ค น อื่ น การที่จะวางใจปัญญาของผู้อื่นได้ต้องพิจารณาในขั้นแรกที่ "ตัวปัญญา" นั้น เราคิดว่าสิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสมานั้น เท่าที่เรามองเห็น ก็เป็ นความจริง เราจึงเห็นว่าพระองค์มีปัญญาพอที่เราจะฝากปัญญาของเราไว้กับท่านได้ เราจึงเกิด ศ รัทธ าขึ้นเป็ นขั้นแรก ขั้นที่สอง คือ "ความปรารถนาดี" พระพุ ทธเจ้ามีความปรารถนาดี มีเมตตากรุณา สอนเราด้วยใจบริสุทธิ์ พระองค์สอนเรื่อง นรก-สวรรค์ว่าชาติหน้ามีจริงหรือเปล่า ถ้าเรามีศรัทธา เราก็น้อมไปทางเชื่อ เรื่องก็เป็นอย่างนั้น ท่าทีที่ ๒ ถือตามเหตุผล เป็ นท่าทีที่ "ยังไม่มีศ รัทธ า" พ ระพุ ทธเจ้าได้ต รัสกาลามสูต ร และได้ย ก ตัวอย่ างซึ่ งมาเข้าเรื่องน รก-ส วรรค์ กรรม ดี-กรรม ชั่ ว ท ร งส อ น ให้ พิ จ าร ณ า ใน ปัจ จุ บัน นี้ ว่า สิ่งที่ ดี งาม สิ่งที่ เป็ น กุ ศ ล ทาแล้วมันเกื้อกูลแก่ชีวิตของตนเองในปัจจุบันไหม มันดีแก่ตัวเราไหม ดีต่อผู้อื่นไห ม ทาแล้วถ้านรก-สวรรค์มีจริง เราก็ไม่ต้องไปต กนรก ได้ไปสวรรค์ สรุปในแง่นี้ได้ว่า ถึงแม้ไม่ต้องใช้ศรัทธา เอาตามเหตุผล ก็ควรทากรรมดี ละเว้นกรรมชั่ว นี้เป็นแนวทางกาลามสูตร
  • 31. ห น้ า | 26 ท่าทีที่ ๓ มั่นใจตน -ไม่อ้อนวอน ใน ทางพุ ท ธ ศ าสน า ค น ทาดี ไม่ต้องอ้อนวอน ข อ ไป สวรรค์ เพ ราะมัน เป็ น ไปต ามกฎธ รรมด า เพี ยงแต่รู้ไว้ แ ละมั่นใจเท่านั้ น พุทธศาสนิกชนเรามีความรู้ไว้สาหรับให้เกิดความมั่นใจตนเอง ท่าทีที่ ๔ ไม่หวังผลตอบแทน พุทธศาสนาสอนต่อไปอีกระดับหนึ่งว่าถ้าเรายังทาดีเพราะหวังผลอยู่ก็เรี ย ก ว่ า เ ป็ น โ ล กี ย ปุ ถุ ช น คนของพุทธศาสนาที่แท้จริงต้องเป็ นคนทาความดีโดยไม่ต้องห่วงผ ล เมื่ อ เร า ท า จิต ข อ ง เร า ใ ห้ ป ร ะ ณี ต ขึ้ น พ อ มัน ล ะเอี ย ด อ่ อ น ขึ้ น สิ่งที่กระทาไว้แม้เป็นเรื่องเล็กน้อย มันก็ปรากฏผลได้ง่าย สวรรค์ ส ว ร ร ค์ คื อ ภู มิ อั น เ ป็ น ที่ อ ยู่ ข อ ง เ ท ว ด า เ ป็ น โ ล ก ที่ อ ยู่ อ า ศั ย ข อ ง ก า ย ล ะ เ อี ย ด อั น เ ป็ น ทิ พ ย์ ที่มีรัศมีสว่างไสวรอบกายตลอดเวลา มีทั้งหมด ๖ ชั้น เ ห ตุ ที่ ท า ใ ห้ ม า เ กิ ด เ ป็ น เ ท ว ด า เ พ ร า ะ ไ ด้ ส ร้ า ง บุ ญ กุ ศ ล ไ ว้ เ มื่ อ ค รั้ ง ยั ง เ ป็ น ม นุ ษ ย์ เมื่ออุบัติขึ้นก็ตั้งอยู่ในวัยหนุ่มสาวทันที งดงามตลอดเวลา จนกว่าจะถึงเวลาจุติ ไม่มีความแก่บังเกิดขึ้นเหมือนในเมืองมนุษย์ วิมานปราสาท คือ ที่อยู่อาศัยของเทวดา ล้วนมีความวิจิตรงดงาม มีขนาดแตกต่างกัน มีความเป็ นอยู่สะดวกสบาย มีอาหารทิพย์บังเกิดขึ้น มีบริวารคอยรับใช้ใกล้ชิด เสื้อผ้าเป็ นทิพย์ วิจิตรงดงาม บังเกิดขึ้นให้สวมใส่ กิจกรรมแต่ละวันก็มีการเที่ยวเพลิดเพลินบันเทิงอยู่กับการชมสวน การสังสรรค์กัน ระห ว่างทวย เทพ ทั้งห ลาย ส่วนจะอุบัติขึ้น ณ สวรรค์ชั้น ไห น เป็ น เทวด าประเภทใด และอยู่ใน ฐาน ะอะไรนั้ น ก็ ขึ้ น อ ยู่ กั บ บุ ญ ที่ ตั ว เอ ง สั่ ง ส ม ม า เ มื่ อ ค รั้ ง ยั ง เ ป็ น ม นุ ษ ย์ ซึ่งได้มีกล่าวไว้ในพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๗ เรื่อง ทานสูตร สรุปย่อได้ดังนี้ เกิ ด บ น ส ว ร ร ค์ ชั้ น จ า ตุ ม ห า ร า ชิ ก า มี จ า ก ห ล า ย ส า เห ตุ คือเมื่อครั้งเป็นมนุษย์ทาบุญไม่ค่อยเป็นไม่รู้หลักการทาบุญและไม่ค่อยได้สั่งส ม บุ ญ น า น ๆ ท าค รั้งห นึ่ ง เมื่ อ ท า ก็ ท าน้ อ ย ห รื อ ท าบุ ญ เอ า คุ ณ บุ ญ ที่ ไ ด้ ก็ ไ ม่ บ ริ สุ ท ธิ์ ไ ม่ ส ม บู ร ณ์ บาปในตัวก็มีอยู่แต่ว่าบุญมากกว่าเมื่อละโลกใจนึกถึงบุญก่อนก็ไปสวรรค์ชั้นนี้ ซึ่งตั้งอยู่ ณ เชิงเขาสิเนรุ ส ว ร ร ค์ ชั้ น นี้ จ ะ มี ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ม า ก ที่ สุ ด เพ ร า ะ อ ยู่ ใ ก ล้ ชิ ด กับ พื้ น ม นุ ษ ย์ ม า ก ก ว่ า ส ว ร ร ค์ ชั้ น อื่ น ๆ
  • 32. ห น้ า | 27 และมีบางส่วนที่มีที่อยู่ซ้อนกับภูมิมนุษย์ ที่ได้ชื่อ สวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา เพราะมีเทพผู้เป็นใหญ่ครองสวรรค์ชั้นนี้อยู่ ๔ พระองค์ คือ ท้าวธตรฐ ปกครองเทวดา ๓ พวก ได้แก่ คนธรรพ์ วิทยาธร กุมภัณฑ์ ท้าววิรุฬหก ปกครองพวกครุฑ ท้าววิรูปักษ์ ปกครองพวกนาค ท้าวเวสสุวรรณ ปกครองพวกยักษ์ เกิดบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ คื อ เมื่ อ ค รั้งเป็ น ม นุ ษ ย์ ท าบุ ญ เพ ร าะเห็ น ว่าเป็ น สิ่ง ดี งา ม เป็ นสิ่งที่ควรทากระทาแล้วก็สั่งสมบุญ สั่งสมเทวธรรม มีหิริโอตตัปปะด้วย เมื่อละโลกก็จะไปบังเกิดบนสวรรค์ชั้นนี้ซึ่งตั้งอยู่ที่หน้าตัดของเขาสิเนรุที่ชื่อว่า ดาวดึงส์ เพ ราะเป็ นที่อยู่ของเทพ ผู้ปกครองภพ ถึง ๓ ๓ องค์ โด ย มี ท้าวสักกเทวราช หรือ พระอินทร์เป็นประธานและที่สาคัญมีพระธาตุจุฬามณี ซึ่งทุกวันพระเทวดาจะมาประชุมกันที่สุธรรมาเทวสภาเพื่อรับฟังโอวาทจากท้า วสักกะ เกิดบนสวรรค์ชั้นยามา คื อ เมื่ อ ค รั้ง เป็ น ม นุ ษ ย์ ท า บุ ญ เพ ร า ะ อ ย า ก จ ะ สื บ ท อ ด แ ล ะ รั ก ษ า ป ร ะ เ พ ณี แ ห่ ง ค ว า ม ดี ง า ม นั้ น ไ ว้ ทานองว่าวงศ์ตระกูลสร้างสมความดีมาอย่างไร ก็อยากจะรักษาประเพณีไว้ หรือผู้หลักผู้ใหญ่สอนอย่างไร บรรพ บุรุษทามาอย่างไรก็ทาอย่างนั้น ทากันไปตามธรรมเนียม เช่น เห็นปู่ย่าสร้างโบสถ์ บารุงวัด สร้างพระประธาน ก็ท าต ามนั้ น ด้วย ห รื อพ ระภิกษุ ที่ รัก ษ าพ ระพุ ท ธ ศ าส น าเอาไ ว้ ตามธรรมเนียมปฏิบัติ ที่พระต้องมีหน้าที่รักษาพระพุทธศาสนา เมื่อละโลกแล้ว ส่วนใหญ่จะไปบังเกิดบนสวรรค์ชั้นนี้ ซึ่งตั้งอยู่สูงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ขึ้นไป เกิดบนสวรรค์ชั้นดุสิต หรือในโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยาเรียกกันว่า ดุสิต บุรี คือ เมื่ อ ค รั้ง ยัง เป็ น ม นุ ษ ย์ ท า บุ ญ เพื่ อ ป ร า ร ถ น า ส ง เค ร าะ ห์ โล ก ป ร า ร ถ น า ใ ห้ ช า ว โ ล ก มี ค ว า ม สุ ข มี ค ว า ม คิ ด ที่ ยิ่ ง ใ ห ญ่ ไม่ใช่ เพื่ อต นเองอย่ างเดี ย ว แต่เพื่ อส งเค ราะห์ โลก เพื่ อน มนุ ษ ย์ และสรรพ สัต ว์ทั้งห ลาย ด้วย เมื่อ ละโลกแ ล้วก็จะไป สวรรค์ ชั้ น นี้ ซึ่งตั้งอยู่สูงถัดจากสวรรค์ชั้นยามาขึ้นไป เกิดบนสวรรค์ชั้นนิมมานรดี