SlideShare a Scribd company logo
๑. เพื่อให้ความรู้ในเรื่องคาราชาศัพท์
๒. เพื่อนาคาราชาศัพท์ไปใช้ให้เหมาะสมกับแต่ละโอกาส
๓. เพื่อทาให้ผู้ศึกษามีความกระตือรือร้นในการเรียนมากยิ่ง้ึน
๔. เพื่อทาให้ผู้ศึกษามีความสนุกสนาน เพลิดเพลิน
การเรียนภาษาไทยมีบทเรียนที่น่าสนใจมาก โดยเฉพาะบทเรียน เรื่อง
คาราชาศัพท์ซึ่งทางคณะผู้จัดทามีความคิดเห็นว่า คาราชาศัพท์เป็นเรื่อง
ที่ยุ่งยากสาหรับผู้ที่ศึกษาแล้วไม่ได้นาไปใช้ ดังนัน ทางผู้จัดทาจึงได้จัดทา
โครงงานภาษาไทยเรื่องคาราชาศัพท์้ึนเพื่อทาให้ผู้ที่ศึกษาเกิดความรู้
ความเ้้าใจ ในคาราชาศัพท์มาก้ึน ทังยังได้รับความรู้เพิ่มเติมในด้านต่างๆ
เกี่ยวกับคาราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจาวันคือหมวดใดบ้าง
และมีบทบาทต่อการดารงคงชีวิติ้อง เราอย่างไรบ้าง
คำรำชำ
ศัพท์
คาราชาศัพท์ที่ได้ใช้
บ่อย
คาราชาศัพท์ที่
ใกล้ตัวเรา
คาราชาศัพท์ที่มักพบ
ใน้่าวเป็นประจา
คาราชาศัพท์ที่มัก
ใช้ผิดกันเสมอ
คำรำชำศัพท์ คือ คำสุภำพที่ใช้ให้เหมำะสมกับฐำนะของบุคคลต่ำงๆ คำรำชำ
ศัพท์เป็นกำรกำหนดคำและภำษำที่สะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมอันดีงำม
ของไทยแม้คำรำชำศัพท์จะมีโอกำสใช้ในชีวิตน้อยแต่เป็นสิ่งที่แสดงถึงควำม
ละเอียดอ่อนของภำษำไทยที่มีคำหลำยรูปหลำยเสียงใน ควำมหมำยเดียวกัน
และเป็นลักษณะพิเศษของภำษำไทยโดยเฉพำะซึ่งใช้กับบุคคลกลุ่มต่ำงๆ
ดังต่อไปนี้
๑. พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวและสมเด็จพระนำงเจ้ำ พระบรมรำชินีนำถ
๒ พระบรมวงศำนุวงศ์
๓. พระภิกษุสงฆ์ สำมเณร
๔. ขุนนำง ข้ำรำชกำร
๕. สุภำพชน
ใช้คำรำชำศัพท์ชั้นสูงสุดเสมอกัน
ยกเว้นคำว่ำ “พระบรม”
ใช้กับพระมหำกษัตริย์พระองค์เดียว
สมเด็จพระบรมราชินี
สมเด็จพระบรมราชชนนี
สมเด็จพระยุพราช
สมเด็จพระบรมราชกุมารี
 สมเด็จพระสังฆราช
 สมเด็จพระราชาคณะ
 พระราชาคณะ
 พระสงฆ์ทั่วไป
 ประธำนองคมนตรี
 นำยกรัฐมนตรี
 ประธำนสภำผู้แทนรำษฎร
 องคมนตรี
 รองนำยกรัฐมนตรี
 รัฐมนตรี
 รองประธำนสภำผู้แทนรำษฎร
 ปลัดกระทรวง
 อธิบดี ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
 สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร
การใช้คานามราชาศัพท์จะสังเกตได้จากคาเติมหน้าว่าคาใดสาคัญมาก
หรือน้อย
สาคัญมาก - พระบรมมหาราชวัง พระบรมราชโองการ
พระบรมอัฐิ พระมหาเศวตฉัตร
