SlideShare a Scribd company logo
 เรื่อง ความงามของภาษา การสรรคา และการเรียบเรียงถ้อยคา
 ความงามของภาษา
 ภาษามีความงามได้เพราะประกอบด้วยถ้อยคา การสรร
  ถ้อยคาที่มีเสียไพเราะมีความหมายดีเด่น ให้ภาพชัดเจน
  และเรียบเรียงถูกตามหลักเกณฑ์และความนิยมของภาษา
  โดยอาศัยศิลปะการประพันธ์เข้าช่วย
ถ้อยคา
 ถ้อยคาในภาษาไทยที่จะสรรมาใช้เพื่อให้เกิดความงามในภาษาได้
  มีดังนี้

 ๑. คาประสม ที่สะท้อนจินตนาการของผู้คิดคา คาประสม
  ประเภทนี้ให้
 ภาพได้ชัดเจน เช่น น้าตก มีดพับ สมเสร็จ หงอนไก่
 ๒. คาสมาส เป็นคาที่กะทัดรัด สื่อความหมายได้ดี และ
 ออกเสียงได้
 ไพเราะ เช่น พุทธโอวาท อุบัติเหตุ
 ๓. คาซ้อนสี่คา มีเสียงสัมผัสไพเราะ เช่น ลายลักษณ์
  อักษร
   เก็บหอมรอมริบ แคล่วคล่องว่องไว น้าพักน้าแรง
 ๔. คามูลสี่พยางค์ เช่น กระปรี้กระเปร่า กระฉับกระเฉง
     กระจุยกระจาย ระหองระเเหง ตุปัดตุป่อง
   ๕. คาไวพจน์ คือคาที่ความหมายเหมือนกัน เช่น
 คาไวพจน์ของดวงอาทิตย์ ได้แก่ รวิ รวี รพี ราไพ ไถง อังศุ
  มาลิน สุริยะ สุริยา สุริโย สุริยัน ทิพากร ทิวากรตะวัน ตา
  วัน เป็นต้น
เสียง
 เสียงในภาษาไทยที่ก่อให้เกิดความงามของภาษามี ๓ ประเภท คือ
 ๑.เสียงสัมผัส
      ๑.๑ เสียงสัมผัสสระ คือมีเสียงเหมือนกัน ถ้าเป็นพยางค์
     ปิดต้องมีเสียงพยัญชนะท้ายเหมือนกันด้วย เช่น ดูน้าวิ่ง
     กลิ้งเชี่ยวเป็นเกลียวกลอก
     ๑.๒ เสียงสัมผัสอักษร (หรือสัมผัสพยัญชนะ) คือ มีเสียง
     พยัญชนะต้นเหมือนกัน
   เช่น อย่าหยิ่งเย่อยกย่อง       ลาพองพิษ
๒.เสียงวรรณยุกต์ ก่อให้เกิดเสียงดนตรีที่ไพเราะ คาประพันธ์ ไทยมี
        ๕ ประเภท ในจานวนนีมี ๓ ประเภทบังคับการใช้วรรณยุกต์ คือ
                                ้
   -โคลง บังคับคาเอก คาโท
   -ร่ายบังคับคาที่ส่งสัมผัสท้ายวรรคกับคาที่รับสัมผัสต้องใช้คาที่มีรูป
    วรรณยุกต์เดียวกัน
   -กลอน บังคับเสียงวรรณยุกต์ท้ายวรรคทุกวรรค
   การบังคับเช่นนี้เพื่อให้มีเสียงไพเราะก่อให้เกิดความงามของภาษา
๓. เสียงหนักเบาและจังหวะอันเกิดจากการอ่าน
 ๓.๑ การอ่านร้อยแก้ว ผู้อ่านเน้นเสียงหนักเบาให้เหมาะสม
  กับเนื้อความ ที่อ่าน มีการทอดเสียง เว้นวรรคเหมาะสม
  จะก่อให้เกิดความงามขึ้น
 ๓.๒ การอ่านร้อยกรอง ร้อยกรองประเภทฉันท์จะมีการ
  กาหนดเสียง                หนักเบาได้แน่นอน เมื่ออ่านเป็น
  ทานองเสนาะจะก่อให้เกิดเสียงทีj เป็นจังหวะและลานาอัน
  ไพเราะงดงาม
 ๑.ความหมายในบริบท
 เช่น เกาะ มีความหมายหลายอย่าง
     ตัวอย่าง นกเกาะกิ่งไม้ ฉันไปเที่ยวเกาะภูเก็ต
 ๒.ความหมายในสาร
       หากผู้อ่านมีประสบการณ์และจินตนาการใกล้เคียงกับผูแต่ง
                                                        ้
      ก็จะเข้าใจสารเป็นอย่างดี
 ๓.ความหมายในกวีโวหาร
       การอ่านต้องตีความก่อนจึงจะเข้าใจ
 ๑.เลือกคาที่มีความหมายเหมาะสมกับเนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง
  เช่น เรื่องที่เป็นนิทาน นิราศ อาศิรวาท ย่อมต้องใช้คาต่างๆกันไปให้
  เหมาะสม
 ๒.การเลือกคาโดยเพ่งเล็งเสียงของคา ใช้ศิลปะการประพันธ์ดังนี้
       สัทพจน์ หรือการใช้เลียนเสียงธรรมชาติและเสียงต่างๆ
       การเล่นคา คือการใช้คาพ้องเสียงหรือคาที่มีเสียงเหมือนกัน
       การซ้าคา การใช้คาให้เกิดเสียงไพเราะ และได้น้านักของความหมาย
การเล่นคา คือการใช้คาพ้องเสียงหรือคาที่มีเสียงเหมือนกัน

