SlideShare a Scribd company logo
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา
    การปกครองและศาสนา
      ของทวีปแอฟริ กา
จัดทาโดย

1. เด็กหญิงเกวลิน       สายน้าเย็น เลขที่ 5
2. เด็กหญิงดวงกมล      หงษ์ค้า         เลขที่ 12
3. เด็กหญิงปาจรีย์      อินทรโชติ เลขที่ 19
4. เด็กหญิงวิรากานต์   ทนันชัย        เลขที่ 26
5. เด็กหญิงสุปราณี     หลี่ศิริโรจน์ เลขที่ 33
                         ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2 /1
ทวีปแอฟริ กา
เชื้อชาติ

ประชากรในทวีปแอฟริ กาแบ่งตามเชื้อชาติ ได้ 2 กลุ่ม คือ
            1. เชื้อชาตินิกรอยด์ หรือแอฟริกนนิโกร เป็ นชนกลุ่มใหญ่ของทวีป อาศัยอยู่
                                           ั
บริ เวณตอนใต้ของทะเลทรายสะฮารา ลงไปจนถึงตอนใต้สุดของทวีป มีลกษณะเด่นคือ
                                                                      ั
ผิวสี ดา ผมสี ดาหรื อน้ าตาล หยิกหยองขมวดติดหนังศีรษะ ริ มฝี ปากหนา จมูกแบนและ
กว้าง ขากรรไกรยืน กระโหลกศีรษะค่อนข้างยาว ประกอบด้วยกลุ่มย่อยๆ คือ
                      ่
                            ่
    1.1 กลุ่มบันตู อาศัยอยูในแอฟริ กาตะวันออก แอฟริ กากลาง และ แอฟริ กาใต้
                                  ่
    1.2 กลุ่มซู ดานนิโกร อาศัยอยูในแอฟริ กาตะวันตก
    1.3 กลุ่มปิ๊ กมี บุชแมน และฮอตเทนทอต อาศัยอยูกระจายเป็ นกลุ่มเล็กๆ
                                                    ่
2. เชื้อชาติคอเคซอยด์ มีผวขาว แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือ
                              ิ
2.1 กลุ่มอาหรับ และเบอร์ เบอร์ เป็ นเผ่าพันธุ์ด้ งเดิมของทวีปแอฟริ กา
                                                 ั
             ่ ั
    อาศัยอยูต้ งแต่บริ เวณทะเลทรายขึ้นไปจนถึงชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน
2.2 ชาวผิวขาวที่อพยพไปจากยุโรป กลุ่มนี้จะตั้งถิ่นฐานอยูในเขตอบอุ่น
                                                            ่
    บริ เวณประเทศสาธารณรัฐแอฟริ กาใต้
การกระจายตัวของประชาชน
                                           ่
  ประชากรของทวีปแอฟริ กาตั้งถิ่นฐานอยูหนาแน่นบริ เวณ ต่างๆ ดังนี้
 1.ที่ราบลุ่มแม่น้ าไนล์ อยูในเขตประเทศอียปต์ ซูดาน
                            ่                ิ
                                        ่
 2. ที่ราบชายฝั่งตะวันตกเฉี ยงเหนือ อยูในเขตประเทศโมร็ อกโก แอลจีเรี ย ตูนีเซี ย
 3. ที่ราบชายฝั่งตะวันตก คือกลุ่มประเทศที่ต้ งอยูทางตอนเหนือของอ่าวกินี
                                               ั ่
                                                    ่
 4. ที่ราบชายฝั่งทางด้านใต้ และตะวันออกเฉี ยงใต้ อยูใน
เขตประเทศสาธารณรัฐแอฟริ กาใต้ โมซัมบิก
 5. ที่ราบสู งชายฝั่งตะวันออก ได้แก่บริ เวณรอบๆทะเลสาบวิกตอเรี ย
บริ เวณที่มีประชากรเบาบาง ได้แก่บริ เวณที่แห้งแล้ง เป็ นทะเลทราย
ลักษณะทางสั งคม

