SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
ลักษณะภาษาไทย
ความหมายของภาษา
คำาว่า “ ภาษา” เป็นคำาภาษาสัน
สฤต แปลตามรูปศัพท์หมายถึงคำา
พูดหรือถ้อยคำา ภาษาเป็นเครื่อง
มือของมนุษย์ที่ใช้ในการสื่อความ
หมายให้สามารถสื่อสารติดต่อ
ทำาความเข้าใจกันโดยมีระเบียบ
ของคำาและเสียงเป็นเครื่องกำาหนด
ในพจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542
ให้ความหมายของคำาว่าภาษา คือ
เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำาความ
เข้าใจกันได้ คำาพูดถ้อยคำาที่ใช้
พูดจากัน
ภาษา แบ่งออกเป็น 2
ประเภท คือ
• ภาษาที่เป็นถ้อยคำา เรียกว่า
“ วัจนภาษา” เป็นภาษาที่ใช้
คำาพูดโดยใช้เสียงที่เป็นถ้อยคำา
สร้างความเข้าใจกัน นอกจาก
นั้นยังมีตัวหนังสือที่ใช้แทนคำา
พูดตามหลักภาษาอีกด้วย
• ภาษาที่ไม่เป็นถ้อยคำา เรียก
ว่า “ อวัจนภาษา” เป็นภาษา
ที่ใช้สิ่งอื่นนอกเหนือจากคำาพูด
และตัวหนังสือในการสื่อสาร
เช่น การพยักหน้า การโค้ง
คำานับ การสบตา การ
แสดงออกบนใบหน้าที่
แสดงออกถึงความเต็มใจและ
ไม่เต็มใจ อวัจนภาษาจึงมีความ
สำาคัญเพื่อให้วัจนภาษามีความ
ชัดเจนสื่อสารได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
นอกจากท่าทางแล้วยังมี
สัญลักษณ์ต่างๆ ที่มนุษย์สร้าง
ขึ้นมาใช้ในการสื่อสารสร้าง
ความเข้าใจ อีกด้วย
ความสำาคัญของภาษา
1.ภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ใน
การสื่อสารของมนุษย์ มนุษย์
ติดต่อกันได้ เข้าใจกันได้ก็ด้วย
อาศัยภาษาเป็นเครื่องช่วยที่ดี
ที่สุด
2.ภาษาเป็นสิ่งช่วยยึดให้มนุษย์
มีความผูกพันต่อกัน เนื่องจาก
แต่ละภาษาต่างก็มีระเบียบ
แบบแผนของตน ซึ่งเป็นที่ตกลง
กันในแต่ละชาติแต่ละกลุ่มชน
การพูดภาษาเดียวกันจึงเป็นสิ่งที่
ทำาให้คนรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกัน
มีความผูกพันต่อกันในฐานะที่
เป็นชาติเดียวกัน
3.ภาษาเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง
ของมนุษย์ และเป็นเครื่องแสดง
ให้เห็นวัฒนธรรมส่วนอื่นๆของ
มนุษย์ด้วย เราจึงสามารถศึกษา
วัฒนธรรมตลอดจนเอกลักษณ์
ของชนชาติต่างๆได้จากศึกษา
ภาษาของชนชาตินั้นๆ
4.ภาษาศาสตร์มีระบบกฎเกณฑ์
ผู้ใช้ภาษาต้องรักษากฎเกณฑ์
ในภาษาไว้ด้วยอย่างไรก็ตาม
กฎเกณฑ์ในภาษานั้นไม่ตายตัว
เหมือนกฎวิทยาศาสตร์ แต่มี
การเปลี่ยนแปลงไปตาม
ธรรมชาติของภาษา เพราะเป็น
สิ่งที่มนุษย์ตั้งขึ้น จึง
เปลี่ยนแปลงไปตามกาลสมัยตาม
ความเห็นชอบของส่วนรวม
5.ภาษาเป็นศิลปะ มีความ
งดงามในกระบวนการใช้ภาษา
กระบวนการใช้ภาษานั้น มีระดับ
และลีลา ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ
หลายด้าน เช่น บุคคล
กาลเทศะ ประเภทของเรื่องฯลฯ
การที่จะเข้าใจภาษา และใช้