    การซ้าคา การใช้คาให้เกิด
    เสียงไพเราะ และได้น้านักของ

 ความหมาย เช่น
 เรื่อยเรื่อยมาเรียงเรียง
 นกบินเฉียงไปทั้งหมู่
 การซ้าเล่นคา คือการซ้า
 และเล่นคากันด้วย เช่น
รอนรอนสุริยะโอ้   อัสดง
     เรื่อยเรื่อยลับเมรุลง        ค้าแล้ว
     รอนรอนจิตจานง                นุชพี่ เพียงแม่
    เรื่อยเรื่อยเรียมคอยแก้ว      คลับคล้ายเรียมเหลียว
 “รอนรอน”ในบาทที่ ๑ และบาทที่ ๓ กับ “เรื่อยเรื่อย” ใน
  บาทที่ ๒ และบาทที่ ๔ ซ้าคาเล่นคา
 อัพภาส คือคาซ้านิดหนึ่ง เช่น วะวับ ระรื่น การใช้อัพภาสจะทาให้
  เสียงไพเราะเช่น
        ยะแย้มยิ้มพิมพ์ใจให้วาบหวาม           วะวาววับตางาม
  ทรามสงวน
 การเล่นเสียงสัมผัส มีทั้งเล่นเสียงสัมผัสสระและเสียงสัมผัสอักษร
  (หรือสัมผัสพยัญชนะ) ในวรรคเดียวกัน หรือในตาแหน่งที่ไม่ใช่
  สัมผัสบังคับ
 การเล่นเสียงวรรณยุกต์ คือ การไล่เสียงวรรณยุกต์
    ก่อให้เกิดเสียงดนตรีที่ไพเราะ
      ธรณีนี่นี้               เป็นพยาน
 เมืองชื่อกาญจนบุรี            ว่างว้าง
 จะจับจองจ่องจ้องสิ่งใดนั้น        ดูสาคัญคั่นคั้นอย่างันฉงน
 ๑.คนที่พูดจา….จะไม่ใช้วาจาที่ระคายเคืองหูผู้อื่น
 ควรใช้คาซ้อนในข้อใดเติมลงในช่องว่างข้างต้น
 ก.อ่อนน้อม            ข.อ่อนโยน
 ค.อ่อนหวาน            ง.อ่อนช้อย
 ๒.ข้อใดเรียงคาให้ได้ดุลของเสียงและความหมาย
  ก่อให้เกิดความงามในภาษา
 ก.เข้าป่าอย่าเสียเหมือง เข้าเมืองอย่าเสียขุน
 ข.สิบทิศทั่วลือละเวง หวั่นเดชท่านนา
 ค.สองฝ่ายหาญใช่ช้า คือสีห์สู้สีหกล้า ์
  ง.พระพรายชายพัดมาเชยชื่น หอมระรื่นรอบในไพร
  ระหง
 ๓.”ครืนครืนใช่ฟ้าร้อง เรียมครวญ
 หึ่งหึ่งให้ลมหวน        พี่ให้”
 คาประพันธ์ข้างต้นนี้ใช้ศิลปะการปะพันธ์ตรงกับข้อใด
 ก.สัทพจน์ ข.เล่นคา          ค.อัพภาส ง.เล่นคาซ้าคา