ทวีปแอฟริ กา มีลกษณะทางสังคมดังนี้
                   ั
1. เป็ นสังคมชนบทและเกษตรกรรม ประชาชนยากจน สุ ขภาพอนามัยไม่สมบูรณ์
   เป็ นโรคขาดอาหาร เป็ นแหล่งเพาะเชื้อโรคเมืองร้อนนานาชนิ ด
2.ชีวตความเป็ นอยู่ ขึ้นอยูกบจารี ตประเพณี ด้ งเดิม ถือจานวนสัตว์เลี้ยง
       ิ                   ่ ั                ั
   เป็ นเครื่ องแสดงฐานะตน
3.ในประเทศสาธารณรัฐแอฟริ กาใต้ ชาวยุโรปยังมีอานาจในการปกครอง
   มีนโยบายแยกผิวอย่างรุ นแรง
4.เกิดการปฏิวติรัฐประหารอยูเ่ สมอ เนื่องจากความขัดแย้งระหว่างชนชั้นปกครอง
                 ั
   ซึ่ งได้รับการศึกษาจากประเทศตะวันตก กับชาวพื้นเมือง
ลักษณะทางวัฒนธรรม
  แหล่งอารยธรรมโบราณของทวีปแอฟริ กา คือบริ เวณลุ่มแม่น้ าไนล์
ประเทศอียปต์ สรุ ปลักษณะเด่น ได้ดงนี้
         ิ                       ั
 1. ผลงานด้านศิลปวัฒนธรรมของชาวอียปต์ เด่นกว่าชนชาติใดๆ ในสมัยเดียวกัน
                                          ิ
 2. ความเจริ ญของอียปต์บางอย่าง มีส่วนเสริ มสร้าง และเป็ นรากฐาน
                     ิ
  ความเจริ ญของอารยธรรมยุโรป
 3. วิวฒนาการการปกครองของชาวอียปต์ และความสามารถในการจัดระบบการปกครอง
       ั                              ิ
  ของกษัตริ ยที่เน้นการดึงอานาจมาสู่ ศนย์กลางมีผลทาให้อียปต์มีระบบการปกครองที่มนคง
              ์                         ู                 ิ                    ั่
4. ผลงานเด่นด้านสถาปั ตยกรรมของอียปต์ คือการสร้างพีรามิด ซึ่ งใช้เป็ นสถานที่เก็บพระ
                                       ิ
     ศพของฟาโรห์ และการทามัมมี่ รักษาศพมิให้เน่าเปื่ อย
5. ความสามารถด้านอื่นของชาวอียปต์ เช่น การชลประทาน เลขคณิ ต เรขาคณิ ต การแพทย์
                                    ิ
                           ั
     เป็ นต้น ชาวแอฟริ กน ยังคงรักษาวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนเอาไว้ได้มาก เช่นการนับถือ
     ภูตผี ปิ ศาจ เป็ นต้น วัฒนธรรมที่ได้รับอิทธิ พลจากชาวตะวันตกส่ วนใหญ่เป็ น
     ความเจริ ญด้านเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ การศึกษา และการปกครองระบอบ
                                  ั
     ประชาธิ ปไตย มีชาวแอฟริ กนละทิ้งชีวตแบบชาวเผ่า มาใช้ชีวิตในเมือง ทางานใน
                                            ิ
                                                    ั
     โรงงานอุตสาหกรรม ในเหมืองแร่ ชาวแอฟริ กนจึงมีชีวตทั้งแบบเก่าและใหม่ปนกัน
                                                           ิ
ศาสนา

     ประชากรส่ วนใหญ่ในทวีปแอฟริ กายังมีความเชื่อและปฏิบติตามความเชื่อนั้นสื บ
                                                              ั
ต่อกันตั้งแต่ครั้งบรรพบุรุษมาหลายชัวอายุคนเช่น เรื่ องจิตวิญญาณ อานาจของ
                                       ่
ดวงดาว ภูเขา ต้นไม้ สิ่ งมหัศจรรย์ เป็ นต้น ส่ วนศาสนาที่นบถือกันมาก ได้แก่ ศาสนา
                                                           ั
คริ สต์ มีผนบถือมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ศาสนาอิสลาม นอกจานี้ยงมีชาวอินเดียที่
           ู้ ั                                                     ั
                                                  ึ ็ ู้ ั
อพยพเข้ามาใหม่นบถือศาสนาฮินดูและศาสนายิว้ กมีผนบถืออยูบาง
                    ั                                           ่ ้
ภาษา
                                     ่ ้
   ภาษาในทวีปแอฟริ กามีภาษาพูดอยูไม่นอยกว่า 1,000 ภาษา ทั้งนี้เนื่องจากเป็ นทวีปที่มี
ประชากรอยูหลายเผ่าพันธุ์ แต่อาจแบ่งออกได้เป็ น 4 กลุ่ม
              ่
    1) กลุ่มภาษาเซมิติก ได้แก่ ภาษาอาหรับ เป็ นภาษาของคนส่ วนใหญ่ในแอฟริ กาเหนือ และ
บางส่ วนในแอฟริ กาตะวันออก ส่ วนกลุ่มภาษาเซมิติกของชาวยุโรปเป็ นภาษาของ
                                              ั
เจ้าอาณานิคมที่เข้ามาปกครอง เป็ นภาษที่ใช้กนแพร่ หลายเมื่อไม่นานมานี้ ได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส
ภาษาอังกฤษ และภาษาดัตช์
    2) กลุ่มภาษาซูดาน เป็ นภาษาของประชากรในประเทศต่างๆ ซึ่ งตั้งอยูในเขต
                                                                     ่
ทุ่งหญ้าสะวันนาทางตอนใต้ของทะเลทรายสะฮารา
    3) กลุ่มภาษาบันตู เป็ นภาษาของประชากรในประเทศต่างๆ ซึ่ งตั้งอยูทางภาคกลางและภาค
                                                                   ่
                                            ่
ตะวันออกของทวีป รวมทั้งบางประเทศที่อยูทางตอนใต้ดวย     ้
    4) กลุ่มภาษาเฮาซา เป็ นกลุ่มภาษาทางการค้าของประชากรทางภาคตะวันตกของทวีป
การศึกษา

