SlideShare a Scribd company logo
เหตุการณ์สาคัญของโลก
 ในคริสต์ศตวรรษที่ 21
1
    Mind Mapping
2




              ผู้ ก่ อ การอาจเป็ น ชนกลุ่ ม น้ อ ยในประเทศหรื อ เป็ น สมาชิ ก
องค์ ก รใต้ ดิ น ต่ า งๆ โดยจุ ด มุ่ ง หมายของการก่ อ การร้ า ยกล่ า ว อย่ า ง
กว้างๆ มี 2 ประการ ประการที่หนึ่ง คือ เพื่อแสดงออกซึ่งความไม่พอใจ
ในสิ่งที่ตนเผชิญ อยู่ ประการที่สอง คื อ เพื่ อเรี ย กร้ อ งความสนใจและ
สร้ า งให้ เ กิ ด ความกลั ว ขึ้ น มา โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในโลกปั จ จุ บั น ที่
เทคโนโลยีทางด้านข่าวสารพัฒนาก้าวหน้าไปมาก




             เหตุการณ์วันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 นครรัฐนิวยอร์ก
3
                 การก่ อ การร้ า ยที่ ส ร้ า งความเสี ย หายครั้ ง ส าคั ญ ใน
    คริสต์ศตวรรษที่ 21 คือ เหตุการณ์วันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ที่กลุ่ม
    ผู้ก่อ การร้ ายได้ จี้ บังคับเครื่อ บิน โดยสารภายในประเทศสหรั ฐอเมริก า
    จานวน 4 ลา พุ่งชนอาคาร เวิลด์เทรดเซ็น เตอร์ รัฐนิวยอร์ก และพุ่งชน
    อาคาร เพนตากอน ที่ทาการกระทรวงกลาโหม รัฐวอชิงตัน ดี .ซี. ผล
    ปรากฏว่าอาคารเวิลด์เทรดเซ็น เตอร์ถล่มทั้งสองอาคาร ส่วนอาคารเพน
    ตากอนเสี ย หายอย่ า งหนั ก มี ผู้ เ สี ย ชี วิ ต ประมาณ 3,000 คน และ
    ทรัพย์สินถูกทาลายเสียหายมีมูลค่าไม่ต่ากว่า 100,000 ล้านดอลลาร์
    สหรัฐอเมริกา รวมทั้งขวัญ กาลังใจของชาวอเมริกันตกต่าลงเนื่องจาก
    เกิดความรู้สึกไม่มั่นคงปลอดภัยอันมาจากการถูกโจมตี ภายในประเทศ
    ของตนเป็นครั้งแรก




                                            อาคารเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ (ซ้าย)
                                            อาคารเพนตากอน (ขวา)


               วิดีโอการก่อวินาศกรรม
            ตึกแฝดเวิลด์ เทรด เซ็นเตอร์
ดินแดนปาเลสไตน์                                      4




             จากเหตุ ก ารณ์ ก ารก่ อ การร้ า ยนี้ นั ก วิ ช าการส่ ว นใหญ่ ต่ า ง
วิเคราะห์สาเหตุของเหตุการณ์ว่า น่าจะมาจากการที่สหรัฐอเมริกาเป็น
ชาติมหาอานาจอันดับหนึ่งของโลกมาตลอดตั้งแต่หลัง สงครามโลกครั้งที่
2 เป็นต้นมา ทั้งนี้สหรัฐอเมริกาได้ดาเนินนโยบายต่างประเทศในลักษณะ
แผ่ขยายอานาจไปทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในดินแดนตะวันออกกลางที่
มี ท รั พ ยากรธรรมชาติ ส าคั ญ คื อ น้ ามั น ด้ ว ยการแทรกแซงและ
สนับสนุนการก่อตั้งรัฐอิสราเอลขึ้นในดินแดนปาเลสไตน์ ใน ค.ศ. 1948
จากนั้นสหรัฐอเมริกาก็ดาเนินนโยบายสนับสนุนอิสราเอลมาตลอด ไม่ว่า
จะเป็นการ ทาสงครามกับกลุ่มประเทศอาหรั บ การยึดครองดินแดน
ปาเลสไตน์ ขณะเดียวกันก็ให้การ สนับสนุนรัฐบาลของประเทศอาหรับที่
เป็นมิตรกับสหรัฐอเมริกา
5



                   การกระท าเช่ น นี้ ส ร้ า ง
    ความไม่ พอใจให้กับหมู่ชาวอาหรับซึ่ง
    เห็นว่าสหรัฐอเมริกามีนโยบายคุกคาม
    กลุ่มประเทศอาหรับและ ต้องการเข้า
    มามี อ านาจในประเทศต่ า งๆ ใน
    ภู มิ ภ า ค นี้ ก า ร แ ท ร ก แ ซ ง ข อ ง
    สหรั ฐ อเมริ ก าในภู มิ ภ าคนี้ น ามาซึ่ ง
    ความขั ด แย้ ง นั บ ครั้ ง ไม่ ถ้ ว นขอ ง
    ประเทศต่างๆ หลายครั้ง นอกจากนี้
    ความขัดแย้งรุนแรงที่ เกิดขึ้นส่วนหนึ่ง
    เป็นเพราะผู้ก่อการร้ายที่เป็นมุสลิมมี
    เป้าหมายในการทาสงครามเพื่อศาสนา
    หรือ การทาจิฮัด (Jihad) ต่อต้าน
    สหรัฐอเมริกาและพันธมิตรโดยเฉพาะ
    อิ ส ลา เอล ให้ อ อ กไป จากดิ น แดน
    ปาเลสไตน์ รวมทั้ ง ต่ อ ต้ า นประเทศ
    มุสลิมที่เป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกา         ความขัดแย้งที่เกิดขึนใน
                                                                     ้
    อ ย่ า ง เ ช่ น ซ า อุ ดี อ า ร ะ เ บี ย       ดินแดนปาเลสไตน์
6
            การที่สหรัฐอเมริกาถูกโจมตีด้วยการถล่มตึกเวิลด์เทรดเซ็น
เตอร์ สั ญ ลั ก ษณ์ ท างเศรษฐกิ จ และอาคารเพนตากอน ที่ ท าการ
กระทรวงกลาโหม สัญลักษณ์ทางการทหารของสหรัฐอเมริกานั้น นับเป็น
ปฏิกิริยาที่มีต่อบทบาทของสหรัฐอเมริกาในช่วงเวลาที่ผ่านมา รวมทั้ง
เป็นการทาลายความ น่าเชื่อถือของสหรัฐอเมริกาในฐานะชาติมหาอานาจ
และเป็นศูนย์กลางระบบทุนนิยมโลก