 ๔.การใช้คาอัพภาสให้ความไพเราะทางด้านใด
 ก.ความหมาย             ข.ความคล้องจอง
 ค.จังหวะหนักเบา        ง.ความสะเทือนอารมณ์
   ๕.ภาพที่ปรากฏในจินตนาการหรือในความรูสึก
                                         ้
    ของบุคคลตามที่บุคคลนั้นๆเคยมีประสบการณ์
    เรียกว่าอะไร
               ก.จินตภาพ       ข.มโนภาพ

             ค.ภาพพจน์       ง.ภาพลักษณ์
๖.ข้อใดเป็นอติพจน์
  ก.เฉลิมพระชนมพรรษาสิงหามาส   ข้าพระบาทบังคมก้มเกศี
  ข.แม่เป็นมิงขวัญแผ่นดินทอง
             ่                 แม่เป็นแสงโสมส่องแผ่นดิน
  ธรรม
  ค.ขอเดชะปวงข้าประชาราษฏร์    กราบพระบาทถวายพรภิญโญป
  ถัมภ์
  ง.ขอพระชนม์ยืนนานจารใจจา     คู่ถิ่นธรรมถินทองของไทย
                                            ่
  เทอญ
๗.เสียงสัมผัสในสานวนข้อใดที่ต่างกับขออื่น
       ก.บัวไม่ให้ช้า              น้าไม่ให้ขุ่น
       ข.มะพร้าวตื่นดก ยาจกตื่นมี
       ค.ไม้อ่อนดัดง่าย ไม้แก่ดดยาก
                                 ั
       ง.เรือร่มเมื่อจอด ตาบอดเมื่อแก่
 ๘.” งานนี้ยิ่งทาเสร็จเร็ว … ก็ยิ่งดีเท่านั้น”
 ควรใช้คาในข้อใดเติมลงในช่องว่างข้างต้น จึงได้ดุลของเสียงและ
  ความหมาย
 ก.เมื่อไร ข.ฉันใด                 ค.เท่าไร      ง.เพียงใด
 ๘.” งานนี้ยิ่งทาเสร็จเร็ว … ก็ยิ่งดีเท่านั้น”
 ควรใช้คาในข้อใดเติมลงในช่องว่างข้างต้น จึงได้ดุล
  ของเสียงและความหมาย
 ก.เมื่อไร                 ข.ฉันใด
 ค.เท่าไร                  ง.เพียงใด
    คาประพันธ์ข้างต้นนี้ใช้ศิลปะการปะพันธ์ตรงกับข้อใด
      ก.สัทพจน์      ข.เล่นคา        ค.อัพภาส       ง.เล่นคาซ้าคา


 ๑๐.”กิรดังได้สดับมา ยังมีกระทาชายนายหนึ่ง
 เ ดินทางร่อนเร่….”
 ก.นิทาน            ข.ตานาน       ค.เรื่องสั้น      ง.นวนิยาย
 ข้อ ๑.ค   ข้อ๒.ก   ข้อ๓.ก
 ข้อ๔.ค    ข้อ๕.ก   ข้อ๖.ง
 ข้อ๗.ก    ข้อ๘.ค   ข้อ๙.ค
 ข้อ๑๐.ก

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6teerachon
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นkruthai40
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกTheeraphisith Candasaro
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะการสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะNU
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ARM ARM
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลChavalit Deeudomwongsa
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2Pattama Poyangyuen
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยYim Wiphawan
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะการสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 