สาคัญรองลงมา - พระราชลัญจกร พระราชวัง
สิ่งสามัญทั่วไป - พระบาท พระเก้าอี
* แต่หำกคำนำมใดเป็นคำประสม มีคำ “พระ” อยู่แล้ว ห้ำม ใช้พระ
นำหน้ำซ้อนอีก เช่น พำนพระศรี ขันพระสำคร
พระบรม
• พระบรมราชโองการ
• พระบรมราโชวาท
• พระบรมราชินีนาถ
พระราช
• พระราชธิดา
• พระราชทรัพย์
• พระราชกรณียกิจ
พระ
• พระภคินี
• พระหทัย
• พระโอสถ
พระบรม • ไม่ใช้
พระรำช
• พระราชเสาวนีย์
• พระราชวโรกาส
• พระราชนิพนธ์
พระ
• พระนัดดา
• พระสุคนธ์
• พระหัตถ์
สมเด็จพระ
ยุพรำช
พระรำช
พระ
สมเด็จพระบรม
รำชกุมำรี
พระรำช
พระ
พระอนุวงศ์
(เจ้ำชั้นรองทุกพระองค์)
พระ
คำรำชำศัพท์ คำสำมัญ
พระอัฐิ กระดูก
พระอังคาร เถ้ากระดูก
พระวรกาย ร่างกาย
พระนลาฏ หน้าผาก
พระเจ้า ศีรษะ
พระหัตถ์ มือ
พระอุระ อก
พระถัน นม
พระปราง แก้ม
คำรำชำศัพท์ คำสำมัญ
พระโอษฐ์ ปาก
พระทนต์ ฟัน
พระชิวหา ลิน
พระหนุ คาง
พระอุทร ท้อง
พระนาภี สะดือ
พระมังสา เนือ
พระองคาพยพ ส่วนต่างๆ้อง
ร่างกาย
คำสำมัญ คำรำชำศัพท์ คำสำมัญ คำรำชำศัพท์
ปู่,ตา
ลุง,อา
(พี่-น้องชาย้องพ่อ)
ลุง,น้า
(พี่-น้องชาย้องแม่)
พ่อ
พี่ชาย
น้องชาย
ลูกชาย
หลาน
ลูกเ้ย
พระอัยกา
พระปิตุลา
พระมาตุลา
พระบิดา
พระเชษฐา
พระอนุชา,พระ้นิษฐา
พระโอรส
พระนัดดา
พระชามาดา
ย่า,ยาย
ป้า, อา
(พี่-น้องสาว้องพ่อ)
ป้า,น้า
(พี่-น้องสาว้องแม่)
แม่
พี่สาว
น้องสาว
ลูกสาว
เหลน
พระอัยยิกา
พระปิตุจฉา
พระมาตุจฉา
พระมารดา
พระเชษฐภคินี
พระธิดา
พระปนัดดา
พระสุณิสา
คำสำมัญ คำรำชำศัพท์ คำสำมัญ คำรำชำศัพท์ คำสำมัญ คำรำชำศัพท์
ยา
กระจกส่อง
ตุ้มหู
ประตู
ฟูก
ผ้าห่มนอน
นา
ช้อน
พระโอสถ
พระฉาย
พระกุณฑล
พระทวาร
พระบรรจถรณ์
ผ้าคลุมบรรทม
พระสุธารส
ฉลองพระหัตถ์
แว่นตา
นาหอม
แหวน
หน้าต่าง
เตียงนอน
ผ้านุ่ง
เหล้า
ฉลองพระ
เนตร
พระสุคนธ์
พระธามรงค์
พระบัญชร
พระแท่น
บรรทม
พระภูษาทรง
นาจัณฑ์
หวี
หมวก
ร่ม
อาวุธ
มุ้ง
ผ้าเช็ดหน้า
พระสาง
พระมาลา
พระกลด
พระแสง
พระวิสูตร
ผ้าซับพระ
พักตร์
๑. “ถวายการต้อนรับ” คานีผิดที่ถูกต้อง คือ “เฝ้าฯ รับเสด็จ” หรือ “รับเสด็จ”
๒. “อาคันตุกะ” และ ”ราชอาคันตุกะ” ใช้ต่างกันดังนี
“อาคันตุกะ” ใช้เมื่อ
ก. พระมหากษัตริย์เสด็จฯ ไปทรงเป็นแ้ก้องบุคคลสาคัญ
้. บุคคลสามัญไปเป็นแ้ก้องบุคคลสามัญ
“ราชอาคันตุกะ” ใช้เมื่อ
ก. พระมหากษัตริย์เสด็จฯ ไปทรงเป็นแ้ก้องพระมหากษัตริย์
้. บุคคลสามัญไปเป็นแ้ก้องพระมหากษัตริย์