                                               Usama Bin Ladin


              สหรัฐอเมริกาไม่สามารถยอมให้เหตุการณ์การก่อการร้ายนี้
ผ่านไปโดยหาผู้รับผิดชอบ ไม่ได้ ทั้งนี้สหรัฐอเมริกาเชื่อว่าการก่อการร้าย
ที่เกิดขึ้นเป็นฝีมือของขบวนการอัล เคดา หรือ อัล กออิดะห์ (Al Qa’ida)
ที่มีนายอุซามะ บิน ลาเดน (Usama Bin Ladin) เป็นผู้นา
สหรั ฐ อเมริ ก าจึ ง ได้ ประกาศสงครามกั บ กลุ่มก่ อ การร้ า ยและพร้ อ มจะ
ทาลายกลุ่มองค์กรเหล่านี้ รวมทั้งรัฐบาลที่ให้แหล่งพักพิงและสนับสนุน
การก่อการร้าย ดังนั้นสังคมโลกในคริสต์ศตวรรษ ที่ 21 จึงก้าวเข้า สู่
สงครามต่อต้านการก่อการร้ายระหว่างประเทศซึ่งมีสหรัฐอเมริกาเป็น
ผู้นา
7                ทั้ง นี้ การก่ อ การร้ า ยระหว่ า งประเทศนอกจากจะเกิ ด ขึ้ น ที่
    สหรัฐอเมริ กาแล้ว ยังคงเกิ ดขึ้นตามจุ ดต่างๆ ทั่ว โลก ประเทศต่า งๆ
    ตระหนักว่ากลุ่มก่อการร้ายเป็นองค์กรขนาดใหญ่ ปฏิบัติการเคลื่อนไหว
    ผ่ า น เครื อ ข่ า ยที่ ก ระจายอยู่ ทั่ ว โลก จึ ง เกิ ด การตื่ น ตั ว ในการร่ ว มมื อ
    ป้องกันและปราบปรามการ ก่อการร้ายระหว่างประเทศ เช่น ประเทศ
    มหาอานาจโดยเฉพาะสหภาพยุโรป รัสเซีย และจีน กลายเป็นพันธมิตร
    ของสหรัฐอเมริกาในการต่อสู้กับกลุ่มก่อการร้ายและทาสงครามโค่นล้ม
    รั ฐ บาล ของประเทศอั ฟ กานิ ส ถาน โดยอ้ า งถึ ง ความกดขี่ ใ นด้ า นการ
    ปกครองและการสนับสนุนการก่อการร้ายของรัฐบาลกลุ่มตาลีบันของ
    อัฟกานิสถาน แต่ส่วนใหญ่คัดค้านสหรัฐอเมริกาในการ ทาสงครามกับ
    อิรัก เพราะไม่ต้องการสนับสนุนการดาเนินนโยบายแบบฝ่ายเดียวกับ
    สหรั ฐ อเมริ ก า ขณะเดี ย วกั น กลุ่ ม ก่ อ การร้ า ยก็ ท าการก่ อ วิ น าศกรรม
    ต่ อ ต้ า นสหรั ฐ อเมริ ก าและประเทศพั น ธมิ ต ร อย่ า งเช่ น อั ง กฤษและ
    ออสเตรเลีย ด้วยการก่อวินาศกรรมทาลายชีวิตและทรัพย์สินมากขึ้น เช่น
    เหตุก ารณ์ก ารก่ อ การร้ า ยระเบิด สถานบั น เทิงในเกาะบาหลี ประเทศ
    อินโดนี เซีย ในเดื อนตุลาคม ค.ศ. 2002 ที่มีผู้เสีย ชีวิต 202 คนและ
    บาดเจ็บกว่า 300 คน เป็นต้น




            กลุมตาลีบน
              ่      ั
8




                             กลุมอัล กออิดะห์
                               ่


การก่อการร้ ายระหว่างประเทศยังคงเป็ นปั ญหาที่สาคัญอย่างยิ่งระหว่าง
ประเทศและส่ง ผลให้ เกิดความขัดแย้ งระหว่างประเทศอีกต่อไป เนื่องจาก
สหรัฐอเมริ กายังเป็ นอภิมหาอานาจหนึง เดียวของโลกที่จะเรี ยกร้ องและ
                                     ่
กดดันให้ ประเทศต่างๆ มีสวนรับผิดชอบต่อการทาสงครามต่อต้ าน การก่อ
                               ่
การร้ ายทัวโลก ดังนันรัฐบาลในหลายประเทศที่กาลังเผชิญหน้ ากับกลุมก่อ
            ่          ้                                            ่
การร้ ายภายใน ประเทศซึงมีความเชื่อมโยงกับกลุมก่อการร้ ายระหว่าง
                           ่                     ่
ประเทศ เช่น เครื อข่ายกลุมอัล กออิดะห์ ดังเช่นรัฐบาลฟิ ลิปปิ นส์และ
                             ่
อินโดนีเซียกาลังเผชิญอยู่ อาจต้ องขยายความร่วมมือกับ สหรัฐอเมริ กา
และยินยอมให้ สหรัฐอเมริ กาเข้ าไปมีบทบาทในการปราบปรามกลุมก่อการ  ่
ร้ ายภายใน ประเทศของตน ซึงจะเป็ นการกระตุ้นให้ ประชาชนในประเทศ
                                 ่
นันๆ รวมตัวต่อต้ านสหรัฐอเมริ กา อย่างรุนแรงและใช้ วิธีการก่อการร้ าย
    ้
เพื่อเรี ยกรอ้ งความต้ องการของกลุมตน
                                   ่
9