Viewers also liked

บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงบทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงPiyarerk Bunkoson
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (9)

แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงบทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 

Similar to งานนำเสนอคำไวพจน์

อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองManee Prakmanon
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลงnarongsak kalong
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองNimnoi Kamkiew
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองMong Chawdon
 

Similar to งานนำเสนอคำไวพจน์ (20)

๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรอง
 
โวหาร19 กพ
โวหาร19 กพโวหาร19 กพ
โวหาร19 กพ
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทย
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
ประมวลปัญหาเฉลยบาลี
ประมวลปัญหาเฉลยบาลีประมวลปัญหาเฉลยบาลี
ประมวลปัญหาเฉลยบาลี
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 

More from phornphan1111

พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22phornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์phornphan1111
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..phornphan1111
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์phornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 

More from phornphan1111 (8)

พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 

งานนำเสนอคำไวพจน์

  • 1.  เรื่อง ความงามของภาษา การสรรคา และการเรียบเรียงถ้อยคา
  • 2.  ความงามของภาษา  ภาษามีความงามได้เพราะประกอบด้วยถ้อยคา การสรร ถ้อยคาที่มีเสียไพเราะมีความหมายดีเด่น ให้ภาพชัดเจน และเรียบเรียงถูกตามหลักเกณฑ์และความนิยมของภาษา โดยอาศัยศิลปะการประพันธ์เข้าช่วย
  • 3. ถ้อยคา  ถ้อยคาในภาษาไทยที่จะสรรมาใช้เพื่อให้เกิดความงามในภาษาได้ มีดังนี้  ๑. คาประสม ที่สะท้อนจินตนาการของผู้คิดคา คาประสม ประเภทนี้ให้  ภาพได้ชัดเจน เช่น น้าตก มีดพับ สมเสร็จ หงอนไก่
  • 4.  ๒. คาสมาส เป็นคาที่กะทัดรัด สื่อความหมายได้ดี และ ออกเสียงได้  ไพเราะ เช่น พุทธโอวาท อุบัติเหตุ  ๓. คาซ้อนสี่คา มีเสียงสัมผัสไพเราะ เช่น ลายลักษณ์ อักษร เก็บหอมรอมริบ แคล่วคล่องว่องไว น้าพักน้าแรง
  • 5.  ๔. คามูลสี่พยางค์ เช่น กระปรี้กระเปร่า กระฉับกระเฉง กระจุยกระจาย ระหองระเเหง ตุปัดตุป่อง
