SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
สมาชิกกลุ่ม

1.น.ส. นันท์นภัส   บุญแรง        เลขที่ 19
2.น.ส. พิมพ์ชนก    ต๊ ะแปงปั น   เลขที่ 21
3.น.ส. ภัทรธิดา    พรมคา         เลขที่ 22
4.น.ส. กัญจน์ชภร    เลาหะวีร์    เลขที่ 24

           ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 6/2
             ้
สาเหตุความขัดแย้ ง

             ระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่ไม่เท่าเทียมกันในแต่ละเขตแคว้ น,
 ความแตกต่างหวาดระแวงกันทางเชื ้อชาติ ซึงรวมถึงความต้ องการเชิดชูเชื ้อชาติ
                                               ่
 ตนและเหยียดเชื ้อชาติอื่น, ความล้ มเหลวของอุดมการณ์คอมมิวนิสต์ในระดับ
 สากล, การถึงแก่อสัญกรรมของ โจซิฟ บรอซ ติโต ผู้นาเพียงคนเดียวที่ดอาจ     ู
 เหนี่ยวรังไม่ให้ การแตกร้ าวเร่งขยายตัว, ความผิดพลาดของ สโลโบดัน มิโลเซวิช
          ้
 ผู้นาเซอร์ เบีย ที่เป็ นบุรุษเหล็กคนใหม่ของยูโกสลาเวีย ซึงเลือกใช้ นโยบายคับ
                                                          ่
 แคบในการสนับสนุนเชิดชูชาวเซิร์บ ฯลฯ
3

                                             7

    2

                                                 1
        4




                       5

                              8
                                                 6

            แผนที่ประเทศยูโกสลาเวียปี 1991
ปั ญหาบอสเนีย-เฮอร์ เซโกวินา

           ยูโกสลาเวียประกอบด้ วยรัฐ 6 รัฐ คือ เซอร์ เบีย โครเอเชีย สลาโวเนีย
  บอสเนีย-เฮอร์ เซโกวีนา มอนเตเนโก มาซิโดเนีย และ 2 มณฑลอิสระ คือ
  วอยวอดีนา และ โคโซโว ดินแดนต่างๆเริ่มมีการแบ่งแยกหลังจากประธาน
  นาธิบดี โจเซป บรอนซ์ ติโต ถึงแก่อสัญกรรม ปี 1980

           จากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1991
  สาธารณรัฐ 2 แห่งของยูโกสลาเวีย คือ สลาโวเนีย (สโลเวเนีย) และโครเอเชีย
  เริ่มประกาศอิสระภาพก่อนต่อมาสาธารณรัฐ บอสเนียและเฮอร์ เซโกวีนา ได้
  ประกาศเอกราชแยกตัวจากรัฐบาลกลางของยูโกสลาเวีย แต่เซอร์ เบียเป็ น
  สาธารณรัฐใหญ่สดต้ องการให้ ยโกสลาเวียเป็ นประเทศเดียว จึงเกิดสงคราม
                    ุ          ู
  ระหว่างเซอร์ เบียกับสาธารณรัฐนันๆ
                                 ้
ค.ศ.1992 ประธานาธิบดีสโลโบดาน มิโลเซวิช ผู้นายูโกสลาเวียอยูในเซอร์ เบีย
                                                          ่
นิยมคอมมิวนิสต์ ต่อต้ านการแยกตัวเป็ นเอกราชของสาธารณรัฐต่างๆใน
ยูโกสลาเวียและ ยกทัพปราบการแยกตัวของสาธารณรัฐ มีการปะทะกัน