                 ความขัดแย้งทางศาสนาเป็นความขัด แย้งที่เกิด ขึ้นง่า ยและ
    รุนแรง เนื่องจากผู้นับถือ ศาสนาแบบยึดมั่นถือมั่นจะเห็นว่าศาสนาหรือ
    ลัทธิที่ตนนับถือดีกว่าของผู้อื่นละไม่ยอมรับคนต่าง ศาสนาต่างลัทธิ ทั้งนี้
    เพราะคนเหล่านั้นมีพื้นฐานความเชื่อต่างกันและตีความศาสนาไปตาม
    ความ เชื่อของตน และวางรูปแบบการดารงชีวิตแตกต่างกันออกไปตามที่
    ตนเชื่อถือ ซึ่งความยึดมั่นถือ มั่นนี้เองทาให้เกิดความขัดแย้งกันขึ้นมา
    ส่วนใหญ่ความขัดแย้งทางศาสนามักจะมีความรุนแรง และพร้อมจะสละ
    ชีวิตเพื่อ ความยึด มั่นของตน ดังที่ปรากฏเป็นสงครามทางศาสนาหรื อ
    สงครามครู เสดระหว่างชาวคริสตเตียนกับชาวอิสลามในสมัยโบราณ เป็น
    ต้น ทั้งนี้ความขัดแย้งทางศาสนา เกิดขึ้นได้ทั้งในศาสนาต่างศาสนาและ
    ศาสนาเดียวกัน
10
1. ความขัดแย้งระหว่างศาสนา ตัวอย่างเช่น ความขัดแย้งทางศาสนาใน
ประเทศ อินเดีย เป็นความขัดแย้งระหว่างชาวฮินดูกับชาวมุสลิมจนแยก
เป็นประเทศปากีสถานใน ค.ศ. 1947 ซึ่งเดิมปากีสถานรวมเป็นดินแดน
เดียวกับอินเดียและอยู่ภายใต้การปกครองอังกฤษ และ ก่อนที่อินเดียจะ
ได้รับเอกราช ชาวมุสลิมในอินเดียก็ร่วมกันเรียกร้องที่จะแยกประเทศ
เนื่องจาก ความแตกต่างระหว่างชาวฮินดูกับชาวมุสลิม ไม่ว่าจะเป็นความ
แตกต่างทางการเมืองที่ผู้นับถือ ศาสนาอิสลามหรือชาวมุสลิมที่มีจานวน
น้ อ ยกว่า ผู้ที่ นั บถื อ ศาสนาฮิ น ดู ท าให้ ชาวมุ สลิ ม เป็ น ชนกลุ่ ม น้ อ ยของ
ประเทศที่ได้รับสิทธิทางการเมืองน้อย หรือความแตกต่างทางศาสนาที่
ชาวมุสลิมนับถือ พระเจ้าองค์เดียว ส่วนชาวฮินดูนับถือพระเจ้าหลายองค์
รวมทั้งความแตกต่างทางสังคมที่ชาวมุสลิมเชื่อว่าทุกคนมีความเท่าเทียม
กัน แต่สังคมชาวฮินดูมีระบบวรรณะ เป็นต้น




                                                 แผนที่ปากีสถาน-อินเดีย
11




                        ภาพเหตุการณ์ในความขัดแย้งระหว่าง
                               ปากีสถานกับอินเดีย



     จากเหตุผลดัง กล่าวปัญหาระหว่างชาวมุสลิมและชาวฮินดูก็เพิ่มมากขึ้น
     จนถึงขั้นปะทะกันอย่างรุนแรง ในที่สุด อังกฤษจึงให้เอกราชกับอินเดีย
     และปากีสถานเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1947 แต่ภายหลังจากมี การ
     จัดตั้งเป็นประเทศแล้ว ความสัมพันธ์ระหว่างอินเดียกับปากีสถานก็ไม่
     ราบรื่นนัก ไม่ว่าจะเป็น ปัญหาพรมแดน ปัญหาแคว้นแคชเมียร์ และ
     การแข่งขันการสะสมและพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์เพื่อ ข่มขู่ฝ่ายตรงกันข้าม
     นอกจากนี้ความขัดแย้งระหว่างชาวมุสลิมกับชาวฮินดูในอินเดียก็ยังคง
     ดาเนินเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
12
2. ความขัดแย้งภายในศาสนาเดียวกัน ตัวอย่างเช่น
1) ความขัดแย้งระหว่างชาวมุสลิมในประเทศปากีสถาน ที่นาไปสู่การ
แยกเป็น ประเทศปากีสถานกับบังกลาเทศเมื่อ ค.ศ. 1971 โดยมีสาเหตุ
สาคัญ 2 ประการ ประการที่หนึ่งมา จากสภาพทางภูมิศาสตร์ที่แยก
ปากี ส ถานออกเป็ น 2 ส่ ว น คื อ ปากี ส ถานตะวั น ตกและปากี ส ถาน
ตะวั น ออก โดยมี อิ น เดี ย คั่ น กลาง ส่ ว นอี ก ประการหนึ่ ง ที่ ส าคั ญ คื อ
ความไม่พอใจในความไม่เท่า เทียมกัน เนื่องจากประชากรในปากีสถาน
ตะวันออกส่วนใหญ่มากกว่าครึ่งหนึ่งของประชากร ทั้งหมดของประเทศ
ปากี ส ถาน แต่ รั ฐ บาลกลั บ ให้ ค วามสนใจในการพั ฒ นาปากี ส ถาน
ตะวั น ตกมาก กว่ า ชาวปากี ส ถานตะวั น ออกจึ งพยายามที่ จ ะแยกตั ว
ออกมา รั ฐบาลปากี สถานจึ งส่งกองทหารเข้ า ปราบปราม ทาให้ชาว
ปากี ส ถานตะวั น ออกหลบหนี ไ ปอาศั ย อยู่ ใ นอิ น เดี ย โดยที่ รั ฐ บาล
ปากี ส ถาน กล่ า วโจมตี อิ น เดี ย ว่ า ให้ ก ารสนั บ สนุ น แก่ ช าวปากี ส ถาน
ตะวันออก อย่างไรก็ตาม ในที่สุดปากีสถาน ตะวันออกก็สามารถแยก
ประเทศได้สาเร็จและจัดตั้งประเทศใหม่ในชื่อว่า บังกลาเทศ
13
     2) ความขัดแย้งระหว่างอิรักและอิหร่าน มีสาเหตุสาคัญ ได้แก่
     - ปัญหาเรื่องเขตแดน ได้แก่ การแย่งชิงสิทธิเหนือร่องน้าอัล-อาหรับซึ่ง
     เป็ น เขดแดนตอนใต้ ร ะหว่ า งอิ รั ก -อิ ห ร่ า น และมี ค วามส าคั ญ ทาง
     เศรษฐกิจ คือ เป็นที่ตั้งท่าเรือที่ใหญ่ ที่สุดและสถานีส่งน้ามันที่สาคัญ
     รวมทั้งเป็นแหล่งน้ามันของอิหร่านด้วย
     - ปัญหาชนกลุ่มน้อยชาวเคิร์ด ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยชาวเขาในอิรัก อิหร่าน
     และ ซี เ รี ย ที่ ไ ด้ พ ยายามเรี ย กร้ อ งการปกครองตนเองมาเป็ น เวลา
     ยาวนาน โดยเฉพาะในอิรักที่มีชาว เคิร์ดอาศัยอยู่จานวนมาก ที่มีความ
     แตกต่างจากอิรักทั้งเชื้อชาติและศาสนาแม้จะเป็นมุสลิม เหมือนกันแต่ก็
     นับถือกันคนละนิกาย โดยชาวอิรักนับถือนิกายชีอะห์ ส่วนชาวเคิร์ดนับถือ
     นิกาย สุหนี่ ทั้งนี้ชาวเคิร์ดมักใช้วิธีการก่อจราจลและการต่อสู้ด้วยกาลัง
     อาวุ ธ โดยได้ รั บ การสนั บ สนุ น จาก อิ ห ร่ า น ซึ่ ง ทางอิ รั ก ก็ ใ ช้ ก าลั ง เข้ า
     ปราบปรามอย่างรุนแรง