๓. “ถวายความจงรักภักดี” ความจงรักภักดีเป็น้องที่หยิบยื่นให้กันไม่ได้เป็นสิ่งที่มี
ประจาตนแสดงปรากฏให้ทราบได้ฉะนันใช้“ถวาย” ไม่ได้จึงควรใช้“มีความจงรักภักดี”
๔. การใช้คา “ถวาย” มีใช้อยู่สองคาคือ “ทูลเกล้าฯ ถวาย” และ “น้อมเกล้าฯถวาย”
ใช้ต่างกันดังนี
ก. ถ้าสิ่ง้องนันเป็น้องเล็กใช้ “ทูลเกล้าฯ”
้. ถ้าสิ่ง้องนันเป็น้องใหญ่ใช้ “น้อมเกล้าฯ ถวาย” หรือ “ถวาย” เฉยๆ ๕.
คาว่า “้อบใจ” ถ้าจะกล่าวว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง้อบใจ ก็ใช้ว่า
“ทรง้อบใจ” หรือ “พระราชทานกระแส้อบใจ” ไม่ใช้“้อบพระทัย” เว้นแต่ผู้ที่
ทรง้อบใจนันเป็นพระราชวงศ์จึงใช้ “้อบพระทัย” ได้ ๖.
เมื่อกล่าวถึงการแสดงใดๆถวายทอดพระเนตร มักจะใช้ว่า “แสดงหน้าพระพักตร์”
หรือ “แสดงหน้าพระที่นั่ง” ซึ่งผิดต้องใช้ว่า “แสดงเฉพาะพระพักตร์” หรือ “แสดง
หน้าที่นั่ง”
๗. ถ้ามีผู้ถวายสิ่ง้อง เช่น หมวก ผ้าเช็ดหน้า ฯลฯ ้ณะที่ถวายนันต้องใช้คาสามัญ
จะใช้คาราชาศัพท์มิได้ เพราะสิ่ง้องนันยังมิได้เป็น้องพระองค์ท่าน
คาที่เป็นราชาศัพท์ ถ้าเป็นคานามมักมีคาว่า พระ หรือ พระราช นาหน้า เช่น
พระองค์ พระพักตร์ พระเนตร
พระราชทรัพย์ พระราชวินิจฉัย พระราชโทรเล้
ถ้าเป็นคากริยา มักมีคาว่า ทรง ทรงพระ หรือ ทรงพระราช นาหน้า เช่น
ทรงยืน ทรงทักทาย ทรงเรือใบ
ทรงพระสรวล ทรงพระดาริ ทรงพระอักษร
ทรงพระราชนิพนธ์ ทรงพระราชปรารภ ทรงพระราชวินิจฉัย
คาบางคาเป็นกริยาราชาศัพท์อยู่แล้วไม่ต้องมี ทรง ทรงพระ หรือ ทรงพระราช นาหน้า
เช่น
บรรทม(นอน) โปรด(ชอบ,รัก) พระราชทาน(ให้)
ประทับ(นั่ง) กริว(โกรธ) เสด็จพระราชดาเนิน(เดินทางไป)
อันที่จริง ราชาศัพท์ มิได้หมายถึงถ้อยคาที่ใช้กับพระราชาเท่านัน หากแต่
หมายถึงถ้อยคาที่ใช้พูดถึงบุคคล เรื่องราวและสิ่งทังปวงที่กล่าวหรือเ้ียนอย่างถูก
หลักเกณฑ์ เป็นคาสุภาพไม่หยาบกระด้างน่ารังเกียจ สมควรจะกราบบังคมทูลพระ
กรุณาหรือใช้เป็นภาษาทางการ เป็นภาษาแบบแผน ราชาศัพท์มีหลักเกณฑ์เป็นระบบ
เหมาะกับยุคสมัยและบริบททางสังคม สอดคล้องกับธรรมชาติ้องภาษา เป็นที่นิยม
ยอมรับร่วมกัน ราชาศัพท์ประกอบด้วยคาศัพท์และสานวนที่มีความหมาย
กระชับ เหมาะสม ถูกต้องตามหลักภาษาไทย และมีความไพเราะน่าฟัง สื่อ
ความหมายได้อย่างมีประสิทธิผล ฉะนันการใช้ราชาศัพท์ นอกจากจะเป็นการรักษา
แบบแผนทางภาษาที่ดีงามไว้แล้ว ยังเป็นการแสดงออกถึงความเคารพที่บุคคลพึงมีต่อ
บุคคลอื่นที่ควรเคารพ
