SlideShare a Scribd company logo
คาบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
         กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
              ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
                  จัดทาโดย
       นางพรพรรณ สัมฤทธิตานนท์
         โรงเรียนห้วยสักวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36
ประวัติภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต
              ภาษาบาลี แ ละภาษาสั น สกฤต จั ด อยู่ ภ าษาอิ น เดี ย -ยุ โ รป ซึ่ ง เป็ น
ตระกูลภาษามีวิภัตติปัจจัยพวกอารยันได้เข้ามาในอินเดีย เมื่อประมาณ 1,500
ปี ก่อนคริสตศักราช ( ปรีชา ทิชินพงศ์,2534 : 1 ) นักปราชญ์ทางภาษา ได้
แบ่งภาษาตระกูลอารยันในอินเดียออกเป็น 3 สมัย ดังนี้
              1. ภาษาสมัยเก่า หมายถึงภาษาที่ใช้ในคัมภีร์พระเวท ได้แก่ คัมภีร์
ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท และอาถรรพเวท รวมตลอดทั้งคัมภีร์อุปนิษัท ซึ่ง
เป็ น คั ม ภี ร์ สุ ด ท้ า ยของคั ม ภี ร์ พระเวท (เวทานต์ ) ภาษาที่ ใ ช้ ใ นคั ม ภี ร์ ต่ า งๆ
เหล่านี้จะมีความเก่าแก่ลดหลั่นกันมาตามลาดับ ภาษาสันสกฤตก็จัดอยู่ใน
สมัยนี้ด้วย
2. ภาษาสมัยกลาง ได้แก่ ภาษาปรากฤตซึ่ งเป็นภาษาถิ่นของชาว
อารยันที่ใช้กันท้องถิ่นต่างๆของประเทศอินเดีย เช่น ภาษามาคธี มหาราษฏรี
เศารเสนี เป็นต้น ภาษาในสมัยนี้มีลักษณะโครงสร้างทางเสียง และนอกจาก
จะเรียกว่าภาษาปรากฤตแล้วยังมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ภาษาการละคร”
เพราะเหตุที่นาไปใช้เป็นภาษาพูดของตัวละครบางตัวในบทละครสันสกฤต
ด้วย
                3. ภาษาสมั ย ใหม่ ได้ แ ก่ ภาษาต่ า งๆในปั จ จุ บั น เช่ น ภาษาฮิ น ดี
เบงกาลี ปัญจาบี มราฐี เนปาลี เป็นต้น ภาษาเหล่านี้แม้จะเข้าใจกันว่าสืบมา
จากภาษาปรากฤต แต่มีลักษณะของภาษาผิดกันมาก เพราะมีภาษาตระกูลอื่น
ที่ ไ ม่ ไ ด้ สื บ มาจากภาษาของชาวอารยั น เข้ า ไปปะปนกั น มากบ้ า งน้ อ ยบ้ า ง
แล้วแต่เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
ภาษาสันสกฤต
            ภาษาสันสกฤต เป็นภาษาที่มีวิวัฒนาการมาจากภาษาในคัมภีร์พระเวท
ของชาวอารยัน ถือเป็นภาษาที่ศักดิ์สิทธิ์ของคนชั้นสูง แต่เดิมนั้นไม่ได้มีการวาง
หลักเกณฑ์เคร่งครัดนัก ต่อมาเมื่อระยะเวลาล่วงไปนานๆ ประกอบกับภาษาใน
คัมภีร์พระเวทนี้มีภาษาพื้นเมืองปะปนอยู่มาก เป็นเหตุให้หลักเกณฑ์ต่างๆ ของ
ภาษานี้ ค ลาดเคลื่ อนไปมาก จนกระทั่ ง ได้ มี นัก ปราชญ์ ข องอิ น เดี ย คนหนึ่ง ชื่ อ
“ปาณินิ” ได้ศึกษาคัมภีร์พระเวททั้งหลาย แล้วนามาแจกแจงวางหลักเกณฑ์ให้เป็น
ระเบียบและรัดกุม แต่งเป็นตาราไวยากรณ์ขึ้นเรียกชื่อว่า “อัษฎาธยายี” ซึ่งได้ชื่อ
ว่าเป็นตาราไวยากรณ์เล่มแรกที่แต่งได้ดีที่สุดและมีชื่อเสียงไปทั่วโลก และต่อมา
ได้มีผู้เรียกภาษาที่ปาณินิได้จัดระเบียบของภาษาไว้เป็นอย่างดีและสมบูรณ์ที่สุดนี้
ว่า “สันสกฤต” ซึ่งแปลตามศัพท์ว่า “สิ่งที่ได้จัดระเบียบและขัดเกลาเรียบร้อยดี
แล้ว ”
แต่กฎเกณฑ์ที่ปาณินิได้วางไว้นี้กลับเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ภาษาสันสกฤตไม่
มีวิวัฒนาการเหมือนภาษาอื่นๆ เพราะนอกจากภาษาสันสกฤตจะถือว่าเป็น
ภาษาที่ศักดิ์สิทธิ์ ใช้ในหมู่ของนักปราชญ์ โดยเฉพาะกษัตริย์และพราหมณ์ที่
เป็นบุรุษเพศ กฎเกณฑ์และรายละเอียดปลีกย่อยยังทาให้ไม่เอื้อต่อการใช้ จึงทา
ให้ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาตายในที่สุด
ภาษาบาลี
    ภาษาบาลี เป็นภาษาปรากฤตภาษาหนึ่งที่มีวิวัฒนาการมาจากภาษาพระเวท
ภาษาบาลี คือ ภาษาที่ชาวมคธใช้พูดกันในแคว้นมคธ เรียกว่า “ภาษามาคธี”
พระพุทธเจ้าทรงใช้ภาษานี้ประกาศพระศาสนาของพระองค์ ภาษามาคธีนี้
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ( เจิม ชุมเกตุ, 2525:3 )
     1. สุทธมาคธี เป็นภาษาของชนชั้นสูง คือภาษาของกษัตริย์หรือภาษาทาง
ราชการ
     2. เทสิยาหรือปรากฤต ได้แก่ ภาษาประจาถิ่น
พระพทุ ธ เจ้ า ทรงใช้ สุ ท ธมาคธี เ ป็ น หลั ก ในการประกาศค าสั่ ง สอนของ
พระองค์ และในสมัยนั้นทรงเผยแผ่พระธรรมด้วยวิธี มุขปาฐะ โดยมิได้มี
บันทึกหรือเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร ภาษาบาลีนี้นามาใช้บันทึกพุทธวจนะ
เป็นลายลักษณ์อักษรเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ 3
ปรากฏเป็นหลักฐานครั้งแรกในจารึกพระเจ้าอโศกมหาราช ถือเป็นภาษาประจา
พุทธศาสนานิกายหินยาน ส่วนศาสนานิกายมหายานใช้ภาษาสันสกฤตบันทึก
พุทธวจนะ (สุภาพร มากแจ้ง,2535 : 4 ) และต่อก็ใช้ภาษาบาลีจารึกพระธรรมลง
ในพระไตรปิฎก ซึ่งเป็นตาราหลักทางพระพุทธศาสนาอย่างไรก็ตาม ภาษาบาลีก็มี
ลักษณะเช่นเดียวกันกับภาษาสันสกฤต คือใช้เป็นภาษาเขียนในพระไตรปิฎกของ
พุ ท ธศาสนาเท่ า นั้ น ไม่ ไ ด้ ใ ช้ พู ด หรื อ ใช้ เ ขี ย นในชี วิ ต ประจ าวั น จึ ง ไม่ มี ก าร
เจริญเติบโต ไม่มีวิวัฒนาการเหมือนกับภาษาอื่นๆและกลายเป็นภาษาตายในที่สุด
เหตุที่คาภาษาบาลีและสันสกฤตเข้ามาปะปนในภาษาไทย
            เมื่อพระพุทธศาสนาได้แพร่เข้ามาในสู่ประเทศไทย และคนไทยได้
ยอมรับนับถือศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจาชาติ คนไทยจึงจาเป็นต้องเรียน
ภาษาบาลีและสันสกฤต เพราะคาสอนทางศาสนาเป็นภาษาบาลีและสันสกฤต