      ร่องน้าอัล-อาหรับ
14




                 มีอยาโตลลาห์ โคไมนี(ซ้าย), ซัดดัม อุสเซน(ขวา)

- ความขัดแย้งระหว่างผู้นาประเทศ ภายหลังที่อิหร่านโค่นล้มสถาบัน
กษัตริย์และ เปลี่ยนการปกครองเป็นสาธารณรัฐอิสลาม ที่ มีอยาโตล
ลาห์ โคไมนี เป็นผู้นาประเทศอิหร่าน และ นาหลักศาสนาอิสลามมาใช้
ในการปกครองประเทศ หลายประเทศในตะวั น ออกกลางเกรงว่ า
อิหร่านจะเผยแพร่แนวคิดรัฐอิสลามไปยังประเทศของตนและอาจส่งผล
ต่อความมั่นคงทางการเมือง ทาให้อิรักที่มีพรมแดนติดกับอิหร่านและมี
ความขั ด แย้ ง กั น มานานแล้ ว ยิ่ ง ทวี ค วามรุ น แรง มากขึ้ น โดยโคไมนี
พยายามเรียกร้องให้ชาวมุสลิมนิกายชีอะห์ที่มีจานวนร้อยละ 65 ของชาว
อิรัก ทาการโค่น ล้มรัฐบาลประธานารธิบดี ซัด ดัม อุสเซน ซึ่งเป็น ชาว
มุสลิมนิกายสุหนี่ ที่พยายามจะ ขยายอานาจเข้ามาในอิหร่าน จากความ
ขัดแย้งของทั้งสองประเทศส่งผลให้เกิดการปะทะกันตาม พรมแดนและ
ทวีความรุนแรงมากขึ้น กลายเป็นสงครามยืดเยื้อ เนื่องจากอิรักได้รับ
การสนับสนุน อาวุธจากสหรัฐอเมริกา ส่วนอิหร่านได้รับความช่วยเหลือ
จากรัสเซีย จนกระทั่งองค์การ สหประชาชาติและประเทศที่เป็นกลาง
พยายามเจรจาและยุติสงครามใน ค.ศ. 1988
15




     โรคเอดส์
     โรคเอดส์ (Acquired Immuno Deficiency Syndrome: AIDS) เป็น
     โรคที่เกิดจากเชื้อ ไวรัสที่วงการแพทย์เรียกกันว่า Human Immuno
     Deficiency Virus หรือไวรัสที่ทาให้ภูมิคุ้มกัน ของมนุษย์บกพร่อง ซึ่ง
     นิยมเรียกกันย่อๆ ตามอักษรตัวแรกของชื่อไวรัสนี้ในภาษาอังกฤษว่า
     เอชไอวี (HIV) เมื่อเชื้อไวรัสเอชไอวีเข้าสู่ร่างกายของมนุษย์แล้ว จะมีการ
     ฟักตัวอยู่ระยะเวลาหนึ่ง บางครั้งอาจใช้เวลานานหลายปีโดยไม่ได้แสดง
     อาการผิดปกติใดๆ ต่อมาไวรัสก็จะเพิ่มจานวนมาก ขึ้นและทาลาย
     ภูมิคุ้มกันของร่างกายให้เสื่อมลงเรื่อยๆ ในที่สุดร่างกายก็ไม่สามารถ
     ป้องกันตัวเอง จากการติดเชื้อโรคใดๆ ทาให้ติดเชื้อโรคอื่นๆ เช่น ปอด
     บวม วัณโรค มะเร็งบางชนิด ปอดอักเสบ สมองอักเสบ แทรกตามมาได้
     ง่ายและจะปรากฏอาการของโรคเอดส์ขนมา         ึ้