ภาษาได้ดีจะต้องมีความสนใจ
ศึกษาสังเกตให้เข้าถึงรสของ
ภาษาด้วย
องค์ประกอบของภาษา
ภาษาทุกภาษาย่อมมีองค์
ประกอบของภาษา โดยทั่วไป
จะมีองค์ประกอบ 4 ประการ
คือ
1.เสียง นักภาษาศาสตร์จะ
ให้ความสำาคัญของเสียงพูด
มกกว่าตัวเขียนที่เป็นลาย
ลักษณ์อักษร เพราะภาษาย่อม
เกิดจากเสียงที่ใช้พูดกัน ส่วน
ภาษาเขียนเป็นสัญลักษณ์ที่
ใช้แทนเสียงพูด คำาที่ใช้พูดจา
กันจะประกอบด้วยเสียงสระ
เสียงพยัญชนะและเสียง
วรรณยุกต์ แต่บางภาษาก็ไม่มี
เสียงวรรณยุกต์ เช่น บาลี
สันสกฤต เขมร อังกฤษ
2.พยางค์และคำา พยางค์
เป็นกลุ่มเสียงที่เปล่งออกมา
แต่ละครั้ง จะประกอบด้วย
เสียงพยัญชนะ เสียงสระ และ
เสียงวรรณยุกต์ จะมีความ
หมายหรือไม่มีความหมาย
ก็ได้ พยางค์แต่ละพยางค์จะมี
เสียงพยัญชนะต้น ซึ่งเป็น
เสียงที่อยู่หน้าเสียงสระ
พยางค์ทุกพยางค์จะต้องมี
เสียงพยัญชนะต้น เสียงสระ
และเสียงวรรณยุกต์ บาง
พยางค์ก็อาจมีเสียงพยัญชนะ
สะกดประกอบอยู่ด้วย เช่น
“ ปา” พยัญชนะต้น ได้แก่
เสียงพยัญชนะ /ป/
เสียงสระ ได้แก่ เสียงสระ /อา/
เสียงวรรณยุกต์ ได้แก่ เสียง /
สามัญ/
ส่วนคำานั้นจะเป็นการนำาเสียง
พยัญชนะ เสียงสระ และเสียง
วรรณยุกต์มาประกอบกัน
ทำาให้เกิดเสียงและมีความ
หมาย คำาจะประกอบด้วยคำา
พยางค์เดียวหรือหลายพยางค์
ก็ได้
3.ประโยค ประโยค
เป็นการนำาคำามาเรียงกันตาม
ลักษณะโครงสร้างของภาษาที่
กำาหนดเป็นกฎเกณฑ์หรือ
ระบบตามระบบทางไวยากรณ์
ของแต่ละภาษา และทำาให้
ทราบหน้าที่ของคำา
4.ความหมาย ความหมาย
ของคำามี 2 อย่าง คือ
(1) ความหมายตามตัวหรือ
ความหมายนัยตรง เป็น
ความหมายตรงของคำานั้นๆ
เป็นคำาที่ถูกกำาหนดและผู้ใช้
ภาษามีความเข้าใจตรงกัน เช่น
“ กิน” หมายถึง นำาอาหารเข้า
ปากเคี้ยวและกลืนลงไปในคอ
(2) ความหมายในประหวัด
หรือความหมายเชิงอุปมา
เป็นความหมายเพิ่มจากความ
หมายในตรง เช่น
“ กินใจ” หมายถึง รู้สึก
แหนงใจ
“ กินแรง” หมายถึง เอาเปรียบ
ผู้อื่นในการทำางาน
ลักษณะสำาคัญของภาษา
ไทย
ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีลักษณะ
เป็นของตนเองและมีความแตก
ต่างจากภาษาอื่นที่นำามาใช้ใน
ภาษาไทย การใช้ภาษาไทยได้
อย่างถูกต้อง จำาเป็นต้องรู้จัก
ภาษาไทยให้ดีเพื่อใช้ถ้อยคำา
ได้อย่างถูกต้องตามลักษณะ
ภาษาไทย
ลักษณะสำาคัญของภาษาไทย มี
ดังต่อไปนี้
1.ภาษาไทยเป็นภาษา
คำาโดด กล่าวคือ เป็นภาษาที่
มีคำาใช้โดยอิสระไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงรูปคำาเพื่อบอก
เพศ พจน์ กาล เมื่อต้องการ
แสดงเพศ พจน์ กาล จะใช้คำา
อื่นมาประกอบหรืออาศัย
บริบท ดังนี้
1.1.การบอกเพศ คำาบาง
คำาอาจบ่งชี้เพศอยู่แล้ว เช่น พ่อ
หนุ่ม นาย พระ เณร ปู่ ลุง เขย
เป็นเพศชาย ส่วนแม่ หญิง สาว
ชี ย่า ป้า สะใภ้ เป็นเพศหญิง