ดังนั้นจึงได้เกิดคาภาษาบาลีและสันสกฤตใช้ในภาษาไทยมากขึ้น นอกจากการ
รับนับถือศาสนาพุทธแล้ว ไทยยังได้รับเอาความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี
พิ ธี ก รรมต่ า งๆรวมทั้ ง วรรณคดี บ าลี แ ละสั น สกฤตเข้ า มาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ
วัฒนธรรมไทย ซึ่งเป็นส่วนทาให้เรารับคาภาษาบาลีและสันสกฤตซึ่งเป็นคาที่
เกี่ยวเนื่องกับสิ่งต่างๆเหล่านั้น เข้ามาใช้ในภาษาไทย
            สุ ธิ ว งศ์ พงษ์ บู ล ย์ (2523 : 5) ได้ ก ล่ า วถึ ง เหตุ ที่ ค าภาษาบาลี แ ละ
สันสกฤตเข้ามาปนอยู่ในภาษาไทยว่าเนื่องมาจากเหตุผลหลายประการ สรุปได้
ดังนี้
1.ความสัมพันธ์ทางด้านศาสนา
   เมื่อศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธเผยแพร่เข้ามาสู่ประเทศไทยศาสนา
พราหมณ์ใช้ภาษาสันสกฤตและศาสนาพุทธใช้ภาษาบาลีในการเผยแผ่ศาสนา
ไทยได้รับศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจาชาติและรับคติของศาสนาพราหมณ์มา
ปฏิบัติในชีวิตประจาวัน โดยเฉพาะในลัทธิธรรมเนียมประเพณีต่างๆ เราจึง
รับคาในลัทธิทั้งสองเข้ามาใช้ในลักษณะของศัพท์ทางศาสนาและใช้เป็นศัพท์
สามัญทั่วไปในชีวิตประจาวัน
   2.ความสัมพันธ์ทางด้านประเพณี
   เมื่อชนชาติอินเดียได้เข้ามาตั้งรกรากในประเทศไทย ก็นาเอาประเพณีของ
ตนเข้ามาปฏิบัติทาให้มีคาที่เนื่องด้วยประเพณีเข้ามาปะปนในภาษาไทย และ
นานเข้ า ก็ ไ ด้ ก ลายเป็ น ค าที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ชี วิ ต ประจ าวั น ของคนไทย เช่ น
ตรียัมปวาย มาฆบูชา ตักบาตรเทโว ดิถี กระยาสารท เทศน์มหาชาติ กฐิน
จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ฉัตรมงคล พืชมงคล เป็นต้น
3. ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรม
   อินเดียเป็นประเทศที่เจริญทางด้านวัฒนธรรมมานาน อิทธิพลทางด้าน
วัฒนธรรมของอินเดียมีต่อนานาประเทศทางภาคพื้นตะวันออกก่อนที่
วัฒนธรรมตะวันตกจะเข้ามา ไทยได้รับอิทธิพลของอินเดียทุกสาขา เช่น
              3.1 ศิลปะ ศิลปะไทยได้รับอิทธิพลจากอินเดียทั้งโดย
    ทางตรงและทางอ้อม เช่น ทางดนตรีและนาฏศิลป์ ภาษาที่ใช้เนื่อง
    ด้วยเป็นศิลปะจึงเข้ามาปะปนในภาษาไทย เช่น มโหรี ดนตรี ปี่
    พาทย์
              3.2 ดาราศาสตร์ อินเดียมีความเจริญทางด้านดาราศาสตร์มา
    ช้านานจนมีตาราเรียนกัน เมื่อวิชานี้แพร่หลายเข้ามาในประเทศไทย
    ท าให้ ค าต่ า งๆที่ เ กี่ ย วข้ อ งเกิ ด ขึ้ น เป็ น จ านวนมาก เช่ น สุ ริ ย คติ
    จันทรคติ จันทรคราส
              3.3 การแต่งกาย ศัพท์ทางด้านวัฒนธรรมการแต่งกายที่ได้
    รับมาส่วนใหญ่เป็นเครื่องทรงของพระมหากษัตริย์ เช่น มงกุฎ ชฎา
    สังวาล
4. ความสัมพันธ์ทางด้านวิชาการ
    เนื่องจากวิทยาศาสตร์และวิทยาการเจริญกว้างขวางขึ้นทาให้คาที่เราใช้
อยู่เดิมแคบเข้า จึงจาเป็นต้องรับคาบาลี สันสกฤต เข้ามาใช้ เพื่อความ
เจริญและความสะดวก เช่น วิทยุ โทรทัศน์ แพทย์ เภสัช ฯลฯ
    5. ความสัมพันธ์ทางด้านวรรณคดี
    วรรณคดีอิ น เดี ยมี อิ ท ธิ พลต่ อ วรรณคดี ไทยเป็ นอย่ า งยิ่ง ทั้ งวรรณคดี
สันสกฤต และวรรณคดีที่เนื่องมาจากชาดกในพระพุทธศาสนาเมื่อเรารับ
เอาวรรณคดีเหล่านี้เข้ามา จึงมีศัพท์ต่างๆที่เกี่ยวกับวรรณคดีเหล่านี้เข้ามา
มากมาย เช่น ครุฑ สุเมรู หิมพานต์
ลักษณะของภาษาบาลีและสันสกฤต
    ภาษาบาลีและสันสกฤตอยู่ในตระกูลภาษาที่มีวิภัตปัจจัย คือเป็นภาษาที่ที่มีคา
เดิมเป็นคาธาตุ เมื่อจะใช้คาใดจะต้องนาธาตุไปประกอบกับปัจจัยและวิภัตติ เพื่อ
เป็ น เครื่ อ งหมายบอกพจน์ ลึ ง ค์ บุ รุ ษ กาล มาลา วาจก โครงสร้ า งของภาษา
ประกอบด้วย ระบบเสียง หน่วยคา และระบบโครงสร้างของประโยค ภาษาบาลี
และสั น สกฤตมี ห น่ ว ยเสี ย ง 2 ประเภท คื อ หน่ ว ยเสี ย งสระและหน่ ว ยเสี ย ง
พยัญชนะ ดังนี้
    1. หน่วยเสียงสระ
    หน่วยเสียงสระภาษาบาลีมี 8 หน่วยเสียง คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
    หน่วยเสียงภาษาสันสกฤต ตรงกับภาษาบาลี 8 หน่วยเสียง และต่างจากภาษา
บาลีอีก 6 หน่วยเสียง เป็น 14 หน่วยเสียง คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ไอ เอา ฤ ฤา ฦ
ฦๅ
2. หน่วยเสียงพยัญชนะ
  หน่ ว ยเสี ย งพยั ญ ชนะภาษาบาลี มี 33 หน่ ว ยเสี ย ง ภาษาสั น สกฤตมี 35
หน่วยเสียง เพิ่มหน่วยเสียง ศ ษ ซึ่งหน่วยเสียงพยัญชนะทั้งสิงภาษานี้แบ่ง
ออกเป็น 2 ประเภทคือ พยัญชนะวรรค และพยัญชนะเศษวรรค
วิธีสังเกตคาบาลี
1. สังเกตจากพยัญชนะตัวสะกดและตัวตาม
   ตัว สะกด คือ พยั ญ ชนะที่ ประกอบอยู่ ข้า งท้า ยสระประสมกั บสระและ
พยัญชนะต้น เช่น ทุกข์ = ตัวสะกด
   ตัวตาม คือ ตัวที่ตามหลังตัวสะกด เช่น สัตย สัจจ ทุกข เป็นต้น คาใน
ภาษาบาลีจะต้องมีสะกดและตัวตามเสมอ โดยดูจากพยัญชนะบาลี มี 33 ตัว
แบ่งออกเป็นวรรคดังนี้
แถวที่    1       2         3       4       5
วรรค กะ   ก       ข         ค   ฆ       ง
วรรค จะ   จ       ฉ         ช   ฌ       ญ
วรรค ฏะ   ฏ       ฐ         ฑ   ฒ       ณ
วรรค ตะ   ต       ถ         ท   ธ       น
วรรค ปะ   ป       ผ         พ   ภ       ม
เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ อัง
มีหลักสังเกต ดังนี้
    - พยัญชนะตัวที่ 1 , 3 , 5 เป็นตัวสะกดได้เท่านั้น (ต้องอยู่ในวรรค
เดียวกัน)
    - ถ้าพยัญชนะตัวที่ 1 สะกด ตัวที่ 1 หรือตัวที่ 2 เป็นตัวตามได้ เช่น สักกะ