         สาธารณรัฐบอสเนีย- เฮอร์ เซโกวินามี ประชากร 4.3 ล้ านคน มีชนกลุม ่
น้ อยชาวเซิร์บ(คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก) อาศัยอยู่ ร้ อยละ 31 เป็ นชาวโครแอต
ร้ อยละ 17 ชาวโคแอตประกาศเป็ นศัตรูกบมุสลิม ชนมุสลิมมีร้อยละ 44
                                        ั
กระจายอยูทวบอสเนีย – เฮอร์ เซโกวินา (เรี ยกตนเองว่า ชาวบอสเนียหรื อ บอ
           ่ ั่
สนิแอก) เชื ้อชาติอื่นๆร้ อยละ 8 มีประธานาธิบดีคือ อิลอยา เบเซต ทาการต่อสู้
จนถึงปลายปี ค.ศ.1995
แผนที่แสดงเชื ้อชาติตางในบอสเนีย-เฮอร์ เซโกวินา
                     ่
ความเห็นของชนกลุมน้ อยต่อการประกาศเอกราช โดยชาวโครแอต
                                ่
ต้ องการให้ ดินแดนส่วนตนอาศัยอยูเ่ ข้ ารวมกับรัฐโครเอเชีย และชาวเซิร์บในบอสเนีย
ต้ องการรวมเข้ ากับรัฐเซอร์ เบีย โดยชาวเซิร์บประกาศตัวเป็ นอิสระซ้ อนกับดินแดน
บอสเนีย จึงเกิดสงครามกลางเมืองระหว่างรัฐบาลบอสเนีย(เป็ นชาวมุสลิม)กับชาว
เซิร์บในบอสเนียซึงได้ รับการสนับสนุนจากเซอร์ เบีย
                  ่
ชาวเซิร์บในบอสเนียมีผ้ นา คือราโดวาน คาราจิช ได้ ประกาศตนเป็ น
                                  ู
ประธานาธิบดีของชาวเซิร์บกลุมน้ อย และมีนายพลแรตโก มาลาดิช อดีตแม่ทพของ
                              ่                                           ั
กองทัพเซอร์ เบียเป็ นผู้บญชาการทหาร(ต่อมาถูกฟองในศาลโลกในฐานอาชญากร
                         ั                     ้
สงคราม ข้ อหา เข่นฆ่าล้ างเผ่าพันธุ์และก่ออาชญากรรมต่อมนุษยชาติ)
           ชาวเซิร์บภายใต้ การนาของนายคาราจิช จึงแยกดินแดนส่วนหนึงในบอสเนีย
                                                                   ่
- เฮอร์ เซโกวินาออกเป็ นอิสระในนาม “รัฐของชาวเซิร์บในบอสเนีย” มีเมืองหลวงอยู่
ที่เมืองปาเล
ได้ ทาการต่อสู้ขดขวางการแยกตัวเป็ นอิสระของชาวมุสลิมบอสเนียอย่างโหดร้ าย
                ั
ทารุณใช้ ทหารขับไล่ชาวมุสลิมและโคแอตออกจากถิ่นฐานเกิดการฆ่า ข่มขืนแยก
ครอบครัวของชนชาติทงสอง โดยได้ รับการช่วยเหลือทางอาวุธ การเงินจาก นาย
                      ั้
สโลโบดาน มิโลเชวิช
โครเอเชียร่วมโจมตีชาวเซิร์บและมุสลิมในบอสเนีย ใน ค.ศ. 1995 เพื่อ
สนับสนุนชาวโครแอตในบอสเนีย ทังโครเอเชียและรัฐบาลบอสเนียเป็ นพันธมิตร
                                    ้
ร่วมกัน จากเหตุการณ์ดงกล่าวสาธารณรัฐโครเอเชียและสาธารณรัฐเซอร์ เบียถูก
                       ั
ต่างชาติมองว่าโจมตีชาวมุสลิมในบอสเนีย- เฮอร์ เซโกวินา เพื่อผลประโยชน์ทงสอง
                                                                      ั้
ฝ่ าย
         สหประชาชาติลงมติคว่าบาตรต่อยูโกสลาเวีย เดือน พ.ค. 1992 และ
ดาเนินการระงับการสู้รบ โดยจัดตังกองกาลังปองกันสหประชาชาติหรื อ อันโพรฟอร์
                               ้          ้
(United Nations Protection Force - UNPROFOR)
นาโต ส่งกองกาลังเข้ าแก้ ไขวิกฤตการณ์ในบอสเนีย โดยเข้ าช่วยเหลือ
มุสลิมต่อสู้กบชาวเซิร์บ ต่อมาประธานาธิบดี มิโลเชวิช ของเซอร์ เบียไม่สนับสนุน
             ั
นายคาราจิช เพราะต้ องการให้ สหประชาชาติยกเลิกการคว่าบาตรที่ทามา 3 ปี
สหรัฐจึงแทรกแซงโดยเป็ นตัวกลางไกล่เกลี่ยปั ญหาระหว่างประธานาธิบดีนายฟรังโจ
ทุดจ์มานของโครเอเชีย ประธานาธิบดีอิลอยา เบเซต ของ บอสเนีย- เฮอร์ เซโกวีนา
และประธานธิบดี สโลโบดาน มิโลเซวิซ แห่งยูโกสลาเวีย ในเดือน ต.ค. 1995 ให้ ทก   ุ
ฝ่ ายมาเจรจาตกลงกันที่เมือง เดย์ตน รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกาโดยมีนายวอร์ เรน
                                   ั
คริสโตเฟอร์ รัฐมนตรี กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาเป็ นผู้ไกล่เกลี่ยกรณี
พิพาท โดยมีข้อตกลงดังนี ้
1. ดินแดนบอสเนีย- เฮอร์ เซโกวีนายังคงเป็ นประเทศเดียว มี กรุงซาราเจโวเป็ น
เมืองหลวง อยูภายใต้ รัฐบาลกลางดาเนินนโยบายต่างประเทศ การคลังและ
              ่
ประชากร มีประธานาธิบดีเป็ นฝ่ ายบริหารสูงสุด
2. ห้ ามกลุมชนชาติใดชนชาติหนึงที่ประกอบเป็ นประชากรบอสเนียแยกตัวเป็ น
            ่                       ่
เอกราช
3. กาหนดเขตแดนภายในรัฐให้ แน่นอนย้ ายประชากรตามเขตต่างๆมารวมไว้
ตามเขตเชื ้อชาติของตน ทางภูมิศาสตร์ และประชากรศาสตร์ แยกเป็ น 2 ส่วน สห
พันธุ์บอสเนีย- โคแอต ครอบครองพื ้นที่ 51 % สาธารณรัฐบอสเนีย- เซิร์บ
ครอบครองพื ้นที่ 49% ให้ ผ้ ลี ้ภัยเดินทางกลับถิ่นฐานเดิมของตนและสามารถ
                            ู
เดินทางไปมาอย่างเสรี ทวราชอาณาจักร
                       ั่
4. กาหนดเลือกตังประธานาธิบดีภายในทัง้ 2 รัฐรวมทังสภาระดับชาติภายใน
                  ้                                   ้
14 ก.ย. 1996
ปั ญหาโคโซโว




               โคโซโว
ผู้ที่ได้ รับการเลือกตังเป็ นประธานาธิบดีคือ นายอาลิยา อิเซ็ต เบโก
                                  ้
วิชเป็ นมุสลิมบอสเนีย




          เหตุการณ์สงครามบอสเนียสิ ้นสุดในปี ค.ศ. 1997 และในปี ค.ศ.
2004 สหภาพยุโรปได้ เข้ าไปดูแลรักษาความสงบในบอสเนีย-เฮอร์ เซโกวีนา
อย่างเป็ นทางการแทนนาโต
ดินแดนโคโซโวประชากรร้ อยละ 90 เป็ นชาวแอลบาเนีย ร้ อยละ 10
เป็ นชาวเซอร์ เบีย

       ชาวเซิร์บเห็นว่า โคโซโวเป็ นดินแดนที่เป็ นจุดกาเนิดของวัฒนธรรม
และศาสนาเป็ นเอกลักษณ์ของชาติตน ( รัฐธรรมนูญของยูโกสลาเวียปี
ค.ศ.1974 ระบุวาโคโซโวมีสถานะเป็ นจังหวัดปกครองตนเองของเซอร์ เบีย )
                ่