        แอฟริ กาเป็ นทวีปที่ยากจนและต้องพัฒนาทางด้านวิทยากรสมัยใหม่ แม้ความก้าวหน้า
ในโลกปั จจุบน จะเป็ นเครื่ องกระตุนให้ประชากรและรัฐบาลของประเทศต่างๆ ต้องยกระดับ
              ั                   ้
และขยายการศึกษาให้ทวถึง แต่การขาดแคลนทรัพยากรมนุษย์และขัดสนทางด้านเศรษฐกิจ
                         ั่
ในเกือบทุกประเทศ ย่อมเป็ นอุปสรรคสาคัญในการพัฒนาการศึกษา นันคือประเทศที่ยากจน
                                                                     ่
อัตราส่ วนการรู ้หนังสื อของประชากรจะต่า เช่น เอธิ โอเปี ย มาลี ไนเจอร์ มีผอ่านออกเขียนได้
                                                                           ู้
เพียงร้อยละ 24,25,28 ตามลาดับ ขณะที่ประเทศสาธารณรัฐแอฟริ กาใต้และแทนซาเนีย
มีสภาพเศรษฐกิจดีกว่าประเทศทั้งสามนี้มีอตราส่ วนของผูรู้หนังสื อสู งร้อยละ 60 และ 85 เป็ น
                                         ั                ้
ต้น
การปกครอง
 กลุ่มประเทศทีพฒนาแล้ ว
                  ่ ั
       ประเทศสาธารณรัฐแอฟริ กาใต้ เป็ นประเทศเดียวที่เป็ น
ประเทศพัฒนาแล้ว รู ปแบบการปกครองเป็ นแบบรัฐเดี่ยว มี
ประธานาธิ บดีเป็ นประมุข โดยได้รับการเลือกตั้งจากรัฐสภา ดารง
ตาแหน่งคราวละ 7 ปี แบ่งการปกครองออกเป็ น 4 มณฑล มี
นายกรัฐมนตรี เป็ นหัวหน้าฝ่ ายบริ หาร และประกอบด้วยสภาเดี่ยว
เป็ นรัฐสภา โดยมีสมาชิกจาก 3 กลุ่มคือ
      1.เลือกตั้งโดยชนผิวขาว
      2. เลือกตั้งโดยรัฐสภา
      3. แต่งตั้งโดยประธานาธิ บดี
กลุ่มประเทศกาลังพัฒนา

           มีระบบการปกครองหลายแบบ ปัญหาปั จจุบนที่ทาให้การปกครองประเทศใน
                                                   ั
กลุ่มนี้ยงไม่พฒนานักคือการนาหลักเคร่ งครัดของคัมภีร์ในศาสนาอิสลามมาใช้ในการ
         ั     ั
ปกครองบ้านเมือง ในกลุ่มประเทศกาลังพัฒนาของทวีปแอฟริ กามีระบบการปกครอง
หลายแบบ เป็ นต้นว่าระบอบสาธารณรัฐ เช่น กาบอง เคนยา ระบบทหาร เช่น กานา
ไนจีเรี ย บางประเทศเช่น เอธิ โอเปี ย ใช้ระบอบคอมมิวนิสต์ในการปกครอง ส่ วนที่
แตกต่างอย่างเห็นได้ชด คือลิเบีย เพราะเป็ นการปกครองแบบสังคมนิยม อาหรับอิสลาม
                     ั
                 ่
บางประเทศยังอยูในระหว่างการเปลี่ยนแปลง เช่น ประเทศแอลจีเรี ย ซึ่ งในระยะแรกมี
การปกครอบแบบสังคมนิยม แต่มีพรรคการเมือง เพียงพรรคเดียว แต่ปัจจุบนนี้มี
                                                                    ั
รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ยกเลิกนโยบายสังคมนิยมและเปิ ดโอกาสให้มีพรรคการเมืองหลาย
พรรคขึ้น
ปั ญหาที่ทาให้การปกครองในกลุ่มนี้ยงไม่พฒนานักคือการนาหลักเคร่ งครัดของ
                                       ั    ั
                                                 ั
คัมภีร์ในศาสนาอิสลามที่เรี ยกว่า “ชาริยะ” มาใช้กบการปกครองบ้านเมือง ทาให้
เกิดการต่อต้านจากคนที่นบถือศาสนาอื่น
                         ั
     หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้ ดสุ ดลง ประเทศในทวีปแอฟริ กาต่างก็ได้รับเอกราช
ปกครองตนเองเพิ่มขึ้นอยูเ่ รื่ อยๆ จนในปั จจุบนมีประเทศที่เป็ นเอกราชในทวีป
                                              ั
                                                ็ั
แอฟริ กามากกว่า 40 ประเทศ แต่ประเทศเหล่านี้กยงประสบปั ญหาการขาดความ
มันคงทางด้านการเมืองการปกครอง ซึ่ งมีสาเหตมาจาก
   ่
     1. ขาดความชานาญทางด้านการปกครอง ทั้งนี้ เพราะประเทศเอกราชเหล่านั้น
เคยถูกชาวยุโรปปกครองมาโดยตลอด ไม่ได้มีส่วนร่ วมในการปกครองแต่อย่างใด
เมื่อได้รับเอกราชและต้องมาปกครองตนเอง จึงขาดบุคลากรที่มีความชานาญด้านนี้
ทาให้การบริ หารงานของรัฐบาลมักจะประสบปั ญหา
2.ความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ สังคมและวัฒนธรรม เพราะประเทศแอฟริ กา
ประกอบด้วยชนเผ่าต่างๆ ที่มีลกษณะทางสังคมและวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ทาให้ยากแก่
                               ั
การรวมตัวเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกัน การพัฒนาประเทศจึงเป็ นไปได้ยาก