  • 6. ๕. คาไวพจน์ คือคาที่ความหมายเหมือนกัน เช่น  คาไวพจน์ของดวงอาทิตย์ ได้แก่ รวิ รวี รพี ราไพ ไถง อังศุ มาลิน สุริยะ สุริยา สุริโย สุริยัน ทิพากร ทิวากรตะวัน ตา วัน เป็นต้น
  • 7. เสียง  เสียงในภาษาไทยที่ก่อให้เกิดความงามของภาษามี ๓ ประเภท คือ  ๑.เสียงสัมผัส ๑.๑ เสียงสัมผัสสระ คือมีเสียงเหมือนกัน ถ้าเป็นพยางค์ ปิดต้องมีเสียงพยัญชนะท้ายเหมือนกันด้วย เช่น ดูน้าวิ่ง กลิ้งเชี่ยวเป็นเกลียวกลอก ๑.๒ เสียงสัมผัสอักษร (หรือสัมผัสพยัญชนะ) คือ มีเสียง พยัญชนะต้นเหมือนกัน เช่น อย่าหยิ่งเย่อยกย่อง ลาพองพิษ
  • 8. ๒.เสียงวรรณยุกต์ ก่อให้เกิดเสียงดนตรีที่ไพเราะ คาประพันธ์ ไทยมี ๕ ประเภท ในจานวนนีมี ๓ ประเภทบังคับการใช้วรรณยุกต์ คือ ้  -โคลง บังคับคาเอก คาโท  -ร่ายบังคับคาที่ส่งสัมผัสท้ายวรรคกับคาที่รับสัมผัสต้องใช้คาที่มีรูป  วรรณยุกต์เดียวกัน  -กลอน บังคับเสียงวรรณยุกต์ท้ายวรรคทุกวรรค  การบังคับเช่นนี้เพื่อให้มีเสียงไพเราะก่อให้เกิดความงามของภาษา
  • 9. ๓. เสียงหนักเบาและจังหวะอันเกิดจากการอ่าน  ๓.๑ การอ่านร้อยแก้ว ผู้อ่านเน้นเสียงหนักเบาให้เหมาะสม กับเนื้อความ ที่อ่าน มีการทอดเสียง เว้นวรรคเหมาะสม จะก่อให้เกิดความงามขึ้น  ๓.๒ การอ่านร้อยกรอง ร้อยกรองประเภทฉันท์จะมีการ กาหนดเสียง หนักเบาได้แน่นอน เมื่ออ่านเป็น ทานองเสนาะจะก่อให้เกิดเสียงทีj เป็นจังหวะและลานาอัน ไพเราะงดงาม
  • 10.  ๑.ความหมายในบริบท  เช่น เกาะ มีความหมายหลายอย่าง ตัวอย่าง นกเกาะกิ่งไม้ ฉันไปเที่ยวเกาะภูเก็ต  ๒.ความหมายในสาร  หากผู้อ่านมีประสบการณ์และจินตนาการใกล้เคียงกับผูแต่ง ้ ก็จะเข้าใจสารเป็นอย่างดี  ๓.ความหมายในกวีโวหาร  การอ่านต้องตีความก่อนจึงจะเข้าใจ
  • 11.  ๑.เลือกคาที่มีความหมายเหมาะสมกับเนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง เช่น เรื่องที่เป็นนิทาน นิราศ อาศิรวาท ย่อมต้องใช้คาต่างๆกันไปให้ เหมาะสม  ๒.การเลือกคาโดยเพ่งเล็งเสียงของคา ใช้ศิลปะการประพันธ์ดังนี้  สัทพจน์ หรือการใช้เลียนเสียงธรรมชาติและเสียงต่างๆ  การเล่นคา คือการใช้คาพ้องเสียงหรือคาที่มีเสียงเหมือนกัน  การซ้าคา การใช้คาให้เกิดเสียงไพเราะ และได้น้านักของความหมาย
  • 12. การเล่นคา คือการใช้คาพ้องเสียงหรือคาที่มีเสียงเหมือนกัน  การซ้าคา การใช้คาให้เกิด เสียงไพเราะ และได้น้านักของ ความหมาย เช่น  เรื่อยเรื่อยมาเรียงเรียง นกบินเฉียงไปทั้งหมู่  การซ้าเล่นคา คือการซ้า และเล่นคากันด้วย เช่น
  • 13. รอนรอนสุริยะโอ้ อัสดง  เรื่อยเรื่อยลับเมรุลง ค้าแล้ว  รอนรอนจิตจานง นุชพี่ เพียงแม่  เรื่อยเรื่อยเรียมคอยแก้ว คลับคล้ายเรียมเหลียว  “รอนรอน”ในบาทที่ ๑ และบาทที่ ๓ กับ “เรื่อยเรื่อย” ใน บาทที่ ๒ และบาทที่ ๔ ซ้าคาเล่นคา