การบอกเพศนั้นจะนำาคำามา
ประกอบเพื่อบอกเพศ เช่น
ลูกเขย ลูกสะใภ้ แพทย์หญิง
ช้างพลาย นางพยาบาล บุรุษ
พยาบาล เป็นต้น
1.2.การบอกพจน์ คำาไทย
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคำาเพื่อ
บอกจำานวน แต่จะใช้คำามา
ประกอบเพื่อบอกคำาที่เป็น
จำานวนหรือใช้คำาซำ้าเพื่อบอก
จำานวน เช่น
เธอเป็น โสด บ้าน หลายหลัง
ถูกไฟไหม้
ลูก มากจะยากจน เด็กๆ วิ่งเล่น
อยู่หน้าบ้าน
1.3.การบอกกาล ได้แก่
การบอกเวลาในอดีต ปัจจุบัน
และอนาคต จะใช้คำามา
ประกอบคำากริยาโดยไม่มีการ
เปลี่ยนคำากริยา เช่น
พ่อได้ไปหาคุณย่ามา แล้ว
(บอกอดีตกาล)
เมื่อปีกลายนี้ฉันไปฝรั่งเศส
(บอกอดีตกาล)
เขา กำาลังมาพอดี (บอกปัจจุบัน
กาล)
เดี๋ยวนี้เขายังอยู่ที่หัวหิน (บอก
ปัจจุบันกาล)
พรุ่งนี้ฉันจะไปหาเลย (บอก
อนาคตกาล)
ตอนเย็นเธอมาหาฉันนะ (บอก
อนาคตกาล)
2.คำาไทยแท้ส่วนมากมี
พยางค์เดียวและมีความ
หมายสมบูรณ์ในตัวฟัง
แล้วเข้าใจได้ทันที เช่น
คำาเรียกเครือญาติ พ่อ แม่ ลูก
พี่ น้อง ลุง อา น้า ปู่ ตา ย่า
ยาย
คำาเรียกสิ่งของ โต๊ะ อ่าง ขวด
ถ้วย จาน ชาม ไร่ นา บ้าน มีด
คำาเรียกชื่อสัตว์ หมา แมว หมู
หมา กา ไก่ งู วัว ควาย เสือ ลิง
คำาเรียกธรรมชาติ ดิน นำ้า ลม
ไฟ ร้อน หนาว เย็น
คำาสรรพนาม ท่าน ผม เธอ เรา
สู เจ้า อ้าย อี
คำากริยา ไป นั่ง นอน กิน เรียก
คำาลักษณะนาม ฝูง พวก กำา ลำา
ต้น ตัว อัน ใบ
คำาขยายหรือคำาวิเศษณ์ อ้วน
ผอม ดี เลว สวย เก่า ใหม่ แพง
ถูก
คำาบอกจำานวน อ้าย ยี่ สอง
หนึ่ง พัน ร้อย แสน ล้าน มาก
น้อย
ข้อสังเกต
*คำาที่มีมากพยางค์มักไม่ใช่คำา
ไทยแท้ มักมาจากภาษาอื่น
**ภาษาไทยอาจมีคำามาก
พยางค์ได้โดยวิธีการปรับปรุง
ศัพท์ โดยนำาวิธีการลงอุปสรรค
ประกอบหน้าคำาอย่างภาษาที่มี
วิภัตติปัจจัย ความหมายยังคง
เดิม แต่กลายเป็นคำามาก
พยางค์ เช่น ประเดี๋ยว ประท้วง
อีกวิธีหนึ่งคือ การกลายเสียง
ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงตาม
ธรรมชาติของภาษา เช่น
มะม่วง กลายเป็น หมากม่วง
3.คำาไทยแท้มีตัวสะกดตรง
ตามมาตราตัวสะกด มาตรา
ตัวสะกดมี 8 มาตรา คำาไทย
จะสะกดตรงตามมาตราตัว
สะกดและไม่มีการันต์ เช่น
มาตราแม่กก ใช้ ก สะกด เช่น
มาก จาก นก จิก รัก
มาตราแม่กด ใช้ ด สะกด เช่น
กัด ตัด ลด ปิด พูด
มาตราแม่กบ ใช้ บ สะกด เช่น
จับ จบ รับ พบ ลอบ
มาตราแม่กน ใช้ น สะกด เช่น
ขึ้น อ้วน รุ่น นอน กิน
มาตราแม่กง ใช้ ง สะกด เช่น
ลง ล่าง อ่าง จง พุ่ง แรง
มาตราแม่กม ใช้ ม สะกด เช่น
ลาม ริม เรียม ซ้อม ยอม
มาตราแม่เกย ใช้ ย สะกด เช่น
ยาย โรย เลย รวย เฉย
มาตราแม่เกอว ใช้ ว สะกด
เช่น ดาว เคียว ข้าว เรียว เร็ว
คำาที่มีมาตราตัวสะกดไม่ตรง
ตามมาตราตัวสะกด จะเป็นคำาที่
เป็นภาษาอื่นที่ยืมมาใช้ใน