  3.การแทรกแซงของประเทศมหาอานาจตะวันตกในอดีต ทั้งโลกฝ่ ายเสรี และฝ่ าย
คอมมิวนิสต์ นอกจากเพื่อต้องการใช้ดินแดนแอฟริ กาเป็ นแหล่งวัตถุดิบ และเป็ นตลาด
ระบายสิ นค้าของตนแล้ว ยังต้องการใช้เป็ นเครื่ องถ่วงดุลอานาจทางการเมือง การทหาร
ของทั้ง 2 ฝ่ ายอีกด้วย

  4.ปั ญหาเศรษฐกิจจากความยากจน การขาดแคลนอาหาร รัฐบาลไม่สามารถจะ
แก้ปัญหาเหล่านี้ ได้ก่อให้เกิดความไม่พอใจแก่ประชาชนโดยทัวไป
                                                        ่
แหล่งท่องเที่ยว
บรรณานุกรม

 ออนไลน์เข้าถึงได้จาก .                      ,2553
ออนไลน์เข้าถึงได้จาก .www.bp-smakom.org,2553
ออนไลน์เข้าถึงได้จาก .www.sahavicha.com,2553

More Related Content

Viewers also liked

Klingner Fixation Aligned Pupillary Response Averaging
Klingner Fixation Aligned Pupillary Response AveragingKlingner Fixation Aligned Pupillary Response Averaging
Klingner Fixation Aligned Pupillary Response Averaging
Kalle
 
Paul's resume July
Paul's resume JulyPaul's resume July
Paul's resume July
apluslen
 
How Pinterest Can Work for Your Destination
How Pinterest Can Work for Your DestinationHow Pinterest Can Work for Your Destination
How Pinterest Can Work for Your Destination
Stephanie Lynch
 
Sandstone Pavings
Sandstone PavingsSandstone Pavings
Sandstone Pavings
ansiindia
 
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)oscargaliza
 
TEMA 3B Vocabulario
TEMA 3B VocabularioTEMA 3B Vocabulario
TEMA 3B Vocabulario
SenoraAmandaWhite
 
Database Systems - Application Development
Database Systems - Application DevelopmentDatabase Systems - Application Development
Database Systems - Application Development
guest919f59
 
Cis It 2010 Nrg Agrivis Togni Daniele 100205 R3
Cis It 2010   Nrg Agrivis   Togni Daniele   100205 R3Cis It 2010   Nrg Agrivis   Togni Daniele   100205 R3
Cis It 2010 Nrg Agrivis Togni Daniele 100205 R3
danieletogni
 
Windows profile how do i
Windows profile how do iWindows profile how do i
Windows profile how do i
proser tech
 
Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2
Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2
Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2Marko Suomi
 
Goldberg Visual Scanpath Representation
Goldberg Visual Scanpath RepresentationGoldberg Visual Scanpath Representation
Goldberg Visual Scanpath Representation
Kalle
 
Historia De La Web
Historia De La WebHistoria De La Web
Historia De La Web
tecnologyiute
 
Karen Barlow
Karen BarlowKaren Barlow
Karen Barlowbarloj1
 
Definitief Ontwerp In De Mode Plan
Definitief Ontwerp In De Mode PlanDefinitief Ontwerp In De Mode Plan
Definitief Ontwerp In De Mode Planguest2f17d3
 
Daugherty Measuring Vergence Over Stereoscopic Video With A Remote Eye Tracker
Daugherty Measuring Vergence Over Stereoscopic Video With A Remote Eye TrackerDaugherty Measuring Vergence Over Stereoscopic Video With A Remote Eye Tracker
Daugherty Measuring Vergence Over Stereoscopic Video With A Remote Eye Tracker
Kalle
 
Override Meeting S01E02
Override Meeting S01E02Override Meeting S01E02
Override Meeting S01E02
Marcelo Paiva
 
עוולות מסחריות דיני נזיקין
עוולות מסחריות דיני נזיקיןעוולות מסחריות דיני נזיקין
עוולות מסחריות דיני נזיקיןhaimkarel
 
Sneak Peak Presentation
Sneak Peak PresentationSneak Peak Presentation
Sneak Peak Presentation
Christopher Stonaker
 

Viewers also liked (20)

Klingner Fixation Aligned Pupillary Response Averaging
Klingner Fixation Aligned Pupillary Response AveragingKlingner Fixation Aligned Pupillary Response Averaging
Klingner Fixation Aligned Pupillary Response Averaging
 
Paul's resume July
Paul's resume JulyPaul's resume July
Paul's resume July
 
How Pinterest Can Work for Your Destination
How Pinterest Can Work for Your DestinationHow Pinterest Can Work for Your Destination
How Pinterest Can Work for Your Destination
 
Sandstone Pavings
Sandstone PavingsSandstone Pavings
Sandstone Pavings
 
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
 
การพัฒนาคุณภาพประชากรโลก
การพัฒนาคุณภาพประชากรโลกการพัฒนาคุณภาพประชากรโลก
การพัฒนาคุณภาพประชากรโลก
 