                                                           Human Immuno
                                                           Deficiency Virus
16
            โรคเอดส์เป็นโรคที่คนพบครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา
                               ้
เมื่อ ค.ศ. 1981 โดยศูนย์ ควบคุมโรคของสหรัฐอเมริกาพบว่าคนไข้ชาย
หนุ่มที่เป็นรักร่วมเพศจานวนหนึ่งที่เข้ารับการตรวจที่ ห้องปฏิบัติการ มี
การทางานของเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการต้านทานโรคเสียไป และเสียชีวิต
ลงเพราะ ภูมิคุ้มกันโรคบกพร่องเสีย จึงทาให้มีผู้เสนอเรียกชื่อว่าโรคว่า
AIDS ต่อมาโรคเอดส์เป็นที่รู้จักมาก ขึ้นเมื่อดาราภาพยนตร์ชื่อ ร็อค ฮัด
สัน ได้เปิดเผยว่าตนเองเป็นโรคนี้และติดโรคนีจากการมี พฤติกรรมรัก
                                              ้
ร่วมเพศ เพื่อเตือนให้สาธารณชนตระหนักถึงอันตรายของโรคซึ่งยังไม่มี
ทางรักษาให้ หายได้




                                                       ร็อค ฮัดสัน
17




                                                 สาเหตุการติดเชื้อที่สาคัญ




                สถานการณ์ของโรคเอดส์ในปัจจุบันพบว่ามีความรุนแรงและ
     ขยายวงกว้างไปทั่วทุกภูมิภาค ของโลก จากสถิติขององค์การอนามัยโลก
     ระบุว่าใน ค.ศ. 1994 ทั่วโลกมีประชากรที่ติดโรคเอดส์ ประมาณ 4 ล้าน
     คน ในขณะที่สถิติ ค.ศ. 1993 มีประชากรที่เป็นเอดส์เพียง 2.5 ล้านคน
     นับ เป็นการเพิ่มจานวนคนเป็นเอดส์ถึง 60 เปอร์เซ็นต์ในช่วงเวลาเพียง
     ปีเดียว และจากการประมาณ โดยการสันนิษฐานทางการแพทย์ของ
     สหประชาชาติ คาดว่านับตั้งแต่โรคเอดส์เกิดขึ้นจนถึง ปัจจุบัน มีผู้ติดเชื้อ
     เอดส์อยู่ประมาณ 40 ล้านคนและเสียชีวิตแล้วประมาณ 3 ล้านคน โดย
     มี สาเหตุการติดเชื้อที่สาคัญมาจากการมีเพศสัมพันธ์กบคนที่มีเชื้อไวรัส
                                                              ั
     เอชไอวี โดยเชื้อไวรัสนี้จะอยู่ ในของเหลวที่ขับออกมาจากอวัยวะเพศของ
     ทั้งชายและหญิง การมีเพศสัมพันธ์กับคนหลายคนจะ ทาให้มีอัตราการ
     เสี่ยงจากการติดเชื้อไวรัสได้สูงกว่าปกติ รองลงมา คือ การติดเชื้อจาก
     การได้รับ เลือดที่มีเชื้อไวรัสเอชไอวีเข้าไป การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน
     โดยเฉพาะในหมู่ผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด และการติดเชื้อของทารกจาก
     มารดาที่เป็นโรคเอดส์
18
             จากภัยอันตรายจากโรคเอดส์ที่มีการแผ่ระบาดอย่างรวดเร็ว
ทั่วโลกและยังไม่ทางรักษา หายขาดได้ ประชาคมโลกต่างตระหนักถึงภัย
อันตรายที่คุกคามต่อมนุษยชาติดังกล่าว จึงได้จัดให้มี การประชุม
นานาชาติเรื่องโรคเอดส์ (ACCESS FOR ALL 2004) ขึ้นในประเทศ
ไทยเมื่อเดือน กันยายน ค.ศ. 2004 ทั้งนี้มีผู้นาระดับโลก รวมทั้งดารา
นักร้องที่มีชื่อเสียงระดับโลก นักวิชาการ ผู้ทางานด้านโรคเอดส์ และ
เครือข่ายกลุ่มผู้ติดเชื้อจากประเทศต่างๆ ได้เข้าร่วมงานจานวนมาก ถือ
เป็นการประชุมเรื่องโรคเอดส์ครั้งใหญ่ที่สุด เพราะทุกประเทศต่าง
ตระหนักถึงภัยอันตรายต่อ ชีวิตมนุษยชาติ จึงต้องหาทางร่วมกันแก้ไข
ปัญหาดังกล่าว




         การประชุมนานาชาติเรื่องโรคเอดส์ (ACCESS FOR ALL 2004)
19
     ไข้หวัดนก
     ไข้หวัดนก (Avian Influenza) ในภาษาอังกฤษเรียกโรคนี้กันอีกชื่อหนึ่ง
     ว่า Bird Flu ซึ่งมี ผู้แปลเป็นภาษาไทยและใช้กันอย่างแพร่หลายว่า โรค
     ไข้หวัดนก โดยแปลคาว่านกมาจากคาว่า bird ในภาษาอังกฤษนั่นเอง
     แต่ที่จริงแล้วคาว่า bird ในภาษาอังกฤษไม่ได้หมายถึงเฉพาะนก เท่านั้น
     แต่หมายถึงสัตว์ปีกอื่นๆ ด้วย




                          Avian Influenza Type A




                                 สัตว์ปีก
20
            ไข้หวัดนกเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสชื่อ Avian Influenza
Type A เป็นสายพันธุ์ที่พบใน นกซึ่งเป็นแหล่งโรคในธรรมชาติ ที่พบ
มาก ได้แก่ นกเป็ดน้า นกอพยพ และนกตามธรรมชาติ การติดต่อในหมู่
สัตว์ติดต่อได้โดยเชื้อไวรัสถูกขับถ่ายออกมาทางอุจจาระของนกและติดต่อ
สู่สัตว์ ปีกที่ได้รับเชื้อทางระบบทางเดินหายใจและระบบทางเดินอาหาร
โดยปกติโรคนี้จะติดต่อสู่คนได้ ยาก แต่คนที่สัมผัสหรือใกล้ชิดกับสัตว์ที่
เป็นโรคอาจติดเชื้อได้ มีรายงานการเกิดโรคนี้ในคนเป็น ครั้งแรกเมื่อ
ค.ศ. 1997 ที่ฮ่องกง เป็นการติดเชื้อจากการสัมผัสสัตว์ปีก และจากการ
เฝ้าระวังโรคพบว่ายังไม่มีการติดต่อระหว่างคนสู่คน ผู้ที่มีความเสี่ยงใน
การเกิดโรค ได้แก่ ผู้ที่มีอาชีพเกี่ยวกับ สัตว์ปีกและผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับสัตว์
ปีก ได้แก่ ผู้เลี้ยง ผู้ฆ่า ผู้ขนส่ง ผู้ขนย้าย ผู้ขายสัตว์ปีกและซาก สัตว์ปีก
สัตวบาล และสัตวแพทย์ รวมถึงเด็กๆ ที่เล่นและคุกคลีกับสัตว์ด้วย