ภาษาไทย และบางคำายังมีการ
ใช้ตัวการันต์เพื่อไม่ต้องออก
เสียงพยัญชนะตัวนั้นอีกด้วย
เช่น
ภาษาบาลี มัจฉา อังคาร อัมพร
ปัญญา
ภาษาสันสกฤต อาตมา สัปดาห์
พฤศจิกายน พรหม
ภาษาเขมร เสด็จ กังวล ขจร
เผอิญ
ภาษาอังกฤษ ฟุต ก๊าซ ปอนด์
วัคซีน
4.ภาษาไทยมีเสียง
วรรณยุกต์ วรรณยุกต์ต่าง
กันทำาให้ระดับเสียงต่างกัน
และคำาก็มีความหมายต่างกัน
ด้วย การที่ภาษาไทยมีเสียง
วรรณยุกต์ทำาให้ภาษาไทยมี
ลักษณะพิเศษ คือ
4.1.ภาษาไทยขยายตัว
ทำาให้มีคำาใช้มากขึ้น เช่น
ขาว ข่าว ข้าว เสือ เสื่อ เสื้อ
4.2.ภาษาไทยมีระดับเสียง
สูงตำ่า ทำาให้เกิดความ
ไพเราะ ดังเห็นได้ชัดในบท
ร้อยกรอง
4.3.ภาษาไทยมีพยัญชนะ
ที่มีพื้นเสียงต่างกัน เป็น
อักษรสูง อักษรกลาง อักษร
ตำ่า และมีเสียงวรรณยุกต์
ต่างกัน เป็นเสียงสามัญ
เอก โท ตรี และจัตวา เป็น
5 ระดับเสียง ทำาให้เลียน
เสียงธรรมชาติได้อย่างใกล้
เคียง
5.การสร้างคำา คำาไทยเป็น
คำาพยางค์เดียวจึงไม่พอใช้ใน
ภาษาไทย จึงต้องมีการยืม
ภาษาต่างประเทศมาใช้ แล้ว
ยังมีการสร้างคำาใหม่ๆ ด้วยวิธี
การต่างๆ เช่น การประสมคำา
การซ้อนคำา การซำ้าคำา การ
สมาส เป็นต้น
6.การเรียงลำาดับคำาใน
ประโยค ภาษาไทยถือว่าการ
เรียงคำาในประโยคมีความ
สำาคัญมาก ถ้าเรียงคำาผิดที่
ความหมายของประโยคจะ
เปลี่ยนแปลงไป เพราะ
ตำาแหน่งของคำาจะเป็นตัวระบุ
ว่าคำานั้นมีหน้าที่และมีความ
หมายอย่างไร เช่น
คนไม่รักดี ไม่รักคนดี
พี่สาวให้เงินน้องใช้ น้องสาว
ให้เงินพี่ใช้
7.คำาขยายในภาษาไทย
จะเรียงหลังคำาที่ถูกขยาย
เสมอ เว้นแต่คำาที่แสดง
จำานวนหรือปริมาณ จะวางไว้
ข้างหน้าหรือข้างหลังคำาขยาย
ก็ได้ เช่น
เขาเดิน เร็ว (คำาขยายอยู่หลัง
คำาถูกขยาย)
เขาสวมเสื้อ สีฟ้า (คำาขยายอยู่
หลังคำาถูกขยาย)
มากหมอก็ มากความ (คำาบอก
ปริมาณอยู่หน้าคำาที่ขยาย)
เขามาคน เดียว (คำาบอก
ปริมาณอยู่หลังคำาที่ขยาย)
8.คำาไทยมีคำาลักษณนาม
ซึ่งเป็นคำานามที่บอกลักษณะ
ของนามข้างหน้า ซึ่งคำาลัก
ษณนามมีหลายชนิด ได้แก่
ลักษณะนามบอกชนิด เช่น
ขลุ่ย 2 เลา
ลักษณนามบอกอาการ เช่น
บุหรี่ 3 มวน ลักษณะนามบอก
หมวดหมู่ เช่น
ทหาร 5 หมวด
9.ภาษาไทยมีวรรคตอน
ในการเขียนและมีจังหวะ
ในการพูด หากแบ่งวรรค
ตอนไม่ถูกต้องความหมายจะ
ไม่ชัดเจน หรือมีความหมาย
เปลี่ยนไป เช่น
พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสีย
ตำาลึงทอง หมายความว่า นิ่ง
เสียดีกว่าพูด
พูดไปสองไพเบี้ย นิ่ง เสีย
ตำาลึงทอง หมายความว่า ยิ่งนิ่ง
ยิ่งเสียมาก
10.ภาษาไทยเป็นคำาที่มี
การใช้คำาเหมาะสมกับ
บุคคลและโอกาส ลักษณะ
ภาษาไทยในลักษณะนี้เป็น
วัฒนธรรมทางภาษา และเป็น
ศิลปะของการใช้ภาษาโดย
เฉพาะ ซึ่งเป็นขนบธรรมเนียม
การใช้ภาษาที่เรียกว่า “ คำา
ราชาศัพท์”