TEMA 3B Vocabulario
TEMA 3B VocabularioTEMA 3B Vocabulario
TEMA 3B Vocabulario
 
Database Systems - Application Development
Database Systems - Application DevelopmentDatabase Systems - Application Development
Database Systems - Application Development
 
Cis It 2010 Nrg Agrivis Togni Daniele 100205 R3
Cis It 2010   Nrg Agrivis   Togni Daniele   100205 R3Cis It 2010   Nrg Agrivis   Togni Daniele   100205 R3
Cis It 2010 Nrg Agrivis Togni Daniele 100205 R3
 
Windows profile how do i
Windows profile how do iWindows profile how do i
Windows profile how do i
 
Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2
Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2
Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2
 
Goldberg Visual Scanpath Representation
Goldberg Visual Scanpath RepresentationGoldberg Visual Scanpath Representation
Goldberg Visual Scanpath Representation
 
Historia De La Web
Historia De La WebHistoria De La Web
Historia De La Web
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
Karen Barlow
Karen BarlowKaren Barlow
Karen Barlow
 
Definitief Ontwerp In De Mode Plan
Definitief Ontwerp In De Mode PlanDefinitief Ontwerp In De Mode Plan
Definitief Ontwerp In De Mode Plan
 
Daugherty Measuring Vergence Over Stereoscopic Video With A Remote Eye Tracker
Daugherty Measuring Vergence Over Stereoscopic Video With A Remote Eye TrackerDaugherty Measuring Vergence Over Stereoscopic Video With A Remote Eye Tracker
Daugherty Measuring Vergence Over Stereoscopic Video With A Remote Eye Tracker
 
Override Meeting S01E02
Override Meeting S01E02Override Meeting S01E02
Override Meeting S01E02
 
עוולות מסחריות דיני נזיקין
עוולות מסחריות דיני נזיקיןעוולות מסחריות דיני נזיקין
עוולות מסחריות דיני נזיקין
 
Sneak Peak Presentation
Sneak Peak PresentationSneak Peak Presentation
Sneak Peak Presentation
 

Similar to ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.

History of south east asia
History of south east asiaHistory of south east asia
History of south east asia
Natthawat Kaeowmanee
 
History of south east asia
History of south east asiaHistory of south east asia
History of south east asia
Natthawat Kaeowmanee
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนาเชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ลักษณะทางด้านสังคมและวัฒนธรรมโลก
ลักษณะทางด้านสังคมและวัฒนธรรมโลกลักษณะทางด้านสังคมและวัฒนธรรมโลก
ลักษณะทางด้านสังคมและวัฒนธรรมโลก
Kru Ongart Sripet
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติHathaithip Kidsaochum
 
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติHathaithip Kidsaochum
 
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติHathaithip Kidsaochum
 
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติHathaithip Kidsaochum
 
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติHathaithip Kidsaochum
 
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติMai New
 
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติHathaithip Kidsaochum
 
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติHathaithip Kidsaochum
 

Similar to ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc. (20)

การแบ่งภูมิภาคของยุโรป2.4
การแบ่งภูมิภาคของยุโรป2.4การแบ่งภูมิภาคของยุโรป2.4
การแบ่งภูมิภาคของยุโรป2.4
 
ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา
ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกาลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา
ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา
 
History of south east asia
History of south east asiaHistory of south east asia
History of south east asia
 
History of south east asia
History of south east asiaHistory of south east asia
History of south east asia
 
History of south east asia
History of south east asiaHistory of south east asia
History of south east asia
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนาเชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
 
ลักษณะทางด้านสังคมและวัฒนธรรมโลก
ลักษณะทางด้านสังคมและวัฒนธรรมโลกลักษณะทางด้านสังคมและวัฒนธรรมโลก
ลักษณะทางด้านสังคมและวัฒนธรรมโลก
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
ทวีปอาฟริกา
ทวีปอาฟริกาทวีปอาฟริกา
ทวีปอาฟริกา
 
ลักษณะสภาพสังคมและวัฒนธรรม 2.4
ลักษณะสภาพสังคมและวัฒนธรรม 2.4ลักษณะสภาพสังคมและวัฒนธรรม 2.4
ลักษณะสภาพสังคมและวัฒนธรรม 2.4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
 
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
 
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
 
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
 
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
 
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
 
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
 
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
 
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติความหลากหลายทางเชื้อชาติ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ
 
เมียร์มาร์
เมียร์มาร์เมียร์มาร์
เมียร์มาร์
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 

ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.