         ค.ศ. 1989 ประธานาธิบดี สโลโบดาน มิโลเซวิซ ประกาศยกเลิก
สิทธิการปกครองตนเองของโคโซโว และสนับสนุนให้ ชาวเซิร์บอพยพเข้ าไปตัง้
ถิ่นฐานในโคโซโว และกดขี่ชาวแอลบาเนีย
         ชาวแอลบาเนียต่อต้ าน ประธานาธิบดี สโลโบดาน มิโลเซวิซจึงส่ง
กาลังไปปราบปราม ปั ญหาในโคโซโวมีความรุนแรงเมื่อ ค.ศ. 1990 เกิดจาก
ประธานาธิบดี สโลโบดาน มิโลเซวิซ แห่งยูโกสลาเวียพยายามปราบปราม
ม.ค. 2006 ประธานาธิบดี Rugova ถึงแก่กรรมมีนาย Fatmir
Sejdiu ดารงตาแหน่งต่อมา

         ต.ค. 2006 มีการลงประชามติในเซอร์ เบียอนุมติให้ มีการจัดทา
                                                     ั
รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ประกาศให้ โคโซโวเป็ นส่วนหนึงของเซอร์ เบียแต่ชาวโครโซโวเชื ้อ
                                               ่
สายแอลบาเนียคว่าบาตรการลงประชามตินน     ั้

         26 มี.ค. 2007 นาย Martti Ahtisaari ฑูตพิเศษของ
สหประชาชาติ เสนอให้ เอกราชแก่ โคโซโวทาให้ ชาวโคโซโวเชื ้อสายแอลบาเนีย
สนับสนุนแต่ถกชาวเซอร์ เบียคัดค้ าน แผนของ UN กาหนดให้ โคโซโว เป็ นเอกราช
             ู
ภายใต้ การดูแลของนานาชาติ โคโซโวสามารถเข้ าเป็ นสมาชิก UN มีธงชาติ และ
เพลงชาติเป็ นของตนเอง ห้ ามโคโซโวผนวกรวมกับ แอลบาเนียและห้ ามพื ้นที่ของ
ชาวเซิร์บผนวกเข้ ารวมกับเซอร์ เบีย
จากเหตุการณ์ดงกล่าว NATO เข้ ามาแทรกแซงให้ ยติการปราบปรามชาว
                        ั                              ุ
โคโซโวเชื ้อสายแอลบาเนีย โดยโจมตีเปาหมายในโคโซโวและเซอร์ เบีย ทาให้
                                   ้
ประธานาธิบดีสโลโบดาน มิโลเซวิซ ถอนกาลังทหารและตารวจออกจากโคโซโว
ชาวโคโซโวจึงประกาศเอกราชเมื่อ ก.ค. 1990 โดยมีประเทศแอล
บาเนียรับรองเอกราชของโคโซโว มีการจัดตังกองทัพปลดปล่อยโคโซโว
                                       ้
(Kosovo Liberation Army - KLA)เพื่อขับไล่ชาวเซิร์บที่ถกส่งมา    ู
ปราบปรามชาวโคโซโวเชื ้อสายแอลบาเนีย เรี ยกว่าการฆ่าล้ างเผ่าพันธุ์
(genocide) ช่วงค.ศ. 1990-1998 ช่วงเวลาดังกล่าวพลเรื อนหลาย
แสนคนถูกขับไล่จากบ้ านเรื อน
ในปี ค.ศ. 1999 NATO ยุติการทิ ้งระเบิดและ UN เข้ ามาจัดตังกอง
                                                                    ้
กาลังรักษาสันติภาพโคโซ (Kfor) ฝ่ าย KLA ยอมปลดอาวุธ ชาวโคโซโวเชื ้อ
สายแอลบาเนีย 750,000 คน ที่ลี ้ภัยเดินทางกลับบ้ านและชาวเซิร์บประมาณ
100,000 คนต้ องหลบหนีออกจากโคโซโวทาให้ UN เข้ ามาดูแลการปกครอง
ช่วยคราวจนกว่าจะตกลงว่าจะให้ โคโซโวเป็ นเอกราชหรื ออยูภายใต้ การปกครอง
                                                     ่
ของเซอร์ เบีย

         ค.ศ. 2002 นาย Rugova ได้ รับเลือกเป็ นประธานาธิบดีโดยสภา
โคโซโว
          ค.ศ. 2003 มีการเจรจาโดยตรงครังแรกระหว่างผู้นาชาวโคโซโวเชื ้อ
                                        ้
สายแอลบาเนียและเซอร์ เบียแต่ก็ยงคงมีการปะทะกันของทัง้ 2 ฝ่ ายจนถึง ค.ศ.
                               ั
2004 ประธานาธิบดี Rugova ได้ รับชัยชนะในการเลือกตังทัวไปแต่ชาว
                                                       ้ ่
เซิร์บในโคโซโวคว่าบาตรการเลือกตัง้
ม.ค. 2006 ประธานาธิบดี Rugova ถึงแก่กรรมมีนาย Fatmir
Sejdiu ดารงตาแหน่งต่อมา

          ต.ค. 2006 มีการลงประชามติในเซอร์ เบียอนุมติให้ มีการจัดทา
                                                     ั
รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ประกาศให้ โคโซโวเป็ นส่วนหนึงของเซอร์ เบียแต่ชาวโครโซโว
                                               ่
เชื ้อสายแอลบาเนียคว่าบาตรการลงประชามตินน   ั้

26 มี.ค. 2007 นาย Martti Ahtisaari ฑูตพิเศษของสหประชาชาติ
เสนอให้ เอกราชแก่ โคโซโวทาให้ ชาวโคโซโวเชื ้อสายแอลบาเนียสนับสนุนแต่ถก
                                                                     ู
ชาวเซอร์ เบียคัดค้ าน
แผนของ UN กาหนดให้ โคโซโว เป็ นเอกราชภายใต้ การดูแลของ
นานาชาติ โคโซโวเข้ าเป็ นสมาชิก UN มีธงชาติ และเพลงชาติเป็ นของตนเอง
ห้ ามโคโซโวผนวกรวมกับ แอลบาเนียและห้ ามพื ้นที่ของชาวเซิร์บผนวกเข้ ารวม
กับเซอร์ เบีย ชนกลุมน้ อยชาวเซิร์บจะได้ รับการคุ้มครองและต้ องมีที่นงในรัฐบาล
                  ่                                                 ั่
ท้ องถิ่นและรัฐสภารวมทังต้ องมีการให้ สถานพิเศษแก่ศาสนาคริสต์นิกายเซอร์ เบีย
                         ้
ออร์ โธดอกซ์ หลังจากการประกาศแผนการดังกล่าวทาให้ เกิดความรุนแรงมีการ
ปะทะกันระหว่างผู้ประท้ วงที่สนับสนุนเอกราชกับเจ้ าหน้ าที่ตารวจที่กรุง ปริ สตินา