สรุปได้ว่า ราชาศัพท์มีความสาคัญทังทางสังคมและวัฒนธรรม รวมทังสุนทรีย
ลักษณ์เชิงภาษาอีกด้วย ดังตัวอย่างต่อไปนี
เพราะเหตุที่ว่าสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่สูงสุด้อง ประเทศมา
แต่โบราณ พระเจ้าแผ่นดินทรงใกล้ชิดกับประชาชนอย่างแนบแน่น คาราชาศัพท์
นันเป็นแบบอย่างวัฒนธรรมอันดีงามทางด้านการใช้ภาษาไทย และการอ่านหรือ
ศึกษาวรรณคดี การรับสารสื่อมวลชนในปัจจุบันก็ดี เหล่านีล้วนต้องมีคาราชา
ศัพท์เกี่ยว้้องอยู่ด้วยเสมอ ดังนันการเรียนรู้คาราชาศัพท์จึงเป็นสิ่งที่มีประโยชน์
ทังทางตรงและทางอ้อม
๑. ประโยชน์ทางตรง :
เป็นประโยชน์ที่เกิดจากการตังเป้ าหมายไว้ล่วงหน้า อันได้แก่
- ประโยชน์จากการใช้คาราชาศัพท์ถูกต้อง
ที่เรียกว่าใช้คาราชาศัพท์ถูกต้องนัน คือ ถูกต้องตามบุคคลที่ใช้ว่าบุคคลใดควร
ใช้ราชาศัพท์้ันไหน อย่างไร ถูกต้องตามโอกาส คือ โอกาสใดใช้คาราชาศัพท์หรือไม่
เพียงใด และถูกต้องตามวิธีการใช้ คือ ใช้ถูกต้องตามแบบแผนที่นิยม การใช้คาราชา
ศัพท์ต้องใช้ทังความรู้และประสบการณ์เป็นดุลยพินิจให้ถูกต้อง
- ประโยชน์จากการเ้้าใจที่ถูกต้อง
ไม่ว่าจากการอ่านหนังสือประเภทต่างๆ เช่น วรรณคดี วรรณกรรม
หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์ทังหลาย โทรทัศน์ วิทยุ ตลอดจนสิ่งบันเทิง ภาพยนตร์ ละคร
โ้น ลิเก เป็นต้น เพราะการรับรู้ รับฟัง บางครังต้องมีสิ่งที่เรียกว่า คาราชาศัพท์ร่วมอยู่
ด้วยเสมอ
๒. ประโยชน์ทางอ้อม :
เป็นผลพลอยได้แม้ตังเป้าหมายไว้ล่วงหน้าหรือไม่ตังเป้าหมายไว้ก็ตาม
คือ เมื่อรู้คาราชาศัพท์ดี ถูกต้อง ฟังหรืออ่านเรื่องราวที่มีคาราชาศัพท์เ้้าใจ
ผลประโยชน์พลอยได้ก็จะเกิด้ึนเสมอ เช่น
- ธารงรักษาวัฒนธรรมอันดีงาน้องชาติไว้คือ รักษาให้คงอยู่ไม่เสื่อม
สูญ ถือเป็นการธารงรักษาวัฒนธรรมและความมั่นคง้องประเทศชาติ
- เพิ่มความมีเสน่ห์ในตัวบุคคล คือ บุคคลผู้รู้และใช้คาราชาศัพท์ได้
อย่างถูกต้อง เป็นการแสดงออกซึ่งความมีวัฒนธรรมอันดีงามทางภาษา
• สาส์นสมเด็จ ฉบับองค์การค้าคุรุสภาพิมพ์จาหน่าย, เล่ม 23. (2505).
พระนคร : โรงพิมพ์คุรุสภา. หน้า 106-107
• .คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจจัดทาหนังสือ "ราชาศัพท์". (2545) ราชาศัพท์.
(พิมพ์ครั้งที่สอง). กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจากัดโรงพิมพ์ชวนพิมพ์. หน้า 3
้อ้อบคุณ้้อมูลจาก
คำราชาศัพท์