                             พื้นที่ที่ไข้หวัดนกระบาด
21
                  สถานการณ์ของการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกได้เกิดขึ้นกับ
     ประเทศในเอเชียรวมทั้ง ประเทศไทยด้วย โดยมีการแพร่ระบาดเข้าสู่
     ประเทศไทยใน พ.ศ. 2546 จนถึงกลางปี พ.ศ. 2547 มีระบาดมากใน
     ฟาร์มสัตว์ปีกในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือใน
     บางพื้นที่ ทาให้รัฐบาลต้องออกมาตรการให้ผู้เลี้ยงไก่ทุกชนิดและเจ้าของ
     ฟาร์มไก่ทาลายไก่ในเขตพื้นที่ที่มี ความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรค
     นอกจากนี้ยังพบผู้ที่ติดเชื้อไข้หวัดนกจากไก่และได้เสียชีวิต อีกหลายราย
     ทั้งนี้โรคไข้หวัดนกนอกจากจะมีผลกระทบต่อชีวิตของสัตว์ปีกและมนุษย์
     แล้ว ยังส่ง ผลต่อเศรษฐกิจของประเทศอีกด้วย เนื่องจากประชาชนไม่
     กล้ า จะบริ โ ภคไก่ ห รื อ สั ต ว์ ปี ก ชนิ ด อื่ น ๆ การส่ ง ออกไก่ ไ ปยั ง ตลาด
     ต่ า งประเทศถู ก ยกเลิ ก จากหลายประเทศ เกิ ด ภาวะชะงั ก งั น ทาง
     เศรษฐกิจในช่วงเวลาหนึ่ง




                                                                   สัตวแพทย์และกรม
                                                              ควบคุ ม โรคติ ด ต่ อ ได้ เ ข้ า
                                                              มาตรวจหาเชื้อไข้หวัดนก
                                                              ในเล้าไก่ของเกษตรกรใน
                                                              จังหวัดพิจิตรของประเทศ
                                                              ไทย
22
ไข้หวัดมรณะ
ไข้หวัดมรณะหรือซาร์ส (Severe Acute Respiratory Syndrome:
SARS)            เป็น โรคที่เกิ ด จากเชื้อ ไวรัส ที่มีชื่อ ว่า SARS-associated
coronvirus (SARS-CoV) และจากข้อมูลขององค์การ อนามัยโลกเชื่อ
ว่าเชื้อไวรัสที่น่าจะเป็นสาเหตุของไข้หวัดมรณะ คือ เชื้อ ไวรัสที่มีชื่อว่าโคโร
นาไวรัส (Corona Virus) ซึ่งเชื้อไวรัสนี้สามารถทาให้เกิดโรคได้ทั้ง
มนุษย์และสัตว์ เมื่อใดที่ต้องออกมาอยู่ ภายนอกร่างกายก็จะถูกทาลาย
ลงได้ง่าย โดยทั่วไปจะอยู่ได้ไม่เกิน 3 ชั่วโมง และหากอยู่ใน บริเวณที่มี
แสงแดด ความร้อนและรังสียูวีในแสงแดดจะทาลายเชื้อโรคภายในเวลา
ไม่เกิน 1 ชั่วโมง นอกจากนี้น้ ายาฆ่า เชื้อโรคที่ใช้ในบ้ านหรื อสานัก งาน
ทั่วไปก็สามารถฆ่าเชื้อโรคได้ด้วยเช่น กัน