  • 1. ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและศาสนา ของทวีปแอฟริ กา
  • 2. จัดทาโดย 1. เด็กหญิงเกวลิน สายน้าเย็น เลขที่ 5 2. เด็กหญิงดวงกมล หงษ์ค้า เลขที่ 12 3. เด็กหญิงปาจรีย์ อินทรโชติ เลขที่ 19 4. เด็กหญิงวิรากานต์ ทนันชัย เลขที่ 26 5. เด็กหญิงสุปราณี หลี่ศิริโรจน์ เลขที่ 33 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2 /1
  • 4. เชื้อชาติ ประชากรในทวีปแอฟริ กาแบ่งตามเชื้อชาติ ได้ 2 กลุ่ม คือ 1. เชื้อชาตินิกรอยด์ หรือแอฟริกนนิโกร เป็ นชนกลุ่มใหญ่ของทวีป อาศัยอยู่ ั บริ เวณตอนใต้ของทะเลทรายสะฮารา ลงไปจนถึงตอนใต้สุดของทวีป มีลกษณะเด่นคือ ั ผิวสี ดา ผมสี ดาหรื อน้ าตาล หยิกหยองขมวดติดหนังศีรษะ ริ มฝี ปากหนา จมูกแบนและ กว้าง ขากรรไกรยืน กระโหลกศีรษะค่อนข้างยาว ประกอบด้วยกลุ่มย่อยๆ คือ ่ ่ 1.1 กลุ่มบันตู อาศัยอยูในแอฟริ กาตะวันออก แอฟริ กากลาง และ แอฟริ กาใต้ ่ 1.2 กลุ่มซู ดานนิโกร อาศัยอยูในแอฟริ กาตะวันตก 1.3 กลุ่มปิ๊ กมี บุชแมน และฮอตเทนทอต อาศัยอยูกระจายเป็ นกลุ่มเล็กๆ ่
  • 5. 2. เชื้อชาติคอเคซอยด์ มีผวขาว แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือ ิ 2.1 กลุ่มอาหรับ และเบอร์ เบอร์ เป็ นเผ่าพันธุ์ด้ งเดิมของทวีปแอฟริ กา ั ่ ั อาศัยอยูต้ งแต่บริ เวณทะเลทรายขึ้นไปจนถึงชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน 2.2 ชาวผิวขาวที่อพยพไปจากยุโรป กลุ่มนี้จะตั้งถิ่นฐานอยูในเขตอบอุ่น ่ บริ เวณประเทศสาธารณรัฐแอฟริ กาใต้
  • 6. การกระจายตัวของประชาชน ่ ประชากรของทวีปแอฟริ กาตั้งถิ่นฐานอยูหนาแน่นบริ เวณ ต่างๆ ดังนี้ 1.ที่ราบลุ่มแม่น้ าไนล์ อยูในเขตประเทศอียปต์ ซูดาน ่ ิ ่ 2. ที่ราบชายฝั่งตะวันตกเฉี ยงเหนือ อยูในเขตประเทศโมร็ อกโก แอลจีเรี ย ตูนีเซี ย 3. ที่ราบชายฝั่งตะวันตก คือกลุ่มประเทศที่ต้ งอยูทางตอนเหนือของอ่าวกินี ั ่ ่ 4. ที่ราบชายฝั่งทางด้านใต้ และตะวันออกเฉี ยงใต้ อยูใน เขตประเทศสาธารณรัฐแอฟริ กาใต้ โมซัมบิก 5. ที่ราบสู งชายฝั่งตะวันออก ได้แก่บริ เวณรอบๆทะเลสาบวิกตอเรี ย บริ เวณที่มีประชากรเบาบาง ได้แก่บริ เวณที่แห้งแล้ง เป็ นทะเลทราย
  • 7. ลักษณะทางสั งคม ทวีปแอฟริ กา มีลกษณะทางสังคมดังนี้ ั 1. เป็ นสังคมชนบทและเกษตรกรรม ประชาชนยากจน สุ ขภาพอนามัยไม่สมบูรณ์ เป็ นโรคขาดอาหาร เป็ นแหล่งเพาะเชื้อโรคเมืองร้อนนานาชนิ ด 2.ชีวตความเป็ นอยู่ ขึ้นอยูกบจารี ตประเพณี ด้ งเดิม ถือจานวนสัตว์เลี้ยง ิ ่ ั ั เป็ นเครื่ องแสดงฐานะตน 3.ในประเทศสาธารณรัฐแอฟริ กาใต้ ชาวยุโรปยังมีอานาจในการปกครอง มีนโยบายแยกผิวอย่างรุ นแรง 4.เกิดการปฏิวติรัฐประหารอยูเ่ สมอ เนื่องจากความขัดแย้งระหว่างชนชั้นปกครอง ั ซึ่ งได้รับการศึกษาจากประเทศตะวันตก กับชาวพื้นเมือง
  • 8. ลักษณะทางวัฒนธรรม แหล่งอารยธรรมโบราณของทวีปแอฟริ กา คือบริ เวณลุ่มแม่น้ าไนล์ ประเทศอียปต์ สรุ ปลักษณะเด่น ได้ดงนี้ ิ ั 1. ผลงานด้านศิลปวัฒนธรรมของชาวอียปต์ เด่นกว่าชนชาติใดๆ ในสมัยเดียวกัน ิ 2. ความเจริ ญของอียปต์บางอย่าง มีส่วนเสริ มสร้าง และเป็ นรากฐาน ิ ความเจริ ญของอารยธรรมยุโรป 3. วิวฒนาการการปกครองของชาวอียปต์ และความสามารถในการจัดระบบการปกครอง ั ิ ของกษัตริ ยที่เน้นการดึงอานาจมาสู่ ศนย์กลางมีผลทาให้อียปต์มีระบบการปกครองที่มนคง ์ ู ิ ั่