More Related Content

What's hot

๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
พจีกานต์ หว่านพืช
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
ssuser456899
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
Nanthida Chattong
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
Nanthida Chattong
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
Santichon Islamic School
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยHansa Srikrachang
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
Nanthida Chattong
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
Piyarerk Bunkoson
 
รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1
ชาญณรงค์ ขันเงิน
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
พจีกานต์ หว่านพืช
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
Nanthida Chattong
 

What's hot (20)

๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
การใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทยการใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทย
 
รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 

Viewers also liked

ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
Wilawun Wisanuvekin
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
Ppor Elf'ish
 
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
lovelyya2553
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผลkrukanteera
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยLaongphan Phan
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
kingkarn somchit
 

Viewers also liked (9)

ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัย
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 

Similar to คำราชาศัพท์

คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
thunchanokteenzaa54
 
Brands thai (o net)
Brands thai (o net)Brands thai (o net)
Brands thai (o net)
Khamcha-I Pittaya​khom school
 
ไทยครูเนื้อ
ไทยครูเนื้อไทยครูเนื้อ
ไทยครูเนื้อ
Maprang Polchitcharoon
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยnatta25
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
คุณานนต์ ทองกรด
 
คำเมืองและสุภาษิตล้านนา
คำเมืองและสุภาษิตล้านนาคำเมืองและสุภาษิตล้านนา
คำเมืองและสุภาษิตล้านนาwaratchaya603
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
kruthai40
 
สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59
Manee Prakmanon
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
Thanit Lawyer
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพAnan Pakhing
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพThanit Lawyer
 
How to use punctuation
How to use punctuationHow to use punctuation
How to use punctuation
พัน พัน
 
คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6
Parn Parai
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 

Similar to คำราชาศัพท์ (20)

คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 
99
9999
99
 
Brands thai (o net)
Brands thai (o net)Brands thai (o net)
Brands thai (o net)
 
ไทยครูเนื้อ
ไทยครูเนื้อไทยครูเนื้อ
ไทยครูเนื้อ
 
thai
thaithai
thai
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทย
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 
คำเมืองและสุภาษิตล้านนา
คำเมืองและสุภาษิตล้านนาคำเมืองและสุภาษิตล้านนา
คำเมืองและสุภาษิตล้านนา
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
 
How to use punctuation
How to use punctuationHow to use punctuation
How to use punctuation
 
คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

คำราชาศัพท์

  • 1.
  • 2. ๑. เพื่อให้ความรู้ในเรื่องคาราชาศัพท์ ๒. เพื่อนาคาราชาศัพท์ไปใช้ให้เหมาะสมกับแต่ละโอกาส ๓. เพื่อทาให้ผู้ศึกษามีความกระตือรือร้นในการเรียนมากยิ่ง้ึน ๔. เพื่อทาให้ผู้ศึกษามีความสนุกสนาน เพลิดเพลิน
  • 3. การเรียนภาษาไทยมีบทเรียนที่น่าสนใจมาก โดยเฉพาะบทเรียน เรื่อง คาราชาศัพท์ซึ่งทางคณะผู้จัดทามีความคิดเห็นว่า คาราชาศัพท์เป็นเรื่อง ที่ยุ่งยากสาหรับผู้ที่ศึกษาแล้วไม่ได้นาไปใช้ ดังนัน ทางผู้จัดทาจึงได้จัดทา โครงงานภาษาไทยเรื่องคาราชาศัพท์้ึนเพื่อทาให้ผู้ที่ศึกษาเกิดความรู้ ความเ้้าใจ ในคาราชาศัพท์มาก้ึน ทังยังได้รับความรู้เพิ่มเติมในด้านต่างๆ เกี่ยวกับคาราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจาวันคือหมวดใดบ้าง และมีบทบาทต่อการดารงคงชีวิติ้อง เราอย่างไรบ้าง
  • 5. คำรำชำศัพท์ คือ คำสุภำพที่ใช้ให้เหมำะสมกับฐำนะของบุคคลต่ำงๆ คำรำชำ ศัพท์เป็นกำรกำหนดคำและภำษำที่สะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมอันดีงำม ของไทยแม้คำรำชำศัพท์จะมีโอกำสใช้ในชีวิตน้อยแต่เป็นสิ่งที่แสดงถึงควำม ละเอียดอ่อนของภำษำไทยที่มีคำหลำยรูปหลำยเสียงใน ควำมหมำยเดียวกัน และเป็นลักษณะพิเศษของภำษำไทยโดยเฉพำะซึ่งใช้กับบุคคลกลุ่มต่ำงๆ ดังต่อไปนี้ ๑. พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวและสมเด็จพระนำงเจ้ำ พระบรมรำชินีนำถ ๒ พระบรมวงศำนุวงศ์ ๓. พระภิกษุสงฆ์ สำมเณร ๔. ขุนนำง ข้ำรำชกำร ๕. สุภำพชน
  • 8.  สมเด็จพระสังฆราช  สมเด็จพระราชาคณะ  พระราชาคณะ  พระสงฆ์ทั่วไป
  • 9.  ประธำนองคมนตรี  นำยกรัฐมนตรี  ประธำนสภำผู้แทนรำษฎร  องคมนตรี  รองนำยกรัฐมนตรี  รัฐมนตรี  รองประธำนสภำผู้แทนรำษฎร  ปลัดกระทรวง  อธิบดี ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด  สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร
  • 10.
  • 11.
  • 12. การใช้คานามราชาศัพท์จะสังเกตได้จากคาเติมหน้าว่าคาใดสาคัญมาก หรือน้อย สาคัญมาก - พระบรมมหาราชวัง พระบรมราชโองการ พระบรมอัฐิ พระมหาเศวตฉัตร สาคัญรองลงมา - พระราชลัญจกร พระราชวัง สิ่งสามัญทั่วไป - พระบาท พระเก้าอี * แต่หำกคำนำมใดเป็นคำประสม มีคำ “พระ” อยู่แล้ว ห้ำม ใช้พระ นำหน้ำซ้อนอีก เช่น พำนพระศรี ขันพระสำคร
  • 13. พระบรม • พระบรมราชโองการ • พระบรมราโชวาท • พระบรมราชินีนาถ พระราช • พระราชธิดา • พระราชทรัพย์ • พระราชกรณียกิจ พระ • พระภคินี • พระหทัย • พระโอสถ
  • 14. พระบรม • ไม่ใช้ พระรำช • พระราชเสาวนีย์ • พระราชวโรกาส • พระราชนิพนธ์ พระ • พระนัดดา • พระสุคนธ์ • พระหัตถ์
  • 16. คำรำชำศัพท์ คำสำมัญ พระอัฐิ กระดูก พระอังคาร เถ้ากระดูก พระวรกาย ร่างกาย พระนลาฏ หน้าผาก พระเจ้า ศีรษะ พระหัตถ์ มือ พระอุระ อก พระถัน นม พระปราง แก้ม คำรำชำศัพท์ คำสำมัญ พระโอษฐ์ ปาก พระทนต์ ฟัน พระชิวหา ลิน พระหนุ คาง พระอุทร ท้อง พระนาภี สะดือ พระมังสา เนือ พระองคาพยพ ส่วนต่างๆ้อง ร่างกาย
  • 17.