                     Severe Acute Respiratory Syndrome
23




                                                         ลักษณะปอดของคนเป็นโรคซาร์ส



                  ไข้ ห วั ด มรณะหรื อ โรคซาร์ ส ได้ เ ริ่ ม คุ ก คามมนุ ษ ย์ แ ละแพร่
     ระบาดมากใน ค.ศ. 2003 โดย ประเทศที่ได้รับเชื้อไข้หวัดมรณะรุนแรง
     ได้แก่ จีน สิงคโปร์ ไต้หวัน แคนาดา ฮ่องกง และ เวียดนาม ทั้งนี้การ
     ติด ต่อ ของโรคไข้หวัด มรณะสามารถติด ต่อ ได้ โดยการสัมผัสใกล้ชิด กั บ
     ผู้ป่วย เนื่องจากจะมีเชื้อแพร่ออกมากับน้ามูก เสมหะ และน้าลายของ
     ผู้ป่วย เมื่อเวลาไอหรือจาม เมื่อ ผู้อยู่ใกล้สูดดมหรือหายใจเข้าไปจะทาให้
     เกิ ดการติดเชื้อ ได้ง่าย นอกจากนี้ ยังสามารถติดต่อ ผ่า นมา กั บสิ่งของ
     เครื่องใช้ เช่น ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดมือ ช้อน หลอดดูดน้า เป็นต้น เมื่อใคร
     ได้รับเชื้อโรค หวัดมรณะแล้วจะมีระยะการฟักตัว 2-7 วัน หลังจากนั้น
     จะมีอาการเป็นไข้ ไอแห้งๆ เจ็บหน้าอก หอบ ในรายที่ป่วยหนักจะต้องใช้
     เครื่องหายใจเข้าช่วย ส่วนการรักษานั้น ยังไม่มียารักษาโรค โดยตรง
     บางรายต้องให้ยาปฏิชีวนะหรือยาต้านไวรัสตามอาการ ไข้หวัดมรณะจึง
     ถือเป็นมหันตภัย ร้ายแรงที่คุกคามมนุษย์ในปัจจุบัน ซึ่งประเทศต่างๆ
     ทั่วโลกต่างเฝ้าระวังในการแพร่ระบาดเข้าสู่ ประเทศของตนเพื่อปกป้อง
     ชีวิตของประชาชนอย่างเต็มท
24
ไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ 2009
ไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ 2009 เกิดขึ้นตั้งแต่เดือนเมษายน ค.ศ. 2009 เป็น
การระบาดครั้ง ใหญ่ของไวรัสชนิดเอ (A) สายพันธุ์เอชวันเอ็นวัน (H1N1)
ซึ่งทาให้ผู้ป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่ เมื่อไข้ หวัดสายพันธุ์นี้เริ่มระบาดใหม่ๆ มี
การเรียกกันว่า ไข้หวัดหมู (Swine Influenza) เนื่องจากเชื้อไวรัส ที่เป็น
ต้นเหตุของการเป็นไข้หวัดนี้เกิดขึ้นกับหมูเมื่อครั้งมีการระบาดครั้งใหญ่ใน
ค.ศ. 1918 แต่ หลังจากการระบาดใหญ่ครั้งนั้นแล้วก็ไม่พบว่า ไวรัสชนิดนี้
สามารถติดต่อสู่คนมากนัก แต่การ ระบาดใน ค.ศ. 2009 ที่เริ่มเกิดที่
ประเทศเม็ ก ซิ โ กและระบาดต่ อ ไปยั ง ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า มี ก าร
แพร่กระจายอย่างรวดเร็วและมีผู้เสียชีวิตในเวลารวดเร็วเช่นกัน




                         ไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ 2009
25
                  ผู้ที่ ติด เชื้ อ ไวรั ช นิ ด นี้ จ ะมีอ าการ เหมือ นกั บ เป็ น ไข้ หวั ด ใหญ่
     อย่างรุนแรงก่อนจะเสียชีวิต จากการนาตัวอย่างเชื้อไปวิเคราะห์ พบว่าเชื้อ
     ไวรัสเอชวันเอ็นวัน ที่ติดต่อในคนครั้งนี้มีการเปลี่ยนแปลง ทางด้านสาย
     พั น ธ์ุ โดยพบว่ า บางส่ ว นของเชื้ อ ใหม่ ม าจากสาย พั น ธุ์ เ อชไฟว์ เ อ็ น วั น
     (H5N1)              ซึ่งเป็น ไข้หวัดใหญ่ ในสัตว์ปีกซึ่งก็ ติดต่อสู่มนุ ษย์ เช่นกั น
     เนื่องจากเชื้อไวรัสตัวใหม่นี้ติดต่อจากคนสู่ คนด้วย จึงทาให้เกิดการแพร่
     ระบาดไปทั่วโลก และมีผู้เสียชีวิต เป็นจานวนมาก องค์การอนามัยโลกได้
     ประกาศว่าการระบาด ของไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์นี้เป็นสถานการณ์
     ฉุกเฉินด้าน สาธารณสุขระหว่างประเทศและเกรงว่าจะกลายพันธุ์ต่อไป
     เนื่องจากการสามารถติดต่อได้กับทั้งสัตว์และมนุษย์ แต่ใน สถานการณ์
     ที่เป็นอยู่ถึงปลาย ค.ศ. 2009 นั้น ยาที่ใช้ในการรักษา คือ ยาต้ายไวรัส
     ทามิฟลู (Tamiflu) และรีเล็นซา (Relenza) นั้น สามารถรักษาผู้ป่วยให้
     หายได้หากได้รับยาภายใน 48 ชั่วโมงหลัง จากมีอาการเป็นไข้หวัดใหญ่
     เท่านั้น เนื่องจาก การเรียกไข้หวั ดที่ เกิ ดจากเชื้อ ไวรั สชนิดนี้ ทาให้ค น
     เข้าใจผิดว่ารับประทานหมูไม่ได้ เพราะจะทาให้ติดโรคนี้ประการหนึ่ง แต่
     ประการสาคัญคือมันเป็น เชื้อไวรัสเอชวันเอ็นวันที่กลายพันธุ์แล้ว จึงได้มี
     การเปลี่ยนชื่อเป็น ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009




                                                     โครงสร้างของไวรัส เอชวันเอ็น วัน ซึ่งมี
                                               ส่วนผสมของสารพันธุ - กรรมจากไวรัสตัวอื่น
                                               อีก 4 ตัวด้วย ซึ่งบางตัวเป็น ไวรัสชนิดที่ติดต่อ
                                               กับคนและบางตัวเป็นไวรัสที่ ติดต่อในสัตว์
การติด ต่อ ไข้ หวั ด สายพั น ธุ์ ใหม่ 2009 สามารถติด ต่อ จาก
                                                                        26
มนุษย์สู่มนุษย์ได้เช่นเดียวกับ ไข้หวัดใหญ่ที่เป็นกันโดยปกติทั่วไป คือ
จากการได้รับเชื้อจากผู้ที่มีเชื้อนี้ซึ่งแพร่ด้วยการไอหรือจาม เมื่อน้าลาย
หรือน้ามูกซึ่งเป็นละอองลอยไปในอากาศ ผู้ที่หายใจเอาละอองนี้เข้าไปก็มี
โอกาสติดเชื้อ เช่นเดียวกัน น้ามูกหรือน้าลายของคนที่มีเชื้อนี้ที่ไอหรือจาม
หรือเปื้อนมือแล้วไปจับไปเช็ดติดอยู่ ตามที่ต่างๆ เช่น ภาชนะ ตามลูกบิด
ประตู หรือราวบันได ก็สามารถทาให้ผู้ที่มาสัมผัสติดเชื้อนี้ได้ และหากมี
การติดเชื้อจะมีอาการไอ จาม เจ็บคอ เป็นไข้สูง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อมาก




                                      สวมใส่หน้ากาก(ซ้าย)
                                      ใช้ผ้าเช็ดหน้าปิดปากเวลาไอ(ขวา)