        ประธานาธิบดี Boris Tadic แห่งเซอร์ เบียไม่ยอมรับแผนการของ
UN ดังกล่าว และประธานาธิบดี Fatmir Sejdiu ถือว่าการได้ มาซึงเอก
                                                             ่
ราชของโคโซโวเป็ นเรื่ องข้ อตกลงของประชาชนในประเทศเท่านัน
                                                        ้

อย่างไรก็ตามคณะมนตรี ความมันคงแห่งสหประชาชาติ UNSC จะเป็ นผู้ตดสิน
                              ่                               ั
ว่าเห็นชอบหรื อปฏิเสธข้ อเสนอนัน้
บรรณานุกรม

ระพิน ทองระอา และคณะ(ผู้แปล) .สารานุกรมประวัติศาสตร์ โลก เล่มที่ 10 โลกยุคใหม่
        ค.ศ.1950-2000. กรุงเทพมหานคร: บริษัทฟาร์ อีสต์พบลิเกชันจากัด, 2545.
                                                       ั      ่

ราชบัณฑิตสถาน. สารานุกรมประวัติศาสตร์ สากลสมัยใหม่: ยุโรป เล่ม 1 อักษร A-B.
       พิมพ์ครังที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน,2542.
               ้

ทองหล่อ วงษ์ ธรรมา.เหตุการร์ โลกปั จจุบน. กรุงเทพมหานคร:โอ.เอส.พรินติ ้งเฮ้ าส์
                                       ั                          ้
       ,2550.

นันทนา กปิ ลกาญจน์. ประวัติศาสตร์ และอารยธรรมโลกสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร:
       โอเดียสโตร์ ,2546.
เพ็ญศรี ดุ๊ก.“สาธารณรัฐบอสเนีย-เฮอร์ เซโกวีนา” สารานุกรมประเทศในยุโรปฉบับ
        ราชบัณฑิตยสถาน.(2550):96- 107 .

สยามจดหมายเหตุ . “สหประชาชาติกบปั ญหาโคโซโว”. ปี ที่32 เดือนมีนาคม
                              ั
      ,2550:402-4032.

อนันต์ชย เลาหะพันธุและชาคริต ชุ่มวัฒนะ. “สาธารณรัฐโครเอเชีย” สารานุกรม
       ั
ประเทศในยุโรปฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2550):122-123 .

Richard Overy. THE TIMES HISTORY OF THE 20th
      CENTURY, London: Time Books,2000.154

More Related Content

Viewers also liked

Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)oscargaliza
 
03 Wrath Of God Against Jews
03 Wrath Of God Against Jews03 Wrath Of God Against Jews
03 Wrath Of God Against JewsDon McClain
 
Tools for Learning (51.-60.)
Tools for Learning (51.-60.)Tools for Learning (51.-60.)
Tools for Learning (51.-60.)nazzzy
 
BridgeAtMainALA2015
BridgeAtMainALA2015BridgeAtMainALA2015
BridgeAtMainALA2015mel gooch
 
DiViA-esitys, Personoitu digitaalinen asiakasdialogi (atBusiness)
DiViA-esitys, Personoitu digitaalinen asiakasdialogi (atBusiness)DiViA-esitys, Personoitu digitaalinen asiakasdialogi (atBusiness)
DiViA-esitys, Personoitu digitaalinen asiakasdialogi (atBusiness)Rami Karhu
 
Αγωγή Υγείας - Εφηβικές συζητήσεις και προβληματισμοί - Επίλυση κρίσεων
Αγωγή Υγείας - Εφηβικές συζητήσεις και προβληματισμοί - Επίλυση κρίσεωνΑγωγή Υγείας - Εφηβικές συζητήσεις και προβληματισμοί - Επίλυση κρίσεων
Αγωγή Υγείας - Εφηβικές συζητήσεις και προβληματισμοί - Επίλυση κρίσεωνΝικόλαος Κυπριωτάκης
 
ลักษณะสภาพแวลล้อมทางเศรษฐกิจของทวีปยุโรป 2.4
ลักษณะสภาพแวลล้อมทางเศรษฐกิจของทวีปยุโรป 2.4ลักษณะสภาพแวลล้อมทางเศรษฐกิจของทวีปยุโรป 2.4
ลักษณะสภาพแวลล้อมทางเศรษฐกิจของทวีปยุโรป 2.4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
An impugnacion convenio 2011 2012
An impugnacion convenio 2011 2012An impugnacion convenio 2011 2012
An impugnacion convenio 2011 2012oscargaliza
 
/Volumes/Rozwa1 Cl/Edu 290/Assignments/Cyberbullying
/Volumes/Rozwa1 Cl/Edu 290/Assignments/Cyberbullying/Volumes/Rozwa1 Cl/Edu 290/Assignments/Cyberbullying
/Volumes/Rozwa1 Cl/Edu 290/Assignments/CyberbullyingChrisRoz
 
ZFConf 2012: Capistrano для деплоймента PHP-приложений (Роман Лапин)
ZFConf 2012: Capistrano для деплоймента PHP-приложений (Роман Лапин)ZFConf 2012: Capistrano для деплоймента PHP-приложений (Роман Лапин)
ZFConf 2012: Capistrano для деплоймента PHP-приложений (Роман Лапин)ZFConf Conference
 
Coutinho A Depth Compensation Method For Cross Ratio Based Eye Tracking
Coutinho A Depth Compensation Method For Cross Ratio Based Eye TrackingCoutinho A Depth Compensation Method For Cross Ratio Based Eye Tracking
Coutinho A Depth Compensation Method For Cross Ratio Based Eye TrackingKalle
 
Intercentros carrefour
Intercentros carrefourIntercentros carrefour
Intercentros carrefouroscargaliza
 
Sistemas De Apoio a Decisão
Sistemas De Apoio a DecisãoSistemas De Apoio a Decisão
Sistemas De Apoio a DecisãoWillame Tiberio
 
Cactus Blossoms!
Cactus Blossoms!Cactus Blossoms!
Cactus Blossoms!ansiindia
 

Viewers also liked (20)

Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
 
03 Wrath Of God Against Jews
03 Wrath Of God Against Jews03 Wrath Of God Against Jews
03 Wrath Of God Against Jews
 
Tools for Learning (51.-60.)
Tools for Learning (51.-60.)Tools for Learning (51.-60.)
Tools for Learning (51.-60.)
 