  • 9. 4. ผลงานเด่นด้านสถาปั ตยกรรมของอียปต์ คือการสร้างพีรามิด ซึ่ งใช้เป็ นสถานที่เก็บพระ ิ ศพของฟาโรห์ และการทามัมมี่ รักษาศพมิให้เน่าเปื่ อย 5. ความสามารถด้านอื่นของชาวอียปต์ เช่น การชลประทาน เลขคณิ ต เรขาคณิ ต การแพทย์ ิ ั เป็ นต้น ชาวแอฟริ กน ยังคงรักษาวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนเอาไว้ได้มาก เช่นการนับถือ ภูตผี ปิ ศาจ เป็ นต้น วัฒนธรรมที่ได้รับอิทธิ พลจากชาวตะวันตกส่ วนใหญ่เป็ น ความเจริ ญด้านเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ การศึกษา และการปกครองระบอบ ั ประชาธิ ปไตย มีชาวแอฟริ กนละทิ้งชีวตแบบชาวเผ่า มาใช้ชีวิตในเมือง ทางานใน ิ ั โรงงานอุตสาหกรรม ในเหมืองแร่ ชาวแอฟริ กนจึงมีชีวตทั้งแบบเก่าและใหม่ปนกัน ิ
  • 10. ศาสนา ประชากรส่ วนใหญ่ในทวีปแอฟริ กายังมีความเชื่อและปฏิบติตามความเชื่อนั้นสื บ ั ต่อกันตั้งแต่ครั้งบรรพบุรุษมาหลายชัวอายุคนเช่น เรื่ องจิตวิญญาณ อานาจของ ่ ดวงดาว ภูเขา ต้นไม้ สิ่ งมหัศจรรย์ เป็ นต้น ส่ วนศาสนาที่นบถือกันมาก ได้แก่ ศาสนา ั คริ สต์ มีผนบถือมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ศาสนาอิสลาม นอกจานี้ยงมีชาวอินเดียที่ ู้ ั ั ึ ็ ู้ ั อพยพเข้ามาใหม่นบถือศาสนาฮินดูและศาสนายิว้ กมีผนบถืออยูบาง ั ่ ้
  • 11. ภาษา ่ ้ ภาษาในทวีปแอฟริ กามีภาษาพูดอยูไม่นอยกว่า 1,000 ภาษา ทั้งนี้เนื่องจากเป็ นทวีปที่มี ประชากรอยูหลายเผ่าพันธุ์ แต่อาจแบ่งออกได้เป็ น 4 กลุ่ม ่ 1) กลุ่มภาษาเซมิติก ได้แก่ ภาษาอาหรับ เป็ นภาษาของคนส่ วนใหญ่ในแอฟริ กาเหนือ และ บางส่ วนในแอฟริ กาตะวันออก ส่ วนกลุ่มภาษาเซมิติกของชาวยุโรปเป็ นภาษาของ ั เจ้าอาณานิคมที่เข้ามาปกครอง เป็ นภาษที่ใช้กนแพร่ หลายเมื่อไม่นานมานี้ ได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอังกฤษ และภาษาดัตช์ 2) กลุ่มภาษาซูดาน เป็ นภาษาของประชากรในประเทศต่างๆ ซึ่ งตั้งอยูในเขต ่ ทุ่งหญ้าสะวันนาทางตอนใต้ของทะเลทรายสะฮารา 3) กลุ่มภาษาบันตู เป็ นภาษาของประชากรในประเทศต่างๆ ซึ่ งตั้งอยูทางภาคกลางและภาค ่ ่ ตะวันออกของทวีป รวมทั้งบางประเทศที่อยูทางตอนใต้ดวย ้ 4) กลุ่มภาษาเฮาซา เป็ นกลุ่มภาษาทางการค้าของประชากรทางภาคตะวันตกของทวีป
  • 12. การศึกษา แอฟริ กาเป็ นทวีปที่ยากจนและต้องพัฒนาทางด้านวิทยากรสมัยใหม่ แม้ความก้าวหน้า ในโลกปั จจุบน จะเป็ นเครื่ องกระตุนให้ประชากรและรัฐบาลของประเทศต่างๆ ต้องยกระดับ ั ้ และขยายการศึกษาให้ทวถึง แต่การขาดแคลนทรัพยากรมนุษย์และขัดสนทางด้านเศรษฐกิจ ั่ ในเกือบทุกประเทศ ย่อมเป็ นอุปสรรคสาคัญในการพัฒนาการศึกษา นันคือประเทศที่ยากจน ่ อัตราส่ วนการรู ้หนังสื อของประชากรจะต่า เช่น เอธิ โอเปี ย มาลี ไนเจอร์ มีผอ่านออกเขียนได้ ู้ เพียงร้อยละ 24,25,28 ตามลาดับ ขณะที่ประเทศสาธารณรัฐแอฟริ กาใต้และแทนซาเนีย มีสภาพเศรษฐกิจดีกว่าประเทศทั้งสามนี้มีอตราส่ วนของผูรู้หนังสื อสู งร้อยละ 60 และ 85 เป็ น ั ้ ต้น