ทุกข์ สัจจะ ปัจฉิม สัตต หัตถ์ บุปผา เ ป็นต้น
    - ถ้าพยัญชนะตัวที่ 3 สะกด ตัวที่ 3 หรือ 4 เป็นตัวตามได้ในวรรคเดียวกัน
เช่น อัคคี พยัคฆ์ วิชชา อัชฌา พุทธ คพภ (ครรภ์)
    - ถ้าพยัญชนะตัวที่ 5 สะกด ทุกตัวในวรรคเดียวกันตามได้ เช่น องค์
สังข์ องค์ สงฆ์ สัมปทาน สัมผัส สัมพันธ์ สมภาร เป็นต้น
    - พยัญชนะบาลี ตัวสะกดตัวตามจะอยู่ในวรรคเดียวกันเท่านั้นจะข้ามไป
วรรคอื่นไม่ได้
2. สังเกตจากพยัญชนะ “ฬ” จะมีใช้ในภาษาบาลีในไทยเท่านั้น เช่น
จุฬา ครุฬ อาสาฬห์ วิฬาร์ โอฬาร์ พาฬ เป็นต้น
           3. สังเกตจากตัวตามในภาษาบาลี จะมาเป็นตัวสะกดในภาษาไทย
โดยเฉพาะวรรค ฎ และวรรคอื่น ๆ บางตัว จะตัดตัวสะกดออกเหลือแต่ตัวตามเมื่อ
นามาใช้ในภาษาไทย เช่น
           บาลี              ไทย              บาลี               ไทย
           รัฎฐ              รัฐ              อัฎฐิ              อัฐิ
           ทิฎฐิ             ทิฐิ             วัฑฒนะ            วัฒนะ
           ปุญญ              บุญ              วิชชา              วิชา
           สัตต              สัต              เวชช               เวช
           กิจจ              กิจ              เขตต               เขต
           นิสสิต            นิสิต            นิสสัย             นิสัย
           ยกเว้นคาโบราณที่นามาใช้แล้วไม่ตัดรูปคาซ้าออก เช่น ศัพท์ทางศาสนา
ได้แก่ วิปัสสนา จิตตวิสุทธิ์ กิจจะลักษณะ เป็นต้น
วิธีสังเกตคาสันสกฤต
     1.พยัญชนะสันกฤต มี 35 ตัว คือ พยัญชนะบาลี 33 ตัว + 2 ตัว คือ ศ, ษ
ฉะนั้นจึงสังเกตจากตัว ศ, ษ มักจะเป็นภาษาสันสกฤต เช่น กษัตริย์ ศึกษา
เกษียร พฤกษ์ ศีรษะ เป็นต้น ยกเว้นคาไทยบางคาที่ใช้เขียนด้วยพยัญชนะ
ทั้ง 2 ตัวนี้ เช่น ศอก ศึก ศอ เศร้า ศก ดาษ กระดาษ ฝรั่งเศส ฝีดาษ ฯลฯ
     2. ไม่มีหลักการสะกดแน่นอน ภาษาสันสกฤต ตัวสะกดตัวตามจะอยู่ข้าม
วรรคกันได้ไม่กาหนดตายตัว เช่น อัปสร เกษตร ปรัชญา อักษร เป็นต้น
   3. สังเกตจากสระ สระในภาษาบาลี มี 8 ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ
โอ ส่วนสันสกฤต คือ สระภาษาบาลี 8 ตัว + เพิ่มอีก 6 ตัว คือ สระ ฤ ฤา
ภ ภา ไอ เอา ถ้ามีสระเหล่านี้อยู่และสะกดไม่ตรงตามมาตราจะเป็นภาษา
สันสกฤต เช่น ตฤณมัย ไอศวรรย์ เสาร์ ไปรษณีย์ ฤาษี คฤหาสน์ เป็นต้น
4.สังเกตจากพยัญชนะควบกล้า ภาษาสันสกฤตมักจะมีคาควบกล้าข้าง
ท้าย เช่น จักร อัคร บุตร สตรี ศาสตร์ อาทิตย์ จันทร์ เป็นต้น
          5.สังเกตจากคาที่มีคาว่า “เคราะห์” มักจะเป็นภาษาสันสกฤต เช่น
เคราะห์ พิเคราะห์ สังเคราะห์ อนุเคราะห์ เป็นต้น
          6. สังเกตจากคาที่มี “ฑ” อยู่ เช่น จุฑา กรีฑา ครุฑ มณเทียร จัณฑาล
เป็นต้น
          7 .สังเกตจากคาที่มี “รร” อยู่ เช่น สรรค์ ธรรม์ วรรณ บรรพต ภรรยา
บรรณารักษ์ มรรยาท กรรม ทรรศนะ สรรพ เป็นต้น
ลักษณะการยืมคาภาษาบาลีและสันสกฤต
        ภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นภาษาตระกูลเดียวกัน ลักษณะภาษาและ
โครงสร้างอย่างเดียวกัน ไทยเรารับภาษาทั้งสองมาใช้ พิจารณาได้ดังนี้
        1. ถ้ า ค าภาษาบาลี แ ละสั น สกฤตรู ป ร่ า งต่ า งกั น เมื่ อ ออกเสี ย งเป็ น
ภาษาไทยแล้วได้เสียงเสียงตรงกันเรามักเลือกใช้รูปคาสันสกฤต เพราะภาษา
สันสกฤตเข้ามาสู่ภาษาไทยก่อนภาษาบาลี เราจึงคุ้นกว่า เช่น
บาลี                                 สันสกฤต                            ไทย
กมฺม                                 กรฺม                               กรรม
จกฺก                                 จกฺร                               จักร
2. ถ้ า เสี ย งต่ า งกั น เล็ ก น้ อ ยแต่ อ อกเสี ย งสะดวกทั้ ง สองภาษา มั ก
เลือกใช้รูปภาษาสันสกฤตมากกว่าภาษาบาลี เพราะเราคุ้นกว่าและเสียงไพเราะ
กว่า เช่น
บาลี                                            สันสกฤต                     ไทย
ครุฬ                                            ครุฑ                        ครุฑ
โสตฺถิ                                          สฺวสฺติ                     สวัสดี
          3. คาใดรูปสันสกฤตออกเสียงยาก ภาษาบาลีออกเสียงสะดวกกว่า จะ
เลือกใช้ภาษาบาลี เช่น
บาลี                                            สันสกฤต                     ไทย
ขนฺติ                                           กฺษานฺติ                    ขันติ
ปจฺจย                                           ปฺรตฺย                      ปัจจัย
4. รูปคาภาษาบาลีสันสกฤตออกเสียงต่างกันเล็กน้อยแต่ออกเสียงสะดวก
ทั้งคู่บางทีเรานามาใช้ทั้งสองรูปในความหมายเดียวกัน เช่น
บาลี                          สันสกฤต                   ไทย
กณฺหา                         กฺฤษฺณา                  กัณหา,กฤษณา
ขตฺติย                        กฺษตฺริย                  ขัตติยะ,กษัตริย์
           5. คาภาษาบาลีสันสกฤตที่ออกเสียงสะดวกทั้งคู่ บางทีเรายืมมาใช้ทั้งสอง
รูป แต่นามาใช้ในความหมายที่ต่างกัน เช่น
บาลี                          สันสกฤต         ไทย ความหมาย
กิริยา                        กฺริยา         กิริยา อาการของคน
                                             กริยา ชนิดของคา
โทส                           เทฺวษ           โทสะ ความโกรธ