การพัฒนาคุณภาพประชากรโลก
การพัฒนาคุณภาพประชากรโลกการพัฒนาคุณภาพประชากรโลก
การพัฒนาคุณภาพประชากรโลก
 
BridgeAtMainALA2015
BridgeAtMainALA2015BridgeAtMainALA2015
BridgeAtMainALA2015
 
DiViA-esitys, Personoitu digitaalinen asiakasdialogi (atBusiness)
DiViA-esitys, Personoitu digitaalinen asiakasdialogi (atBusiness)DiViA-esitys, Personoitu digitaalinen asiakasdialogi (atBusiness)
DiViA-esitys, Personoitu digitaalinen asiakasdialogi (atBusiness)
 
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
 
Αγωγή Υγείας - Εφηβικές συζητήσεις και προβληματισμοί - Επίλυση κρίσεων
Αγωγή Υγείας - Εφηβικές συζητήσεις και προβληματισμοί - Επίλυση κρίσεωνΑγωγή Υγείας - Εφηβικές συζητήσεις και προβληματισμοί - Επίλυση κρίσεων
Αγωγή Υγείας - Εφηβικές συζητήσεις και προβληματισμοί - Επίλυση κρίσεων
 
ทรัพยากรในทวีปยุโรป 2.4
ทรัพยากรในทวีปยุโรป 2.4ทรัพยากรในทวีปยุโรป 2.4
ทรัพยากรในทวีปยุโรป 2.4
 
ลักษณะสภาพแวลล้อมทางเศรษฐกิจของทวีปยุโรป 2.4
ลักษณะสภาพแวลล้อมทางเศรษฐกิจของทวีปยุโรป 2.4ลักษณะสภาพแวลล้อมทางเศรษฐกิจของทวีปยุโรป 2.4
ลักษณะสภาพแวลล้อมทางเศรษฐกิจของทวีปยุโรป 2.4
 
An impugnacion convenio 2011 2012
An impugnacion convenio 2011 2012An impugnacion convenio 2011 2012
An impugnacion convenio 2011 2012
 
ศิลป์
ศิลป์ศิลป์
ศิลป์
 
/Volumes/Rozwa1 Cl/Edu 290/Assignments/Cyberbullying
/Volumes/Rozwa1 Cl/Edu 290/Assignments/Cyberbullying/Volumes/Rozwa1 Cl/Edu 290/Assignments/Cyberbullying
/Volumes/Rozwa1 Cl/Edu 290/Assignments/Cyberbullying
 
ZFConf 2012: Capistrano для деплоймента PHP-приложений (Роман Лапин)
ZFConf 2012: Capistrano для деплоймента PHP-приложений (Роман Лапин)ZFConf 2012: Capistrano для деплоймента PHP-приложений (Роман Лапин)
ZFConf 2012: Capistrano для деплоймента PHP-приложений (Роман Лапин)
 
Laudo
LaudoLaudo
Laudo
 
Tell The Difference
Tell The DifferenceTell The Difference
Tell The Difference
 
Coutinho A Depth Compensation Method For Cross Ratio Based Eye Tracking
Coutinho A Depth Compensation Method For Cross Ratio Based Eye TrackingCoutinho A Depth Compensation Method For Cross Ratio Based Eye Tracking
Coutinho A Depth Compensation Method For Cross Ratio Based Eye Tracking
 
Intercentros carrefour
Intercentros carrefourIntercentros carrefour
Intercentros carrefour
 
Sistemas De Apoio a Decisão
Sistemas De Apoio a DecisãoSistemas De Apoio a Decisão
Sistemas De Apoio a Decisão
 
Cactus Blossoms!
Cactus Blossoms!Cactus Blossoms!
Cactus Blossoms!
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