  • 18. คำสำมัญ คำรำชำศัพท์ คำสำมัญ คำรำชำศัพท์ ปู่,ตา ลุง,อา (พี่-น้องชาย้องพ่อ) ลุง,น้า (พี่-น้องชาย้องแม่) พ่อ พี่ชาย น้องชาย ลูกชาย หลาน ลูกเ้ย พระอัยกา พระปิตุลา พระมาตุลา พระบิดา พระเชษฐา พระอนุชา,พระ้นิษฐา พระโอรส พระนัดดา พระชามาดา ย่า,ยาย ป้า, อา (พี่-น้องสาว้องพ่อ) ป้า,น้า (พี่-น้องสาว้องแม่) แม่ พี่สาว น้องสาว ลูกสาว เหลน พระอัยยิกา พระปิตุจฉา พระมาตุจฉา พระมารดา พระเชษฐภคินี พระธิดา พระปนัดดา พระสุณิสา
  • 19. คำสำมัญ คำรำชำศัพท์ คำสำมัญ คำรำชำศัพท์ คำสำมัญ คำรำชำศัพท์ ยา กระจกส่อง ตุ้มหู ประตู ฟูก ผ้าห่มนอน นา ช้อน พระโอสถ พระฉาย พระกุณฑล พระทวาร พระบรรจถรณ์ ผ้าคลุมบรรทม พระสุธารส ฉลองพระหัตถ์ แว่นตา นาหอม แหวน หน้าต่าง เตียงนอน ผ้านุ่ง เหล้า ฉลองพระ เนตร พระสุคนธ์ พระธามรงค์ พระบัญชร พระแท่น บรรทม พระภูษาทรง นาจัณฑ์ หวี หมวก ร่ม อาวุธ มุ้ง ผ้าเช็ดหน้า พระสาง พระมาลา พระกลด พระแสง พระวิสูตร ผ้าซับพระ พักตร์
  • 20. ๑. “ถวายการต้อนรับ” คานีผิดที่ถูกต้อง คือ “เฝ้าฯ รับเสด็จ” หรือ “รับเสด็จ” ๒. “อาคันตุกะ” และ ”ราชอาคันตุกะ” ใช้ต่างกันดังนี “อาคันตุกะ” ใช้เมื่อ ก. พระมหากษัตริย์เสด็จฯ ไปทรงเป็นแ้ก้องบุคคลสาคัญ ้. บุคคลสามัญไปเป็นแ้ก้องบุคคลสามัญ “ราชอาคันตุกะ” ใช้เมื่อ ก. พระมหากษัตริย์เสด็จฯ ไปทรงเป็นแ้ก้องพระมหากษัตริย์ ้. บุคคลสามัญไปเป็นแ้ก้องพระมหากษัตริย์ ๓. “ถวายความจงรักภักดี” ความจงรักภักดีเป็น้องที่หยิบยื่นให้กันไม่ได้เป็นสิ่งที่มี ประจาตนแสดงปรากฏให้ทราบได้ฉะนันใช้“ถวาย” ไม่ได้จึงควรใช้“มีความจงรักภักดี”
  • 21. ๔. การใช้คา “ถวาย” มีใช้อยู่สองคาคือ “ทูลเกล้าฯ ถวาย” และ “น้อมเกล้าฯถวาย” ใช้ต่างกันดังนี ก. ถ้าสิ่ง้องนันเป็น้องเล็กใช้ “ทูลเกล้าฯ” ้. ถ้าสิ่ง้องนันเป็น้องใหญ่ใช้ “น้อมเกล้าฯ ถวาย” หรือ “ถวาย” เฉยๆ ๕. คาว่า “้อบใจ” ถ้าจะกล่าวว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง้อบใจ ก็ใช้ว่า “ทรง้อบใจ” หรือ “พระราชทานกระแส้อบใจ” ไม่ใช้“้อบพระทัย” เว้นแต่ผู้ที่ ทรง้อบใจนันเป็นพระราชวงศ์จึงใช้ “้อบพระทัย” ได้ ๖. เมื่อกล่าวถึงการแสดงใดๆถวายทอดพระเนตร มักจะใช้ว่า “แสดงหน้าพระพักตร์” หรือ “แสดงหน้าพระที่นั่ง” ซึ่งผิดต้องใช้ว่า “แสดงเฉพาะพระพักตร์” หรือ “แสดง หน้าที่นั่ง” ๗. ถ้ามีผู้ถวายสิ่ง้อง เช่น หมวก ผ้าเช็ดหน้า ฯลฯ ้ณะที่ถวายนันต้องใช้คาสามัญ จะใช้คาราชาศัพท์มิได้ เพราะสิ่ง้องนันยังมิได้เป็น้องพระองค์ท่าน
  • 22. คาที่เป็นราชาศัพท์ ถ้าเป็นคานามมักมีคาว่า พระ หรือ พระราช นาหน้า เช่น พระองค์ พระพักตร์ พระเนตร พระราชทรัพย์ พระราชวินิจฉัย พระราชโทรเล้ ถ้าเป็นคากริยา มักมีคาว่า ทรง ทรงพระ หรือ ทรงพระราช นาหน้า เช่น ทรงยืน ทรงทักทาย ทรงเรือใบ ทรงพระสรวล ทรงพระดาริ ทรงพระอักษร ทรงพระราชนิพนธ์ ทรงพระราชปรารภ ทรงพระราชวินิจฉัย คาบางคาเป็นกริยาราชาศัพท์อยู่แล้วไม่ต้องมี ทรง ทรงพระ หรือ ทรงพระราช นาหน้า เช่น บรรทม(นอน) โปรด(ชอบ,รัก) พระราชทาน(ให้) ประทับ(นั่ง) กริว(โกรธ) เสด็จพระราชดาเนิน(เดินทางไป)