                                              เทวษ ความเศร้าโศก
คาภาษาบาลีและสันสกฤตในวรรณคดีไทย
           คาภาษาบาลี แ ละสั นสกฤตปรากฏในวรรณคดี ไทยตั้ง แต่ ส มั ย สุ โ ขทั ย
จนกระทั่งในสมัย ปัจจุบันทั้งที่เป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง คือพบตั้งแต่ในศิลาจารึก
สมั ยพ่อ ขุน รามคาแหงแม้จะมี ไม่มากนั กแต่ก็เป็น หลักฐานยืนยันได้ว่ า ในสมั ย
สุโขทัยนั้นไทยได้นาภาษาบาลีและสันสกฤตมาใช้ในภาษาไทยของเราแล้ว และใน
สมัยต่อมาก็ปรากฏว่านิยมใช้คาภาษาบาลีและสันสกฤตในการแต่งวรรณคดีมากขึ้น
           วิสัณติ์ กฏแก้ว (2529 : 2) ได้กล่าวถึงเหตุที่ทาให้คาบาลีและสันสกฤต
เป็นที่นิยมชมชอบในการนามาใช้ในทางวรรณคดีพอจะสรุปได้ดังนี้
1. วรรณคดี ไ ทยเป็ น วรรณกรรมที่ ถื อ เอาเสี ย งไพเราะเป็ น ส าคั ญ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งวรรณคดีประเภทร้อยกรอง นอกจากจะถือเอาความไพเราะ
ของเสียงเป็นสาคัญแล้ว ในการประพันธ์วรรณกรรมประเภทฉันท์ จะต้องถือคา
ครุ ลหุ เป็นสาคัญอีกด้วย คาที่เป็นเสียงลหุในภาษาไทยมีน้อยมาก จึงจาเป็น
จะต้องใช้ศัพท์ภาษาบาลีและสันสกฤต เพราะสามารถเลือกคา ลหุ ครุ ได้มาก
และสามารถดัดแปลงให้เข้ากับภาษาของเราได้ดี
          ตัวอย่าง
          ข้าขอเทิดทศนัขประณามคุณพระศรี สรรเพชญพระผู้มี พระภาค
          อีกธรรมาภิสมัยพระไตรปิฏกวากย์ ทรงคุณคะนึงมาก ประมาณ
                           (สัททุลวิกกีฬิตฉันท์ 19 – อิลราชคาฉันท์)
2. คนไทยถือว่าคาบาลีและสันสกฤตเป็นคาสูง เพราะเป็นคาที่ใช้เผย
แผ่คาสอนของพระพุทธเจ้า และผู้ที่ใช้คาภาษาบาลีและสันสกฤตส่วนใหญ่อยู่ใน
ฐานะควรแก่การเคารพบูชาทั่วไป เช่น พระสงฆ์ พราหมณ์ เป็นต้น ดังนั้นการ
แต่งฉันท์ที่ถือกันว่าเป็นของสูง จึงนิยมใช้คาบาลีและสันสกฤต
          3. วรรณคดีไทยโดยมากมักจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับจักรๆวงศ์ๆ ซึงจะต้อง
ใช้คาราชาศัพท์ การใช้คาภาษาบาลีและสันสกฤตที่เป็นคาราชาศัพท์จึงมีความ
จาเป็นอย่างยิ่งเช่น พระเนตร พระพักตร์ พระกรรณ เป็นต้น
          4. การใช้คาภาษาบาลีและสันสกฤตแต่งฉันท์ เป็นเครื่องแสดงภูมิรู้
ของผู้แต่งว่ามีความรู้ภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นอย่างดี มีคนเคารพนับถือและ
ยกย่องว่าเป็น “ปราชญ์”
ตัวอย่างคาภาษาบาลีและสันสกฤตทีไทยนามาใช้
                                   ่
               คา                ความหมาย
1.   กมล               ดอกบัว,ใจ
2.   กานดา             งาม,หญิงงาม
3.   กรรม              การกระทาไม่ดี
4.   กฐิน              ผ้าที่ถวายพระที่จาพรรษาแล้ว
5.   กสิกรรม           การทานา,ทาไร่
6.   กักขฬะ            แข็ง,กระด้าง,หยาบ
7.   กิริยา            การกระทา,อาการที่แสดงออกมาด้วย
                       กายมารยาท
8. กาลี                หญิงคนชั่ว
คา                      ความหมาย
9. กภุมพี            คนมั่งมี,คนเลว
10. เขต              แดน
11. จริต             ความประพฤติของผู้หญิง
12. ตัณหา            ความยาก
13. นิมนต์           เชิญพระภิกษุ
14. ภาค              ส่วน
15. สุขุม            ละเอียดอ่อนทางความคิด
16. โอชา             อร่อย
17. เคารพ            ความเคารพ
18. ทักษิณ           ทิศใต้
19. เนตร             ตา
20. ประมาท           เลินเล่อ,ดูหมิ่น
21. ประสิทธิ์        ความสาเร็จ
22. ปราจีน           ทิศตะวันออก
คา                    ความหมาย
23. ทัณฑ์           ลงโทษ
24. พายุ            ลมที่พัดรุนแรง
25.   พืช           พืช,พันธุ์ไม้
26.   มุข           หน้า,ด้านหน้า
27.   วิบาก         ผลไม่ดี
28.   สังหาร        การทาลาย
29.   อุทัย         การขึ้นแห่งแสงอาทิตย์
30.   นาฏ           การฟ้อนรา,นางงาม,สิ่งที่ให้ความบันเทิงใจ
31.   สมร           สนามรบ,หญิงงาม,หญิงทั่วไป
32.   อัสดร         ม้าทั่วไป
33.   ประณาม        การน้อมไหว้,การติเตียน
34.   คติ           ข้อสอนใจ
35.   ทิฐิ          ความดื้อในความเห็น,ความถือดี
เว็บไซต์อางอิง
                           ้
• http://learners.in.th/file/tanuchai.doc
1.คาใดต่อไปนี้เป็นคาภาษาบาลี
1.ปัญหา
2.วัตถุ
3.ปรัชญา
4.พัสดุ
2.คาใดต่อไปนี้เป็นคาภาษาสันสกฤต
1.อัจฉริยะ
2.อัฐ
3. อรรณพ
4.วิสาสะ
3.ข้อใดเป็นคาภาษาบาลีทกคา
                      ุ
1. สามัญ        สามานย์
2. ปริศนา พฤติ
3. พิสดาร วิถาร
4. กิริยา กีฬา
4.ข้อใดเป็นคาภาษาสันสฤตทุกคา
1. ทฤษฎี อุทยาน
2. มโน ทรัพย์
3. สูญ ปรัชญา
4. อาสา ปัญญา
5.ข้อใดเป็นคาภาษาบาลี
1. เจดีย์
2. โกรธ
3.. ครุฑ
4. ศูนย์
6.ข้อใดจับคู่คาภาษาบาลี-สันสกฤตได้ถูกต้อง
1.. วุฒิ – รัฐ
2.. เขม – เกษม
3. อัคคี – สวัดดี
4. อิสิ – ฤดู
7.ข้อใดจับคู่คาภาษาบาลี-สันสกฤตได้ถูกต้อง
1. อักขร – อัปสร
2. กริยา – วิยา
3. สันติ – ศานติ
4. สัจ –ศรัทธา
8.คาภาษาบาลี-สันสกฤตข้อใดจับคู่ผิด
1. สัจ – สัตย์
2. ลักขณ์ – ลักษณ์
3. บุปผา – บุษบา
4. วสา – ฤดู
9.คาภาษาบาลี-สันสกฤตข้อใดจับคู่ผิด
1. สิริ – ศรี
2. รัฐ –ราษฎร์
3. วิตถาร – สามานย์
4. หทัย – หฤทัย
10.คาภาษาบาลี-สันสกฤตข้อใดจับคู่ได้ถุกต้อง
1. มัจฉา – อัปสร
2. อัจฉรา – อัปสร
3. อุตุ – ฤาษี
4. ปัญญา – ศรัทธา
1.ก
 2.ง
 3.ก
 4ค
 5.ง
 6.ก
 7.ก
8.ค
9.ค
10.ข