ยุโกสลาเวีย

  • 1.
  • 2. สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส. นันท์นภัส บุญแรง เลขที่ 19 2.น.ส. พิมพ์ชนก ต๊ ะแปงปั น เลขที่ 21 3.น.ส. ภัทรธิดา พรมคา เลขที่ 22 4.น.ส. กัญจน์ชภร เลาหะวีร์ เลขที่ 24 ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 6/2 ้
  • 3. สาเหตุความขัดแย้ ง ระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่ไม่เท่าเทียมกันในแต่ละเขตแคว้ น, ความแตกต่างหวาดระแวงกันทางเชื ้อชาติ ซึงรวมถึงความต้ องการเชิดชูเชื ้อชาติ ่ ตนและเหยียดเชื ้อชาติอื่น, ความล้ มเหลวของอุดมการณ์คอมมิวนิสต์ในระดับ สากล, การถึงแก่อสัญกรรมของ โจซิฟ บรอซ ติโต ผู้นาเพียงคนเดียวที่ดอาจ ู เหนี่ยวรังไม่ให้ การแตกร้ าวเร่งขยายตัว, ความผิดพลาดของ สโลโบดัน มิโลเซวิช ้ ผู้นาเซอร์ เบีย ที่เป็ นบุรุษเหล็กคนใหม่ของยูโกสลาเวีย ซึงเลือกใช้ นโยบายคับ ่ แคบในการสนับสนุนเชิดชูชาวเซิร์บ ฯลฯ
  • 4. 3 7 2 1 4 5 8 6 แผนที่ประเทศยูโกสลาเวียปี 1991
  • 5. ปั ญหาบอสเนีย-เฮอร์ เซโกวินา ยูโกสลาเวียประกอบด้ วยรัฐ 6 รัฐ คือ เซอร์ เบีย โครเอเชีย สลาโวเนีย บอสเนีย-เฮอร์ เซโกวีนา มอนเตเนโก มาซิโดเนีย และ 2 มณฑลอิสระ คือ วอยวอดีนา และ โคโซโว ดินแดนต่างๆเริ่มมีการแบ่งแยกหลังจากประธาน นาธิบดี โจเซป บรอนซ์ ติโต ถึงแก่อสัญกรรม ปี 1980 จากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1991 สาธารณรัฐ 2 แห่งของยูโกสลาเวีย คือ สลาโวเนีย (สโลเวเนีย) และโครเอเชีย เริ่มประกาศอิสระภาพก่อนต่อมาสาธารณรัฐ บอสเนียและเฮอร์ เซโกวีนา ได้ ประกาศเอกราชแยกตัวจากรัฐบาลกลางของยูโกสลาเวีย แต่เซอร์ เบียเป็ น สาธารณรัฐใหญ่สดต้ องการให้ ยโกสลาเวียเป็ นประเทศเดียว จึงเกิดสงคราม ุ ู ระหว่างเซอร์ เบียกับสาธารณรัฐนันๆ ้
  • 6. ค.ศ.1992 ประธานาธิบดีสโลโบดาน มิโลเซวิช ผู้นายูโกสลาเวียอยูในเซอร์ เบีย ่ นิยมคอมมิวนิสต์ ต่อต้ านการแยกตัวเป็ นเอกราชของสาธารณรัฐต่างๆใน ยูโกสลาเวียและ ยกทัพปราบการแยกตัวของสาธารณรัฐ มีการปะทะกัน สาธารณรัฐบอสเนีย- เฮอร์ เซโกวินามี ประชากร 4.3 ล้ านคน มีชนกลุม ่ น้ อยชาวเซิร์บ(คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก) อาศัยอยู่ ร้ อยละ 31 เป็ นชาวโครแอต ร้ อยละ 17 ชาวโคแอตประกาศเป็ นศัตรูกบมุสลิม ชนมุสลิมมีร้อยละ 44 ั กระจายอยูทวบอสเนีย – เฮอร์ เซโกวินา (เรี ยกตนเองว่า ชาวบอสเนียหรื อ บอ ่ ั่ สนิแอก) เชื ้อชาติอื่นๆร้ อยละ 8 มีประธานาธิบดีคือ อิลอยา เบเซต ทาการต่อสู้ จนถึงปลายปี ค.ศ.1995
  • 8. ความเห็นของชนกลุมน้ อยต่อการประกาศเอกราช โดยชาวโครแอต ่ ต้ องการให้ ดินแดนส่วนตนอาศัยอยูเ่ ข้ ารวมกับรัฐโครเอเชีย และชาวเซิร์บในบอสเนีย ต้ องการรวมเข้ ากับรัฐเซอร์ เบีย โดยชาวเซิร์บประกาศตัวเป็ นอิสระซ้ อนกับดินแดน บอสเนีย จึงเกิดสงครามกลางเมืองระหว่างรัฐบาลบอสเนีย(เป็ นชาวมุสลิม)กับชาว เซิร์บในบอสเนียซึงได้ รับการสนับสนุนจากเซอร์ เบีย ่
  • 9. ชาวเซิร์บในบอสเนียมีผ้ นา คือราโดวาน คาราจิช ได้ ประกาศตนเป็ น ู ประธานาธิบดีของชาวเซิร์บกลุมน้ อย และมีนายพลแรตโก มาลาดิช อดีตแม่ทพของ ่ ั กองทัพเซอร์ เบียเป็ นผู้บญชาการทหาร(ต่อมาถูกฟองในศาลโลกในฐานอาชญากร ั ้ สงคราม ข้ อหา เข่นฆ่าล้ างเผ่าพันธุ์และก่ออาชญากรรมต่อมนุษยชาติ) ชาวเซิร์บภายใต้ การนาของนายคาราจิช จึงแยกดินแดนส่วนหนึงในบอสเนีย ่ - เฮอร์ เซโกวินาออกเป็ นอิสระในนาม “รัฐของชาวเซิร์บในบอสเนีย” มีเมืองหลวงอยู่ ที่เมืองปาเล
  • 10. ได้ ทาการต่อสู้ขดขวางการแยกตัวเป็ นอิสระของชาวมุสลิมบอสเนียอย่างโหดร้ าย ั ทารุณใช้ ทหารขับไล่ชาวมุสลิมและโคแอตออกจากถิ่นฐานเกิดการฆ่า ข่มขืนแยก ครอบครัวของชนชาติทงสอง โดยได้ รับการช่วยเหลือทางอาวุธ การเงินจาก นาย ั้ สโลโบดาน มิโลเชวิช