  • 13. การปกครอง กลุ่มประเทศทีพฒนาแล้ ว ่ ั ประเทศสาธารณรัฐแอฟริ กาใต้ เป็ นประเทศเดียวที่เป็ น ประเทศพัฒนาแล้ว รู ปแบบการปกครองเป็ นแบบรัฐเดี่ยว มี ประธานาธิ บดีเป็ นประมุข โดยได้รับการเลือกตั้งจากรัฐสภา ดารง ตาแหน่งคราวละ 7 ปี แบ่งการปกครองออกเป็ น 4 มณฑล มี นายกรัฐมนตรี เป็ นหัวหน้าฝ่ ายบริ หาร และประกอบด้วยสภาเดี่ยว เป็ นรัฐสภา โดยมีสมาชิกจาก 3 กลุ่มคือ 1.เลือกตั้งโดยชนผิวขาว 2. เลือกตั้งโดยรัฐสภา 3. แต่งตั้งโดยประธานาธิ บดี
  • 14. กลุ่มประเทศกาลังพัฒนา มีระบบการปกครองหลายแบบ ปัญหาปั จจุบนที่ทาให้การปกครองประเทศใน ั กลุ่มนี้ยงไม่พฒนานักคือการนาหลักเคร่ งครัดของคัมภีร์ในศาสนาอิสลามมาใช้ในการ ั ั ปกครองบ้านเมือง ในกลุ่มประเทศกาลังพัฒนาของทวีปแอฟริ กามีระบบการปกครอง หลายแบบ เป็ นต้นว่าระบอบสาธารณรัฐ เช่น กาบอง เคนยา ระบบทหาร เช่น กานา ไนจีเรี ย บางประเทศเช่น เอธิ โอเปี ย ใช้ระบอบคอมมิวนิสต์ในการปกครอง ส่ วนที่ แตกต่างอย่างเห็นได้ชด คือลิเบีย เพราะเป็ นการปกครองแบบสังคมนิยม อาหรับอิสลาม ั ่ บางประเทศยังอยูในระหว่างการเปลี่ยนแปลง เช่น ประเทศแอลจีเรี ย ซึ่ งในระยะแรกมี การปกครอบแบบสังคมนิยม แต่มีพรรคการเมือง เพียงพรรคเดียว แต่ปัจจุบนนี้มี ั รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ยกเลิกนโยบายสังคมนิยมและเปิ ดโอกาสให้มีพรรคการเมืองหลาย พรรคขึ้น
  • 15. ปั ญหาที่ทาให้การปกครองในกลุ่มนี้ยงไม่พฒนานักคือการนาหลักเคร่ งครัดของ ั ั ั คัมภีร์ในศาสนาอิสลามที่เรี ยกว่า “ชาริยะ” มาใช้กบการปกครองบ้านเมือง ทาให้ เกิดการต่อต้านจากคนที่นบถือศาสนาอื่น ั หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้ ดสุ ดลง ประเทศในทวีปแอฟริ กาต่างก็ได้รับเอกราช ปกครองตนเองเพิ่มขึ้นอยูเ่ รื่ อยๆ จนในปั จจุบนมีประเทศที่เป็ นเอกราชในทวีป ั ็ั แอฟริ กามากกว่า 40 ประเทศ แต่ประเทศเหล่านี้กยงประสบปั ญหาการขาดความ มันคงทางด้านการเมืองการปกครอง ซึ่ งมีสาเหตมาจาก ่ 1. ขาดความชานาญทางด้านการปกครอง ทั้งนี้ เพราะประเทศเอกราชเหล่านั้น เคยถูกชาวยุโรปปกครองมาโดยตลอด ไม่ได้มีส่วนร่ วมในการปกครองแต่อย่างใด เมื่อได้รับเอกราชและต้องมาปกครองตนเอง จึงขาดบุคลากรที่มีความชานาญด้านนี้ ทาให้การบริ หารงานของรัฐบาลมักจะประสบปั ญหา
  • 16. 2.ความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ สังคมและวัฒนธรรม เพราะประเทศแอฟริ กา ประกอบด้วยชนเผ่าต่างๆ ที่มีลกษณะทางสังคมและวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ทาให้ยากแก่ ั การรวมตัวเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกัน การพัฒนาประเทศจึงเป็ นไปได้ยาก 3.การแทรกแซงของประเทศมหาอานาจตะวันตกในอดีต ทั้งโลกฝ่ ายเสรี และฝ่ าย คอมมิวนิสต์ นอกจากเพื่อต้องการใช้ดินแดนแอฟริ กาเป็ นแหล่งวัตถุดิบ และเป็ นตลาด ระบายสิ นค้าของตนแล้ว ยังต้องการใช้เป็ นเครื่ องถ่วงดุลอานาจทางการเมือง การทหาร ของทั้ง 2 ฝ่ ายอีกด้วย 4.ปั ญหาเศรษฐกิจจากความยากจน การขาดแคลนอาหาร รัฐบาลไม่สามารถจะ แก้ปัญหาเหล่านี้ ได้ก่อให้เกิดความไม่พอใจแก่ประชาชนโดยทัวไป ่
  • 18.
  • 19. บรรณานุกรม ออนไลน์เข้าถึงได้จาก . ,2553 ออนไลน์เข้าถึงได้จาก .www.bp-smakom.org,2553 ออนไลน์เข้าถึงได้จาก .www.sahavicha.com,2553