  • 23. อันที่จริง ราชาศัพท์ มิได้หมายถึงถ้อยคาที่ใช้กับพระราชาเท่านัน หากแต่ หมายถึงถ้อยคาที่ใช้พูดถึงบุคคล เรื่องราวและสิ่งทังปวงที่กล่าวหรือเ้ียนอย่างถูก หลักเกณฑ์ เป็นคาสุภาพไม่หยาบกระด้างน่ารังเกียจ สมควรจะกราบบังคมทูลพระ กรุณาหรือใช้เป็นภาษาทางการ เป็นภาษาแบบแผน ราชาศัพท์มีหลักเกณฑ์เป็นระบบ เหมาะกับยุคสมัยและบริบททางสังคม สอดคล้องกับธรรมชาติ้องภาษา เป็นที่นิยม ยอมรับร่วมกัน ราชาศัพท์ประกอบด้วยคาศัพท์และสานวนที่มีความหมาย กระชับ เหมาะสม ถูกต้องตามหลักภาษาไทย และมีความไพเราะน่าฟัง สื่อ ความหมายได้อย่างมีประสิทธิผล ฉะนันการใช้ราชาศัพท์ นอกจากจะเป็นการรักษา แบบแผนทางภาษาที่ดีงามไว้แล้ว ยังเป็นการแสดงออกถึงความเคารพที่บุคคลพึงมีต่อ บุคคลอื่นที่ควรเคารพ สรุปได้ว่า ราชาศัพท์มีความสาคัญทังทางสังคมและวัฒนธรรม รวมทังสุนทรีย ลักษณ์เชิงภาษาอีกด้วย ดังตัวอย่างต่อไปนี
  • 24. เพราะเหตุที่ว่าสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่สูงสุด้อง ประเทศมา แต่โบราณ พระเจ้าแผ่นดินทรงใกล้ชิดกับประชาชนอย่างแนบแน่น คาราชาศัพท์ นันเป็นแบบอย่างวัฒนธรรมอันดีงามทางด้านการใช้ภาษาไทย และการอ่านหรือ ศึกษาวรรณคดี การรับสารสื่อมวลชนในปัจจุบันก็ดี เหล่านีล้วนต้องมีคาราชา ศัพท์เกี่ยว้้องอยู่ด้วยเสมอ ดังนันการเรียนรู้คาราชาศัพท์จึงเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ ทังทางตรงและทางอ้อม
  • 25. ๑. ประโยชน์ทางตรง : เป็นประโยชน์ที่เกิดจากการตังเป้ าหมายไว้ล่วงหน้า อันได้แก่ - ประโยชน์จากการใช้คาราชาศัพท์ถูกต้อง ที่เรียกว่าใช้คาราชาศัพท์ถูกต้องนัน คือ ถูกต้องตามบุคคลที่ใช้ว่าบุคคลใดควร ใช้ราชาศัพท์้ันไหน อย่างไร ถูกต้องตามโอกาส คือ โอกาสใดใช้คาราชาศัพท์หรือไม่ เพียงใด และถูกต้องตามวิธีการใช้ คือ ใช้ถูกต้องตามแบบแผนที่นิยม การใช้คาราชา ศัพท์ต้องใช้ทังความรู้และประสบการณ์เป็นดุลยพินิจให้ถูกต้อง - ประโยชน์จากการเ้้าใจที่ถูกต้อง ไม่ว่าจากการอ่านหนังสือประเภทต่างๆ เช่น วรรณคดี วรรณกรรม หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์ทังหลาย โทรทัศน์ วิทยุ ตลอดจนสิ่งบันเทิง ภาพยนตร์ ละคร โ้น ลิเก เป็นต้น เพราะการรับรู้ รับฟัง บางครังต้องมีสิ่งที่เรียกว่า คาราชาศัพท์ร่วมอยู่ ด้วยเสมอ
  • 26. ๒. ประโยชน์ทางอ้อม : เป็นผลพลอยได้แม้ตังเป้าหมายไว้ล่วงหน้าหรือไม่ตังเป้าหมายไว้ก็ตาม คือ เมื่อรู้คาราชาศัพท์ดี ถูกต้อง ฟังหรืออ่านเรื่องราวที่มีคาราชาศัพท์เ้้าใจ ผลประโยชน์พลอยได้ก็จะเกิด้ึนเสมอ เช่น - ธารงรักษาวัฒนธรรมอันดีงาน้องชาติไว้คือ รักษาให้คงอยู่ไม่เสื่อม สูญ ถือเป็นการธารงรักษาวัฒนธรรมและความมั่นคง้องประเทศชาติ - เพิ่มความมีเสน่ห์ในตัวบุคคล คือ บุคคลผู้รู้และใช้คาราชาศัพท์ได้ อย่างถูกต้อง เป็นการแสดงออกซึ่งความมีวัฒนธรรมอันดีงามทางภาษา
  • 27. • สาส์นสมเด็จ ฉบับองค์การค้าคุรุสภาพิมพ์จาหน่าย, เล่ม 23. (2505). พระนคร : โรงพิมพ์คุรุสภา. หน้า 106-107 • .คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจจัดทาหนังสือ "ราชาศัพท์". (2545) ราชาศัพท์. (พิมพ์ครั้งที่สอง). กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจากัดโรงพิมพ์ชวนพิมพ์. หน้า 3 ้อ้อบคุณ้้อมูลจาก