  • 11. โครเอเชียร่วมโจมตีชาวเซิร์บและมุสลิมในบอสเนีย ใน ค.ศ. 1995 เพื่อ สนับสนุนชาวโครแอตในบอสเนีย ทังโครเอเชียและรัฐบาลบอสเนียเป็ นพันธมิตร ้ ร่วมกัน จากเหตุการณ์ดงกล่าวสาธารณรัฐโครเอเชียและสาธารณรัฐเซอร์ เบียถูก ั ต่างชาติมองว่าโจมตีชาวมุสลิมในบอสเนีย- เฮอร์ เซโกวินา เพื่อผลประโยชน์ทงสอง ั้ ฝ่ าย สหประชาชาติลงมติคว่าบาตรต่อยูโกสลาเวีย เดือน พ.ค. 1992 และ ดาเนินการระงับการสู้รบ โดยจัดตังกองกาลังปองกันสหประชาชาติหรื อ อันโพรฟอร์ ้ ้ (United Nations Protection Force - UNPROFOR)
  • 12.
  • 13. นาโต ส่งกองกาลังเข้ าแก้ ไขวิกฤตการณ์ในบอสเนีย โดยเข้ าช่วยเหลือ มุสลิมต่อสู้กบชาวเซิร์บ ต่อมาประธานาธิบดี มิโลเชวิช ของเซอร์ เบียไม่สนับสนุน ั นายคาราจิช เพราะต้ องการให้ สหประชาชาติยกเลิกการคว่าบาตรที่ทามา 3 ปี สหรัฐจึงแทรกแซงโดยเป็ นตัวกลางไกล่เกลี่ยปั ญหาระหว่างประธานาธิบดีนายฟรังโจ ทุดจ์มานของโครเอเชีย ประธานาธิบดีอิลอยา เบเซต ของ บอสเนีย- เฮอร์ เซโกวีนา และประธานธิบดี สโลโบดาน มิโลเซวิซ แห่งยูโกสลาเวีย ในเดือน ต.ค. 1995 ให้ ทก ุ ฝ่ ายมาเจรจาตกลงกันที่เมือง เดย์ตน รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกาโดยมีนายวอร์ เรน ั คริสโตเฟอร์ รัฐมนตรี กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาเป็ นผู้ไกล่เกลี่ยกรณี พิพาท โดยมีข้อตกลงดังนี ้
  • 14. 1. ดินแดนบอสเนีย- เฮอร์ เซโกวีนายังคงเป็ นประเทศเดียว มี กรุงซาราเจโวเป็ น เมืองหลวง อยูภายใต้ รัฐบาลกลางดาเนินนโยบายต่างประเทศ การคลังและ ่ ประชากร มีประธานาธิบดีเป็ นฝ่ ายบริหารสูงสุด 2. ห้ ามกลุมชนชาติใดชนชาติหนึงที่ประกอบเป็ นประชากรบอสเนียแยกตัวเป็ น ่ ่ เอกราช 3. กาหนดเขตแดนภายในรัฐให้ แน่นอนย้ ายประชากรตามเขตต่างๆมารวมไว้ ตามเขตเชื ้อชาติของตน ทางภูมิศาสตร์ และประชากรศาสตร์ แยกเป็ น 2 ส่วน สห พันธุ์บอสเนีย- โคแอต ครอบครองพื ้นที่ 51 % สาธารณรัฐบอสเนีย- เซิร์บ ครอบครองพื ้นที่ 49% ให้ ผ้ ลี ้ภัยเดินทางกลับถิ่นฐานเดิมของตนและสามารถ ู เดินทางไปมาอย่างเสรี ทวราชอาณาจักร ั่ 4. กาหนดเลือกตังประธานาธิบดีภายในทัง้ 2 รัฐรวมทังสภาระดับชาติภายใน ้ ้ 14 ก.ย. 1996
  • 16. ผู้ที่ได้ รับการเลือกตังเป็ นประธานาธิบดีคือ นายอาลิยา อิเซ็ต เบโก ้ วิชเป็ นมุสลิมบอสเนีย เหตุการณ์สงครามบอสเนียสิ ้นสุดในปี ค.ศ. 1997 และในปี ค.ศ. 2004 สหภาพยุโรปได้ เข้ าไปดูแลรักษาความสงบในบอสเนีย-เฮอร์ เซโกวีนา อย่างเป็ นทางการแทนนาโต
  • 17. ดินแดนโคโซโวประชากรร้ อยละ 90 เป็ นชาวแอลบาเนีย ร้ อยละ 10 เป็ นชาวเซอร์ เบีย ชาวเซิร์บเห็นว่า โคโซโวเป็ นดินแดนที่เป็ นจุดกาเนิดของวัฒนธรรม และศาสนาเป็ นเอกลักษณ์ของชาติตน ( รัฐธรรมนูญของยูโกสลาเวียปี ค.ศ.1974 ระบุวาโคโซโวมีสถานะเป็ นจังหวัดปกครองตนเองของเซอร์ เบีย ) ่ ค.ศ. 1989 ประธานาธิบดี สโลโบดาน มิโลเซวิซ ประกาศยกเลิก สิทธิการปกครองตนเองของโคโซโว และสนับสนุนให้ ชาวเซิร์บอพยพเข้ าไปตัง้ ถิ่นฐานในโคโซโว และกดขี่ชาวแอลบาเนีย ชาวแอลบาเนียต่อต้ าน ประธานาธิบดี สโลโบดาน มิโลเซวิซจึงส่ง กาลังไปปราบปราม ปั ญหาในโคโซโวมีความรุนแรงเมื่อ ค.ศ. 1990 เกิดจาก ประธานาธิบดี สโลโบดาน มิโลเซวิซ แห่งยูโกสลาเวียพยายามปราบปราม
  • 18. ม.ค. 2006 ประธานาธิบดี Rugova ถึงแก่กรรมมีนาย Fatmir Sejdiu ดารงตาแหน่งต่อมา ต.ค. 2006 มีการลงประชามติในเซอร์ เบียอนุมติให้ มีการจัดทา ั รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ประกาศให้ โคโซโวเป็ นส่วนหนึงของเซอร์ เบียแต่ชาวโครโซโวเชื ้อ ่ สายแอลบาเนียคว่าบาตรการลงประชามตินน ั้ 26 มี.ค. 2007 นาย Martti Ahtisaari ฑูตพิเศษของ สหประชาชาติ เสนอให้ เอกราชแก่ โคโซโวทาให้ ชาวโคโซโวเชื ้อสายแอลบาเนีย สนับสนุนแต่ถกชาวเซอร์ เบียคัดค้ าน แผนของ UN กาหนดให้ โคโซโว เป็ นเอกราช ู ภายใต้ การดูแลของนานาชาติ โคโซโวสามารถเข้ าเป็ นสมาชิก UN มีธงชาติ และ เพลงชาติเป็ นของตนเอง ห้ ามโคโซโวผนวกรวมกับ แอลบาเนียและห้ ามพื ้นที่ของ ชาวเซิร์บผนวกเข้ ารวมกับเซอร์ เบีย
  • 19. จากเหตุการณ์ดงกล่าว NATO เข้ ามาแทรกแซงให้ ยติการปราบปรามชาว ั ุ โคโซโวเชื ้อสายแอลบาเนีย โดยโจมตีเปาหมายในโคโซโวและเซอร์ เบีย ทาให้ ้ ประธานาธิบดีสโลโบดาน มิโลเซวิซ ถอนกาลังทหารและตารวจออกจากโคโซโว