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
พัน พัน
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
พัน พัน
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางKat Suksrikong
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
ssuser456899
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6
WijittraSreepraram
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
IamPloy JunSeop
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
chatsawat265
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
Visanu Khumoun
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
sripayom
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
Surapong Klamboot
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทยอร ครูสวย
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 

Similar to คำบาลีสันสกฤต

หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยบทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
Gawewat Dechaapinun
 
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
kruteerapongbakan
 
สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59
Manee Prakmanon
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
kingkarn somchit
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
Aj.Mallika Phongphaew
 
Pali and Sanskrit in Thai
Pali   and   Sanskrit  in  ThaiPali   and   Sanskrit  in  Thai
Pali and Sanskrit in Thai
sureeniphachaiseeha
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
01
0101
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
pinyada
 

Similar to คำบาลีสันสกฤต (20)

ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทยภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยบทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
 
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
 
สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
Pali and Sanskrit in Thai
Pali   and   Sanskrit  in  ThaiPali   and   Sanskrit  in  Thai
Pali and Sanskrit in Thai
 
Satthatharachan
SatthatharachanSatthatharachan
Satthatharachan
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
01
0101
01
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 

More from phornphan1111

พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22phornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์phornphan1111
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..phornphan1111
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์phornphan1111
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์phornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 

More from phornphan1111 (8)

พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 

คำบาลีสันสกฤต

  • 1. คาบาลี สันสกฤตในภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จัดทาโดย นางพรพรรณ สัมฤทธิตานนท์ โรงเรียนห้วยสักวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36
  • 2. ประวัติภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต ภาษาบาลี แ ละภาษาสั น สกฤต จั ด อยู่ ภ าษาอิ น เดี ย -ยุ โ รป ซึ่ ง เป็ น ตระกูลภาษามีวิภัตติปัจจัยพวกอารยันได้เข้ามาในอินเดีย เมื่อประมาณ 1,500 ปี ก่อนคริสตศักราช ( ปรีชา ทิชินพงศ์,2534 : 1 ) นักปราชญ์ทางภาษา ได้ แบ่งภาษาตระกูลอารยันในอินเดียออกเป็น 3 สมัย ดังนี้ 1. ภาษาสมัยเก่า หมายถึงภาษาที่ใช้ในคัมภีร์พระเวท ได้แก่ คัมภีร์ ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท และอาถรรพเวท รวมตลอดทั้งคัมภีร์อุปนิษัท ซึ่ง เป็ น คั ม ภี ร์ สุ ด ท้ า ยของคั ม ภี ร์ พระเวท (เวทานต์ ) ภาษาที่ ใ ช้ ใ นคั ม ภี ร์ ต่ า งๆ เหล่านี้จะมีความเก่าแก่ลดหลั่นกันมาตามลาดับ ภาษาสันสกฤตก็จัดอยู่ใน สมัยนี้ด้วย
  • 3. 2. ภาษาสมัยกลาง ได้แก่ ภาษาปรากฤตซึ่ งเป็นภาษาถิ่นของชาว อารยันที่ใช้กันท้องถิ่นต่างๆของประเทศอินเดีย เช่น ภาษามาคธี มหาราษฏรี เศารเสนี เป็นต้น ภาษาในสมัยนี้มีลักษณะโครงสร้างทางเสียง และนอกจาก จะเรียกว่าภาษาปรากฤตแล้วยังมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ภาษาการละคร” เพราะเหตุที่นาไปใช้เป็นภาษาพูดของตัวละครบางตัวในบทละครสันสกฤต ด้วย 3. ภาษาสมั ย ใหม่ ได้ แ ก่ ภาษาต่ า งๆในปั จ จุ บั น เช่ น ภาษาฮิ น ดี เบงกาลี ปัญจาบี มราฐี เนปาลี เป็นต้น ภาษาเหล่านี้แม้จะเข้าใจกันว่าสืบมา จากภาษาปรากฤต แต่มีลักษณะของภาษาผิดกันมาก เพราะมีภาษาตระกูลอื่น ที่ ไ ม่ ไ ด้ สื บ มาจากภาษาของชาวอารยั น เข้ า ไปปะปนกั น มากบ้ า งน้ อ ยบ้ า ง แล้วแต่เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
  • 4. ภาษาสันสกฤต ภาษาสันสกฤต เป็นภาษาที่มีวิวัฒนาการมาจากภาษาในคัมภีร์พระเวท ของชาวอารยัน ถือเป็นภาษาที่ศักดิ์สิทธิ์ของคนชั้นสูง แต่เดิมนั้นไม่ได้มีการวาง หลักเกณฑ์เคร่งครัดนัก ต่อมาเมื่อระยะเวลาล่วงไปนานๆ ประกอบกับภาษาใน คัมภีร์พระเวทนี้มีภาษาพื้นเมืองปะปนอยู่มาก เป็นเหตุให้หลักเกณฑ์ต่างๆ ของ ภาษานี้ ค ลาดเคลื่ อนไปมาก จนกระทั่ ง ได้ มี นัก ปราชญ์ ข องอิ น เดี ย คนหนึ่ง ชื่ อ “ปาณินิ” ได้ศึกษาคัมภีร์พระเวททั้งหลาย แล้วนามาแจกแจงวางหลักเกณฑ์ให้เป็น ระเบียบและรัดกุม แต่งเป็นตาราไวยากรณ์ขึ้นเรียกชื่อว่า “อัษฎาธยายี” ซึ่งได้ชื่อ ว่าเป็นตาราไวยากรณ์เล่มแรกที่แต่งได้ดีที่สุดและมีชื่อเสียงไปทั่วโลก และต่อมา ได้มีผู้เรียกภาษาที่ปาณินิได้จัดระเบียบของภาษาไว้เป็นอย่างดีและสมบูรณ์ที่สุดนี้ ว่า “สันสกฤต” ซึ่งแปลตามศัพท์ว่า “สิ่งที่ได้จัดระเบียบและขัดเกลาเรียบร้อยดี แล้ว ”
  • 5. แต่กฎเกณฑ์ที่ปาณินิได้วางไว้นี้กลับเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ภาษาสันสกฤตไม่ มีวิวัฒนาการเหมือนภาษาอื่นๆ เพราะนอกจากภาษาสันสกฤตจะถือว่าเป็น ภาษาที่ศักดิ์สิทธิ์ ใช้ในหมู่ของนักปราชญ์ โดยเฉพาะกษัตริย์และพราหมณ์ที่ เป็นบุรุษเพศ กฎเกณฑ์และรายละเอียดปลีกย่อยยังทาให้ไม่เอื้อต่อการใช้ จึงทา ให้ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาตายในที่สุด
  • 6. ภาษาบาลี ภาษาบาลี เป็นภาษาปรากฤตภาษาหนึ่งที่มีวิวัฒนาการมาจากภาษาพระเวท ภาษาบาลี คือ ภาษาที่ชาวมคธใช้พูดกันในแคว้นมคธ เรียกว่า “ภาษามาคธี” พระพุทธเจ้าทรงใช้ภาษานี้ประกาศพระศาสนาของพระองค์ ภาษามาคธีนี้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ( เจิม ชุมเกตุ, 2525:3 ) 1. สุทธมาคธี เป็นภาษาของชนชั้นสูง คือภาษาของกษัตริย์หรือภาษาทาง ราชการ 2. เทสิยาหรือปรากฤต ได้แก่ ภาษาประจาถิ่น พระพทุ ธ เจ้ า ทรงใช้ สุ ท ธมาคธี เ ป็ น หลั ก ในการประกาศค าสั่ ง สอนของ พระองค์ และในสมัยนั้นทรงเผยแผ่พระธรรมด้วยวิธี มุขปาฐะ โดยมิได้มี บันทึกหรือเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร ภาษาบาลีนี้นามาใช้บันทึกพุทธวจนะ เป็นลายลักษณ์อักษรเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ 3
  • 7. ปรากฏเป็นหลักฐานครั้งแรกในจารึกพระเจ้าอโศกมหาราช ถือเป็นภาษาประจา พุทธศาสนานิกายหินยาน ส่วนศาสนานิกายมหายานใช้ภาษาสันสกฤตบันทึก พุทธวจนะ (สุภาพร มากแจ้ง,2535 : 4 ) และต่อก็ใช้ภาษาบาลีจารึกพระธรรมลง ในพระไตรปิฎก ซึ่งเป็นตาราหลักทางพระพุทธศาสนาอย่างไรก็ตาม ภาษาบาลีก็มี ลักษณะเช่นเดียวกันกับภาษาสันสกฤต คือใช้เป็นภาษาเขียนในพระไตรปิฎกของ พุ ท ธศาสนาเท่ า นั้ น ไม่ ไ ด้ ใ ช้ พู ด หรื อ ใช้ เ ขี ย นในชี วิ ต ประจ าวั น จึ ง ไม่ มี ก าร เจริญเติบโต ไม่มีวิวัฒนาการเหมือนกับภาษาอื่นๆและกลายเป็นภาษาตายในที่สุด
  • 8. เหตุที่คาภาษาบาลีและสันสกฤตเข้ามาปะปนในภาษาไทย เมื่อพระพุทธศาสนาได้แพร่เข้ามาในสู่ประเทศไทย และคนไทยได้ ยอมรับนับถือศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจาชาติ คนไทยจึงจาเป็นต้องเรียน ภาษาบาลีและสันสกฤต เพราะคาสอนทางศาสนาเป็นภาษาบาลีและสันสกฤต ดังนั้นจึงได้เกิดคาภาษาบาลีและสันสกฤตใช้ในภาษาไทยมากขึ้น นอกจากการ รับนับถือศาสนาพุทธแล้ว ไทยยังได้รับเอาความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี พิ ธี ก รรมต่ า งๆรวมทั้ ง วรรณคดี บ าลี แ ละสั น สกฤตเข้ า มาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ วัฒนธรรมไทย ซึ่งเป็นส่วนทาให้เรารับคาภาษาบาลีและสันสกฤตซึ่งเป็นคาที่ เกี่ยวเนื่องกับสิ่งต่างๆเหล่านั้น เข้ามาใช้ในภาษาไทย สุ ธิ ว งศ์ พงษ์ บู ล ย์ (2523 : 5) ได้ ก ล่ า วถึ ง เหตุ ที่ ค าภาษาบาลี แ ละ สันสกฤตเข้ามาปนอยู่ในภาษาไทยว่าเนื่องมาจากเหตุผลหลายประการ สรุปได้ ดังนี้