  • 14.  อัพภาส คือคาซ้านิดหนึ่ง เช่น วะวับ ระรื่น การใช้อัพภาสจะทาให้ เสียงไพเราะเช่น ยะแย้มยิ้มพิมพ์ใจให้วาบหวาม วะวาววับตางาม ทรามสงวน  การเล่นเสียงสัมผัส มีทั้งเล่นเสียงสัมผัสสระและเสียงสัมผัสอักษร (หรือสัมผัสพยัญชนะ) ในวรรคเดียวกัน หรือในตาแหน่งที่ไม่ใช่ สัมผัสบังคับ
  • 15.  การเล่นเสียงวรรณยุกต์ คือ การไล่เสียงวรรณยุกต์ ก่อให้เกิดเสียงดนตรีที่ไพเราะ  ธรณีนี่นี้ เป็นพยาน  เมืองชื่อกาญจนบุรี ว่างว้าง  จะจับจองจ่องจ้องสิ่งใดนั้น ดูสาคัญคั่นคั้นอย่างันฉงน
  • 17.  ๒.ข้อใดเรียงคาให้ได้ดุลของเสียงและความหมาย ก่อให้เกิดความงามในภาษา  ก.เข้าป่าอย่าเสียเหมือง เข้าเมืองอย่าเสียขุน  ข.สิบทิศทั่วลือละเวง หวั่นเดชท่านนา  ค.สองฝ่ายหาญใช่ช้า คือสีห์สู้สีหกล้า ์ ง.พระพรายชายพัดมาเชยชื่น หอมระรื่นรอบในไพร ระหง
  • 18.  ๓.”ครืนครืนใช่ฟ้าร้อง เรียมครวญ  หึ่งหึ่งให้ลมหวน พี่ให้”  คาประพันธ์ข้างต้นนี้ใช้ศิลปะการปะพันธ์ตรงกับข้อใด  ก.สัทพจน์ ข.เล่นคา ค.อัพภาส ง.เล่นคาซ้าคา  ๔.การใช้คาอัพภาสให้ความไพเราะทางด้านใด  ก.ความหมาย ข.ความคล้องจอง  ค.จังหวะหนักเบา ง.ความสะเทือนอารมณ์
  • 19. ๕.ภาพที่ปรากฏในจินตนาการหรือในความรูสึก ้ ของบุคคลตามที่บุคคลนั้นๆเคยมีประสบการณ์ เรียกว่าอะไร ก.จินตภาพ ข.มโนภาพ ค.ภาพพจน์ ง.ภาพลักษณ์
  • 20. ๖.ข้อใดเป็นอติพจน์ ก.เฉลิมพระชนมพรรษาสิงหามาส ข้าพระบาทบังคมก้มเกศี ข.แม่เป็นมิงขวัญแผ่นดินทอง ่ แม่เป็นแสงโสมส่องแผ่นดิน ธรรม ค.ขอเดชะปวงข้าประชาราษฏร์ กราบพระบาทถวายพรภิญโญป ถัมภ์ ง.ขอพระชนม์ยืนนานจารใจจา คู่ถิ่นธรรมถินทองของไทย ่ เทอญ
  • 21. ๗.เสียงสัมผัสในสานวนข้อใดที่ต่างกับขออื่น  ก.บัวไม่ให้ช้า น้าไม่ให้ขุ่น  ข.มะพร้าวตื่นดก ยาจกตื่นมี  ค.ไม้อ่อนดัดง่าย ไม้แก่ดดยาก ั  ง.เรือร่มเมื่อจอด ตาบอดเมื่อแก่  ๘.” งานนี้ยิ่งทาเสร็จเร็ว … ก็ยิ่งดีเท่านั้น”  ควรใช้คาในข้อใดเติมลงในช่องว่างข้างต้น จึงได้ดุลของเสียงและ ความหมาย  ก.เมื่อไร ข.ฉันใด ค.เท่าไร ง.เพียงใด
  • 22.  ๘.” งานนี้ยิ่งทาเสร็จเร็ว … ก็ยิ่งดีเท่านั้น”  ควรใช้คาในข้อใดเติมลงในช่องว่างข้างต้น จึงได้ดุล ของเสียงและความหมาย  ก.เมื่อไร ข.ฉันใด  ค.เท่าไร ง.เพียงใด
  • 23. คาประพันธ์ข้างต้นนี้ใช้ศิลปะการปะพันธ์ตรงกับข้อใด  ก.สัทพจน์ ข.เล่นคา ค.อัพภาส ง.เล่นคาซ้าคา   ๑๐.”กิรดังได้สดับมา ยังมีกระทาชายนายหนึ่ง  เ ดินทางร่อนเร่….”  ก.นิทาน ข.ตานาน ค.เรื่องสั้น ง.นวนิยาย
  • 24.  ข้อ ๑.ค ข้อ๒.ก ข้อ๓.ก  ข้อ๔.ค ข้อ๕.ก ข้อ๖.ง  ข้อ๗.ก ข้อ๘.ค ข้อ๙.ค  ข้อ๑๐.ก