More Related Content

What's hot

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
ความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.สความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.ส11nueng11
 
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศKSPNKK
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยpinyada
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยพัน พัน
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาWilawun Wisanuvekin
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาkingkarn somchit
 
ข้อสอบภาษาไทยปี51
ข้อสอบภาษาไทยปี51ข้อสอบภาษาไทยปี51
ข้อสอบภาษาไทยปี51Kanchana Daoart
 

What's hot (19)

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
ความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.สความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.ส
 
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
 
คำ
คำคำ
คำ
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)
 
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
 
ข้อสอบภาษาไทยปี51
ข้อสอบภาษาไทยปี51ข้อสอบภาษาไทยปี51
ข้อสอบภาษาไทยปี51
 
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทยภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
 
thai Research
thai  Researchthai  Research
thai Research
 

Viewers also liked

A linguagem-no-candomblé
A linguagem-no-candombléA linguagem-no-candomblé
A linguagem-no-candombléAngel Martin
 
Crisis america latina jd
Crisis america latina jdCrisis america latina jd
Crisis america latina jdleidyjd
 
El principito
El principitoEl principito
El principitochochin65
 

Viewers also liked (20)

การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทยการพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
 
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodleคู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
 
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
 
ยาสระผมกับดอกอัญชัน
ยาสระผมกับดอกอัญชันยาสระผมกับดอกอัญชัน
ยาสระผมกับดอกอัญชัน
 
เพชรพระอุมา เล่มที่ 01 ตอน ไพรมหากาฬ
เพชรพระอุมา เล่มที่ 01 ตอน ไพรมหากาฬเพชรพระอุมา เล่มที่ 01 ตอน ไพรมหากาฬ
เพชรพระอุมา เล่มที่ 01 ตอน ไพรมหากาฬ
 
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษาใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
 
วิเคราะห์ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.3
วิเคราะห์ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.3วิเคราะห์ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.3
วิเคราะห์ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.3
 
Is5 ลงมือเขียน
Is5 ลงมือเขียนIs5 ลงมือเขียน
Is5 ลงมือเขียน
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
เครื่องหมายวรรคตอน
เครื่องหมายวรรคตอนเครื่องหมายวรรคตอน
เครื่องหมายวรรคตอน
 
3 การวางโครงเรื่อง
3 การวางโครงเรื่อง3 การวางโครงเรื่อง
3 การวางโครงเรื่อง
 
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
 
ข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทย
ข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทยข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทย
ข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทย
 
A linguagem-no-candomblé
A linguagem-no-candombléA linguagem-no-candomblé
A linguagem-no-candomblé
 
Transports
TransportsTransports
Transports
 
Texto dedetizaçã1
Texto dedetizaçã1Texto dedetizaçã1
Texto dedetizaçã1
 
Crisis america latina jd
Crisis america latina jdCrisis america latina jd
Crisis america latina jd
 
Informatica
InformaticaInformatica
Informatica
 
Presentación
PresentaciónPresentación
Presentación
 
El principito
El principitoEl principito
El principito
 

Similar to ลักษณะภาษาไทย

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยguestd57bc7
 
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-212 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2DisneyP
 
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติSutat Inpa
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610CUPress
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยkruthai40
 

Similar to ลักษณะภาษาไทย (20)

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
นุกูล
นุกูลนุกูล
นุกูล
 
Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-212 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
 
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืมใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 
ระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอ
 

ลักษณะภาษาไทย