  • 9. 1.ความสัมพันธ์ทางด้านศาสนา เมื่อศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธเผยแพร่เข้ามาสู่ประเทศไทยศาสนา พราหมณ์ใช้ภาษาสันสกฤตและศาสนาพุทธใช้ภาษาบาลีในการเผยแผ่ศาสนา ไทยได้รับศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจาชาติและรับคติของศาสนาพราหมณ์มา ปฏิบัติในชีวิตประจาวัน โดยเฉพาะในลัทธิธรรมเนียมประเพณีต่างๆ เราจึง รับคาในลัทธิทั้งสองเข้ามาใช้ในลักษณะของศัพท์ทางศาสนาและใช้เป็นศัพท์ สามัญทั่วไปในชีวิตประจาวัน 2.ความสัมพันธ์ทางด้านประเพณี เมื่อชนชาติอินเดียได้เข้ามาตั้งรกรากในประเทศไทย ก็นาเอาประเพณีของ ตนเข้ามาปฏิบัติทาให้มีคาที่เนื่องด้วยประเพณีเข้ามาปะปนในภาษาไทย และ นานเข้ า ก็ ไ ด้ ก ลายเป็ น ค าที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ชี วิ ต ประจ าวั น ของคนไทย เช่ น ตรียัมปวาย มาฆบูชา ตักบาตรเทโว ดิถี กระยาสารท เทศน์มหาชาติ กฐิน จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ฉัตรมงคล พืชมงคล เป็นต้น
  • 10. 3. ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรม อินเดียเป็นประเทศที่เจริญทางด้านวัฒนธรรมมานาน อิทธิพลทางด้าน วัฒนธรรมของอินเดียมีต่อนานาประเทศทางภาคพื้นตะวันออกก่อนที่ วัฒนธรรมตะวันตกจะเข้ามา ไทยได้รับอิทธิพลของอินเดียทุกสาขา เช่น 3.1 ศิลปะ ศิลปะไทยได้รับอิทธิพลจากอินเดียทั้งโดย ทางตรงและทางอ้อม เช่น ทางดนตรีและนาฏศิลป์ ภาษาที่ใช้เนื่อง ด้วยเป็นศิลปะจึงเข้ามาปะปนในภาษาไทย เช่น มโหรี ดนตรี ปี่ พาทย์ 3.2 ดาราศาสตร์ อินเดียมีความเจริญทางด้านดาราศาสตร์มา ช้านานจนมีตาราเรียนกัน เมื่อวิชานี้แพร่หลายเข้ามาในประเทศไทย ท าให้ ค าต่ า งๆที่ เ กี่ ย วข้ อ งเกิ ด ขึ้ น เป็ น จ านวนมาก เช่ น สุ ริ ย คติ จันทรคติ จันทรคราส 3.3 การแต่งกาย ศัพท์ทางด้านวัฒนธรรมการแต่งกายที่ได้ รับมาส่วนใหญ่เป็นเครื่องทรงของพระมหากษัตริย์ เช่น มงกุฎ ชฎา สังวาล
  • 11. 4. ความสัมพันธ์ทางด้านวิชาการ เนื่องจากวิทยาศาสตร์และวิทยาการเจริญกว้างขวางขึ้นทาให้คาที่เราใช้ อยู่เดิมแคบเข้า จึงจาเป็นต้องรับคาบาลี สันสกฤต เข้ามาใช้ เพื่อความ เจริญและความสะดวก เช่น วิทยุ โทรทัศน์ แพทย์ เภสัช ฯลฯ 5. ความสัมพันธ์ทางด้านวรรณคดี วรรณคดีอิ น เดี ยมี อิ ท ธิ พลต่ อ วรรณคดี ไทยเป็ นอย่ า งยิ่ง ทั้ งวรรณคดี สันสกฤต และวรรณคดีที่เนื่องมาจากชาดกในพระพุทธศาสนาเมื่อเรารับ เอาวรรณคดีเหล่านี้เข้ามา จึงมีศัพท์ต่างๆที่เกี่ยวกับวรรณคดีเหล่านี้เข้ามา มากมาย เช่น ครุฑ สุเมรู หิมพานต์
  • 12. ลักษณะของภาษาบาลีและสันสกฤต ภาษาบาลีและสันสกฤตอยู่ในตระกูลภาษาที่มีวิภัตปัจจัย คือเป็นภาษาที่ที่มีคา เดิมเป็นคาธาตุ เมื่อจะใช้คาใดจะต้องนาธาตุไปประกอบกับปัจจัยและวิภัตติ เพื่อ เป็ น เครื่ อ งหมายบอกพจน์ ลึ ง ค์ บุ รุ ษ กาล มาลา วาจก โครงสร้ า งของภาษา ประกอบด้วย ระบบเสียง หน่วยคา และระบบโครงสร้างของประโยค ภาษาบาลี และสั น สกฤตมี ห น่ ว ยเสี ย ง 2 ประเภท คื อ หน่ ว ยเสี ย งสระและหน่ ว ยเสี ย ง พยัญชนะ ดังนี้ 1. หน่วยเสียงสระ หน่วยเสียงสระภาษาบาลีมี 8 หน่วยเสียง คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ หน่วยเสียงภาษาสันสกฤต ตรงกับภาษาบาลี 8 หน่วยเสียง และต่างจากภาษา บาลีอีก 6 หน่วยเสียง เป็น 14 หน่วยเสียง คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦๅ
  • 13. 2. หน่วยเสียงพยัญชนะ หน่ ว ยเสี ย งพยั ญ ชนะภาษาบาลี มี 33 หน่ ว ยเสี ย ง ภาษาสั น สกฤตมี 35 หน่วยเสียง เพิ่มหน่วยเสียง ศ ษ ซึ่งหน่วยเสียงพยัญชนะทั้งสิงภาษานี้แบ่ง ออกเป็น 2 ประเภทคือ พยัญชนะวรรค และพยัญชนะเศษวรรค
  • 14. วิธีสังเกตคาบาลี 1. สังเกตจากพยัญชนะตัวสะกดและตัวตาม ตัว สะกด คือ พยั ญ ชนะที่ ประกอบอยู่ ข้า งท้า ยสระประสมกั บสระและ พยัญชนะต้น เช่น ทุกข์ = ตัวสะกด ตัวตาม คือ ตัวที่ตามหลังตัวสะกด เช่น สัตย สัจจ ทุกข เป็นต้น คาใน ภาษาบาลีจะต้องมีสะกดและตัวตามเสมอ โดยดูจากพยัญชนะบาลี มี 33 ตัว แบ่งออกเป็นวรรคดังนี้
  • 15. แถวที่ 1 2 3 4 5 วรรค กะ ก ข ค ฆ ง วรรค จะ จ ฉ ช ฌ ญ วรรค ฏะ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ วรรค ตะ ต ถ ท ธ น วรรค ปะ ป ผ พ ภ ม เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ อัง
  • 16. มีหลักสังเกต ดังนี้ - พยัญชนะตัวที่ 1 , 3 , 5 เป็นตัวสะกดได้เท่านั้น (ต้องอยู่ในวรรค เดียวกัน) - ถ้าพยัญชนะตัวที่ 1 สะกด ตัวที่ 1 หรือตัวที่ 2 เป็นตัวตามได้ เช่น สักกะ ทุกข์ สัจจะ ปัจฉิม สัตต หัตถ์ บุปผา เ ป็นต้น - ถ้าพยัญชนะตัวที่ 3 สะกด ตัวที่ 3 หรือ 4 เป็นตัวตามได้ในวรรคเดียวกัน เช่น อัคคี พยัคฆ์ วิชชา อัชฌา พุทธ คพภ (ครรภ์) - ถ้าพยัญชนะตัวที่ 5 สะกด ทุกตัวในวรรคเดียวกันตามได้ เช่น องค์ สังข์ องค์ สงฆ์ สัมปทาน สัมผัส สัมพันธ์ สมภาร เป็นต้น - พยัญชนะบาลี ตัวสะกดตัวตามจะอยู่ในวรรคเดียวกันเท่านั้นจะข้ามไป วรรคอื่นไม่ได้
  • 17. 2. สังเกตจากพยัญชนะ “ฬ” จะมีใช้ในภาษาบาลีในไทยเท่านั้น เช่น จุฬา ครุฬ อาสาฬห์ วิฬาร์ โอฬาร์ พาฬ เป็นต้น 3. สังเกตจากตัวตามในภาษาบาลี จะมาเป็นตัวสะกดในภาษาไทย โดยเฉพาะวรรค ฎ และวรรคอื่น ๆ บางตัว จะตัดตัวสะกดออกเหลือแต่ตัวตามเมื่อ นามาใช้ในภาษาไทย เช่น บาลี ไทย บาลี ไทย รัฎฐ รัฐ อัฎฐิ อัฐิ ทิฎฐิ ทิฐิ วัฑฒนะ วัฒนะ ปุญญ บุญ วิชชา วิชา สัตต สัต เวชช เวช กิจจ กิจ เขตต เขต นิสสิต นิสิต นิสสัย นิสัย ยกเว้นคาโบราณที่นามาใช้แล้วไม่ตัดรูปคาซ้าออก เช่น ศัพท์ทางศาสนา ได้แก่ วิปัสสนา จิตตวิสุทธิ์ กิจจะลักษณะ เป็นต้น
  • 18. วิธีสังเกตคาสันสกฤต 1.พยัญชนะสันกฤต มี 35 ตัว คือ พยัญชนะบาลี 33 ตัว + 2 ตัว คือ ศ, ษ ฉะนั้นจึงสังเกตจากตัว ศ, ษ มักจะเป็นภาษาสันสกฤต เช่น กษัตริย์ ศึกษา เกษียร พฤกษ์ ศีรษะ เป็นต้น ยกเว้นคาไทยบางคาที่ใช้เขียนด้วยพยัญชนะ ทั้ง 2 ตัวนี้ เช่น ศอก ศึก ศอ เศร้า ศก ดาษ กระดาษ ฝรั่งเศส ฝีดาษ ฯลฯ 2. ไม่มีหลักการสะกดแน่นอน ภาษาสันสกฤต ตัวสะกดตัวตามจะอยู่ข้าม วรรคกันได้ไม่กาหนดตายตัว เช่น อัปสร เกษตร ปรัชญา อักษร เป็นต้น 3. สังเกตจากสระ สระในภาษาบาลี มี 8 ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ส่วนสันสกฤต คือ สระภาษาบาลี 8 ตัว + เพิ่มอีก 6 ตัว คือ สระ ฤ ฤา ภ ภา ไอ เอา ถ้ามีสระเหล่านี้อยู่และสะกดไม่ตรงตามมาตราจะเป็นภาษา สันสกฤต เช่น ตฤณมัย ไอศวรรย์ เสาร์ ไปรษณีย์ ฤาษี คฤหาสน์ เป็นต้น