  • 20. ชาวโคโซโวจึงประกาศเอกราชเมื่อ ก.ค. 1990 โดยมีประเทศแอล บาเนียรับรองเอกราชของโคโซโว มีการจัดตังกองทัพปลดปล่อยโคโซโว ้ (Kosovo Liberation Army - KLA)เพื่อขับไล่ชาวเซิร์บที่ถกส่งมา ู ปราบปรามชาวโคโซโวเชื ้อสายแอลบาเนีย เรี ยกว่าการฆ่าล้ างเผ่าพันธุ์ (genocide) ช่วงค.ศ. 1990-1998 ช่วงเวลาดังกล่าวพลเรื อนหลาย แสนคนถูกขับไล่จากบ้ านเรื อน
  • 21. ในปี ค.ศ. 1999 NATO ยุติการทิ ้งระเบิดและ UN เข้ ามาจัดตังกอง ้ กาลังรักษาสันติภาพโคโซ (Kfor) ฝ่ าย KLA ยอมปลดอาวุธ ชาวโคโซโวเชื ้อ สายแอลบาเนีย 750,000 คน ที่ลี ้ภัยเดินทางกลับบ้ านและชาวเซิร์บประมาณ 100,000 คนต้ องหลบหนีออกจากโคโซโวทาให้ UN เข้ ามาดูแลการปกครอง ช่วยคราวจนกว่าจะตกลงว่าจะให้ โคโซโวเป็ นเอกราชหรื ออยูภายใต้ การปกครอง ่ ของเซอร์ เบีย ค.ศ. 2002 นาย Rugova ได้ รับเลือกเป็ นประธานาธิบดีโดยสภา โคโซโว ค.ศ. 2003 มีการเจรจาโดยตรงครังแรกระหว่างผู้นาชาวโคโซโวเชื ้อ ้ สายแอลบาเนียและเซอร์ เบียแต่ก็ยงคงมีการปะทะกันของทัง้ 2 ฝ่ ายจนถึง ค.ศ. ั 2004 ประธานาธิบดี Rugova ได้ รับชัยชนะในการเลือกตังทัวไปแต่ชาว ้ ่ เซิร์บในโคโซโวคว่าบาตรการเลือกตัง้
  • 22. ม.ค. 2006 ประธานาธิบดี Rugova ถึงแก่กรรมมีนาย Fatmir Sejdiu ดารงตาแหน่งต่อมา ต.ค. 2006 มีการลงประชามติในเซอร์ เบียอนุมติให้ มีการจัดทา ั รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ประกาศให้ โคโซโวเป็ นส่วนหนึงของเซอร์ เบียแต่ชาวโครโซโว ่ เชื ้อสายแอลบาเนียคว่าบาตรการลงประชามตินน ั้ 26 มี.ค. 2007 นาย Martti Ahtisaari ฑูตพิเศษของสหประชาชาติ เสนอให้ เอกราชแก่ โคโซโวทาให้ ชาวโคโซโวเชื ้อสายแอลบาเนียสนับสนุนแต่ถก ู ชาวเซอร์ เบียคัดค้ าน
  • 23. แผนของ UN กาหนดให้ โคโซโว เป็ นเอกราชภายใต้ การดูแลของ นานาชาติ โคโซโวเข้ าเป็ นสมาชิก UN มีธงชาติ และเพลงชาติเป็ นของตนเอง ห้ ามโคโซโวผนวกรวมกับ แอลบาเนียและห้ ามพื ้นที่ของชาวเซิร์บผนวกเข้ ารวม กับเซอร์ เบีย ชนกลุมน้ อยชาวเซิร์บจะได้ รับการคุ้มครองและต้ องมีที่นงในรัฐบาล ่ ั่ ท้ องถิ่นและรัฐสภารวมทังต้ องมีการให้ สถานพิเศษแก่ศาสนาคริสต์นิกายเซอร์ เบีย ้ ออร์ โธดอกซ์ หลังจากการประกาศแผนการดังกล่าวทาให้ เกิดความรุนแรงมีการ ปะทะกันระหว่างผู้ประท้ วงที่สนับสนุนเอกราชกับเจ้ าหน้ าที่ตารวจที่กรุง ปริ สตินา ประธานาธิบดี Boris Tadic แห่งเซอร์ เบียไม่ยอมรับแผนการของ UN ดังกล่าว และประธานาธิบดี Fatmir Sejdiu ถือว่าการได้ มาซึงเอก ่ ราชของโคโซโวเป็ นเรื่ องข้ อตกลงของประชาชนในประเทศเท่านัน ้ อย่างไรก็ตามคณะมนตรี ความมันคงแห่งสหประชาชาติ UNSC จะเป็ นผู้ตดสิน ่ ั ว่าเห็นชอบหรื อปฏิเสธข้ อเสนอนัน้
  • 24. บรรณานุกรม ระพิน ทองระอา และคณะ(ผู้แปล) .สารานุกรมประวัติศาสตร์ โลก เล่มที่ 10 โลกยุคใหม่ ค.ศ.1950-2000. กรุงเทพมหานคร: บริษัทฟาร์ อีสต์พบลิเกชันจากัด, 2545. ั ่ ราชบัณฑิตสถาน. สารานุกรมประวัติศาสตร์ สากลสมัยใหม่: ยุโรป เล่ม 1 อักษร A-B. พิมพ์ครังที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน,2542. ้ ทองหล่อ วงษ์ ธรรมา.เหตุการร์ โลกปั จจุบน. กรุงเทพมหานคร:โอ.เอส.พรินติ ้งเฮ้ าส์ ั ้ ,2550. นันทนา กปิ ลกาญจน์. ประวัติศาสตร์ และอารยธรรมโลกสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร: โอเดียสโตร์ ,2546.
  • 25. เพ็ญศรี ดุ๊ก.“สาธารณรัฐบอสเนีย-เฮอร์ เซโกวีนา” สารานุกรมประเทศในยุโรปฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน.(2550):96- 107 . สยามจดหมายเหตุ . “สหประชาชาติกบปั ญหาโคโซโว”. ปี ที่32 เดือนมีนาคม ั ,2550:402-4032. อนันต์ชย เลาหะพันธุและชาคริต ชุ่มวัฒนะ. “สาธารณรัฐโครเอเชีย” สารานุกรม ั ประเทศในยุโรปฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2550):122-123 . Richard Overy. THE TIMES HISTORY OF THE 20th CENTURY, London: Time Books,2000.154