  • 19. 4.สังเกตจากพยัญชนะควบกล้า ภาษาสันสกฤตมักจะมีคาควบกล้าข้าง ท้าย เช่น จักร อัคร บุตร สตรี ศาสตร์ อาทิตย์ จันทร์ เป็นต้น 5.สังเกตจากคาที่มีคาว่า “เคราะห์” มักจะเป็นภาษาสันสกฤต เช่น เคราะห์ พิเคราะห์ สังเคราะห์ อนุเคราะห์ เป็นต้น 6. สังเกตจากคาที่มี “ฑ” อยู่ เช่น จุฑา กรีฑา ครุฑ มณเทียร จัณฑาล เป็นต้น 7 .สังเกตจากคาที่มี “รร” อยู่ เช่น สรรค์ ธรรม์ วรรณ บรรพต ภรรยา บรรณารักษ์ มรรยาท กรรม ทรรศนะ สรรพ เป็นต้น
  • 20. ลักษณะการยืมคาภาษาบาลีและสันสกฤต ภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นภาษาตระกูลเดียวกัน ลักษณะภาษาและ โครงสร้างอย่างเดียวกัน ไทยเรารับภาษาทั้งสองมาใช้ พิจารณาได้ดังนี้ 1. ถ้ า ค าภาษาบาลี แ ละสั น สกฤตรู ป ร่ า งต่ า งกั น เมื่ อ ออกเสี ย งเป็ น ภาษาไทยแล้วได้เสียงเสียงตรงกันเรามักเลือกใช้รูปคาสันสกฤต เพราะภาษา สันสกฤตเข้ามาสู่ภาษาไทยก่อนภาษาบาลี เราจึงคุ้นกว่า เช่น บาลี สันสกฤต ไทย กมฺม กรฺม กรรม จกฺก จกฺร จักร
  • 21. 2. ถ้ า เสี ย งต่ า งกั น เล็ ก น้ อ ยแต่ อ อกเสี ย งสะดวกทั้ ง สองภาษา มั ก เลือกใช้รูปภาษาสันสกฤตมากกว่าภาษาบาลี เพราะเราคุ้นกว่าและเสียงไพเราะ กว่า เช่น บาลี สันสกฤต ไทย ครุฬ ครุฑ ครุฑ โสตฺถิ สฺวสฺติ สวัสดี 3. คาใดรูปสันสกฤตออกเสียงยาก ภาษาบาลีออกเสียงสะดวกกว่า จะ เลือกใช้ภาษาบาลี เช่น บาลี สันสกฤต ไทย ขนฺติ กฺษานฺติ ขันติ ปจฺจย ปฺรตฺย ปัจจัย
  • 22. 4. รูปคาภาษาบาลีสันสกฤตออกเสียงต่างกันเล็กน้อยแต่ออกเสียงสะดวก ทั้งคู่บางทีเรานามาใช้ทั้งสองรูปในความหมายเดียวกัน เช่น บาลี สันสกฤต ไทย กณฺหา กฺฤษฺณา กัณหา,กฤษณา ขตฺติย กฺษตฺริย ขัตติยะ,กษัตริย์ 5. คาภาษาบาลีสันสกฤตที่ออกเสียงสะดวกทั้งคู่ บางทีเรายืมมาใช้ทั้งสอง รูป แต่นามาใช้ในความหมายที่ต่างกัน เช่น บาลี สันสกฤต ไทย ความหมาย กิริยา กฺริยา กิริยา อาการของคน กริยา ชนิดของคา โทส เทฺวษ โทสะ ความโกรธ เทวษ ความเศร้าโศก
  • 23. คาภาษาบาลีและสันสกฤตในวรรณคดีไทย คาภาษาบาลี แ ละสั นสกฤตปรากฏในวรรณคดี ไทยตั้ง แต่ ส มั ย สุ โ ขทั ย จนกระทั่งในสมัย ปัจจุบันทั้งที่เป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง คือพบตั้งแต่ในศิลาจารึก สมั ยพ่อ ขุน รามคาแหงแม้จะมี ไม่มากนั กแต่ก็เป็น หลักฐานยืนยันได้ว่ า ในสมั ย สุโขทัยนั้นไทยได้นาภาษาบาลีและสันสกฤตมาใช้ในภาษาไทยของเราแล้ว และใน สมัยต่อมาก็ปรากฏว่านิยมใช้คาภาษาบาลีและสันสกฤตในการแต่งวรรณคดีมากขึ้น วิสัณติ์ กฏแก้ว (2529 : 2) ได้กล่าวถึงเหตุที่ทาให้คาบาลีและสันสกฤต เป็นที่นิยมชมชอบในการนามาใช้ในทางวรรณคดีพอจะสรุปได้ดังนี้
  • 24. 1. วรรณคดี ไ ทยเป็ น วรรณกรรมที่ ถื อ เอาเสี ย งไพเราะเป็ น ส าคั ญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งวรรณคดีประเภทร้อยกรอง นอกจากจะถือเอาความไพเราะ ของเสียงเป็นสาคัญแล้ว ในการประพันธ์วรรณกรรมประเภทฉันท์ จะต้องถือคา ครุ ลหุ เป็นสาคัญอีกด้วย คาที่เป็นเสียงลหุในภาษาไทยมีน้อยมาก จึงจาเป็น จะต้องใช้ศัพท์ภาษาบาลีและสันสกฤต เพราะสามารถเลือกคา ลหุ ครุ ได้มาก และสามารถดัดแปลงให้เข้ากับภาษาของเราได้ดี ตัวอย่าง ข้าขอเทิดทศนัขประณามคุณพระศรี สรรเพชญพระผู้มี พระภาค อีกธรรมาภิสมัยพระไตรปิฏกวากย์ ทรงคุณคะนึงมาก ประมาณ (สัททุลวิกกีฬิตฉันท์ 19 – อิลราชคาฉันท์)
  • 25. 2. คนไทยถือว่าคาบาลีและสันสกฤตเป็นคาสูง เพราะเป็นคาที่ใช้เผย แผ่คาสอนของพระพุทธเจ้า และผู้ที่ใช้คาภาษาบาลีและสันสกฤตส่วนใหญ่อยู่ใน ฐานะควรแก่การเคารพบูชาทั่วไป เช่น พระสงฆ์ พราหมณ์ เป็นต้น ดังนั้นการ แต่งฉันท์ที่ถือกันว่าเป็นของสูง จึงนิยมใช้คาบาลีและสันสกฤต 3. วรรณคดีไทยโดยมากมักจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับจักรๆวงศ์ๆ ซึงจะต้อง ใช้คาราชาศัพท์ การใช้คาภาษาบาลีและสันสกฤตที่เป็นคาราชาศัพท์จึงมีความ จาเป็นอย่างยิ่งเช่น พระเนตร พระพักตร์ พระกรรณ เป็นต้น 4. การใช้คาภาษาบาลีและสันสกฤตแต่งฉันท์ เป็นเครื่องแสดงภูมิรู้ ของผู้แต่งว่ามีความรู้ภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นอย่างดี มีคนเคารพนับถือและ ยกย่องว่าเป็น “ปราชญ์”
  • 26. ตัวอย่างคาภาษาบาลีและสันสกฤตทีไทยนามาใช้ ่ คา ความหมาย 1. กมล ดอกบัว,ใจ 2. กานดา งาม,หญิงงาม 3. กรรม การกระทาไม่ดี 4. กฐิน ผ้าที่ถวายพระที่จาพรรษาแล้ว 5. กสิกรรม การทานา,ทาไร่ 6. กักขฬะ แข็ง,กระด้าง,หยาบ 7. กิริยา การกระทา,อาการที่แสดงออกมาด้วย กายมารยาท 8. กาลี หญิงคนชั่ว
  • 27. คา ความหมาย 9. กภุมพี คนมั่งมี,คนเลว 10. เขต แดน 11. จริต ความประพฤติของผู้หญิง 12. ตัณหา ความยาก 13. นิมนต์ เชิญพระภิกษุ 14. ภาค ส่วน 15. สุขุม ละเอียดอ่อนทางความคิด 16. โอชา อร่อย 17. เคารพ ความเคารพ 18. ทักษิณ ทิศใต้ 19. เนตร ตา 20. ประมาท เลินเล่อ,ดูหมิ่น 21. ประสิทธิ์ ความสาเร็จ 22. ปราจีน ทิศตะวันออก
  • 28. คา ความหมาย 23. ทัณฑ์ ลงโทษ 24. พายุ ลมที่พัดรุนแรง 25. พืช พืช,พันธุ์ไม้ 26. มุข หน้า,ด้านหน้า 27. วิบาก ผลไม่ดี 28. สังหาร การทาลาย 29. อุทัย การขึ้นแห่งแสงอาทิตย์ 30. นาฏ การฟ้อนรา,นางงาม,สิ่งที่ให้ความบันเทิงใจ 31. สมร สนามรบ,หญิงงาม,หญิงทั่วไป 32. อัสดร ม้าทั่วไป 33. ประณาม การน้อมไหว้,การติเตียน 34. คติ ข้อสอนใจ 35. ทิฐิ ความดื้อในความเห็น,ความถือดี
  • 29. เว็บไซต์อางอิง ้ • http://learners.in.th/file/tanuchai.doc
  • 31. 3.ข้อใดเป็นคาภาษาบาลีทกคา ุ 1. สามัญ สามานย์ 2. ปริศนา พฤติ 3. พิสดาร วิถาร 4. กิริยา กีฬา 4.ข้อใดเป็นคาภาษาสันสฤตทุกคา 1. ทฤษฎี อุทยาน 2. มโน ทรัพย์ 3. สูญ ปรัชญา 4. อาสา ปัญญา
  • 32. 5.ข้อใดเป็นคาภาษาบาลี 1. เจดีย์ 2. โกรธ 3.. ครุฑ 4. ศูนย์ 6.ข้อใดจับคู่คาภาษาบาลี-สันสกฤตได้ถูกต้อง 1.. วุฒิ – รัฐ 2.. เขม – เกษม 3. อัคคี – สวัดดี 4. อิสิ – ฤดู
  • 33. 7.ข้อใดจับคู่คาภาษาบาลี-สันสกฤตได้ถูกต้อง 1. อักขร – อัปสร 2. กริยา – วิยา 3. สันติ – ศานติ 4. สัจ –ศรัทธา 8.คาภาษาบาลี-สันสกฤตข้อใดจับคู่ผิด 1. สัจ – สัตย์ 2. ลักขณ์ – ลักษณ์ 3. บุปผา – บุษบา 4. วสา – ฤดู
  • 34. 9.คาภาษาบาลี-สันสกฤตข้อใดจับคู่ผิด 1. สิริ – ศรี 2. รัฐ –ราษฎร์ 3. วิตถาร – สามานย์ 4. หทัย – หฤทัย 10.คาภาษาบาลี-สันสกฤตข้อใดจับคู่ได้ถุกต้อง 1. มัจฉา – อัปสร 2. อัจฉรา – อัปสร 3. อุตุ – ฤาษี 4. ปัญญา – ศรัทธา
  • 35. 1.ก 2.ง 3.ก 4ค 5.ง 6.ก 7.ก 8.ค 9.ค 10.ข