            จากลักษณะของการแพร่เชื้อโรคดังกล่าว การป้องกันการแพร่
เชื้อและการป้องกันตนเอง จึงต้องเกิดจากการที่ผู้ที่เป็นไข้หวัดใหญ่ต้อง
ระวังตัวเองไม่ให้เป็นผู้แพร่เชื้อด้วยการนอนพักอยู่ กับบ้าน ล้างมือให้
สะอาด ใส่หน้ากาก และใช้ผ้าเช็ดหน้าหรือกระดาษเช็ดหน้าปิดปากเวลาไอ
หรือ จาม รวมทั้งให้รับประทานอาหารที่ปรุงสุกร้อนๆ สาหรับผู้ที่ไม่เป็น
โรคนี้ก็ต้องป้องกันตนเองด้วย การใส่หน้ากากเมื่ออยู่ในที่ชุมนุมชน หรือ
บริเวณที่มีผู้ไอหรือจาม หลีกเลี่ยงการหยิบจับสิ่งของ ต่างๆ ที่เป็นของ
สาธารณะ ล้างมือให้สะอาดบ่อยๆ เนื่องจากเชื้อโรคอาจติดมาจากการไป
สัมผัส สิ่งของที่มีเชื้อโรคอยู่ รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ และรักษา
สุขภาพให้แข็งแรง
27




     ภาวะเรือนกระจก (Greenhouse Effect) หมายถึง การที่ก๊าซ
     คาร์บอนไดออกไซด์และ ก๊าซอื่นๆ สะสมพอกพูนมากขึ้นในบรรยากาศ
     ระดับต่า โดยที่ยอมให้แสงแดดหรือแสง อัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์
     ผ่านไปยังพื้นโลกได้บางส่วน ขณะเดียวกันก็ได้เก็บความร้อนส่วน หนึ่งไว้
     ท าให้ โ ลกกลายสภาพเป็ น เสมื อ นเรื อ นกระจกขนาดมหึ ม า ส่ ง ผลให้
     อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น อย่างรวดเร็ว




                              The Greenhouse Effect
28
           การเกิ ด ภาวะเรื อ นกระจกมี ห ลายสาเหตุ ทั้ ง สาเหตุ จ าก
ธรรมชาติ อันได้แก่ การเน่าเปื่อย ของซากพืชและซากสัตว์ การระเบิด
ของภูเขาไฟและไฟป่าทาให้เกิดควันจานวนมาก และสาเหตุ จากมนุษย์
ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญ เช่น การตัดไม้ทาลายป่า การเผาไหม้ของถ่านหิน
น้ามัน การใช้ ปุ๋ยไนโตรเจน การทาเกษตรกรรมและปศุสัตว์ เป็นต้น
จนทาให้เกิดก๊าซต่างๆ เช่น ก๊าซมีเทนและ คาร์บอนไดออกไซด์ เป็นต้น




                                                              ไฟป่า

          ผลกระทบจากภาวะเรือนกระจกมีทั้งผลกระทบต่อมนุษย์และ
สภาพแวดล้อมต่างๆ ในส่วน ผลกระทบต่อมนุษย์นั้น เช่น เกิดการขาด
แคลนอาหารและดื่ม หรือเกิดโรคต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นโรค มะเร็งผิวหนัง
โรคสายตา ปั ญ หาระบบภู มิ คุ้ ม กั น ของร่ า งกายลดลง เป็ น ต้ น ส่ ว น
ผลกระทบต่ อ สภาพแวดล้ อ มต่ า งๆ เช่ น ปริ ม าณน้ าในทะเลและ
มหาสมุทรสูงขึ้นจากการละลายของธารน้าแข็ง ขั้วโลก ทาให้บางพื้นที่
อาจถูกน้าท่วม ทาให้สภาพดินฟ้าอากาศของโลกเปลี่ยนแปลงไป บริเวณ
ที่ เคยมีฝนตกชุกอาจกลายเป็นบริเวณที่แ ห้งแล้ง บริเ วณที่เคยหนาว
อาจจะร้อน ซึ่งสิ่งเหล่านี้อาจ ทาให้สิ่งมีชีวิตบนโลกไม่อาจปรับตัวเข้ากับ
สภาพแวดล้อมได้ จนเกิดผลเสียหายอย่างรุนแรง เป็นต้น
29
                  แม้ว่าความร้อนจากภาวะเรือนกระจกจะมีผลกระทบและเป็น
     อันตรายต่อโลกมนุษย์และ สิ่งมีทั้งหลายในระยะยาว แต่อย่างไรก็ตาม
     ในปัจจุบันภาวะเรือนกระจกก็ได้ส่งผลกระทบต่อโลก บ้างแล้ว โดยเฉพาะ
     อย่างยิ่งในแถบขั้วโลกใต้หรือทวีปแอนตาร์กติที่มีน้าแข็งปกคลุมตลอดปี
     โดย จะทาให้ธารน้าแข็งบริเวณขั้วโลกใต้ละลายเร็วกว่ากาหนด ทั้งนี้เมื่อ
     ค.ศ. 2001 องค์การนาซาของ ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้สารวจพบว่า
     ความหนาของธารน้าแข็งไพน์ไอซ์แลนด์ (Pine Island) ทะวาอิทส์
     (Thwaites) และสมิท (Smith) ซึ่งเป็นธารน้าแข็งขนาดใหญ่ที่สุดสาม
     แห่ ง ในทวี ป แอนตาร์ ก ติ ก าเริ่ ม ลดขนาดลงเรื่ อ ยๆ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง
     โดยเฉพาะพื้นที่บริเวณที่ใกล้กับทะเลอามุนด์เซน (Amundsen) ซึ่งธาร
     น้าแข็งดังกล่าวไม่สามารถคงสภาพเดิมไว้ได้




                                        น้าท่วม
30




                      ธารน้าแข็งขั้วโลกละลาย

              แม้นั กวิทยาศาสตร์จ ะยั งไม่ สามารถหาสาเหตุที่แท้จริ งได้
แต่ ค าดว่ า น่ า จะเป็ น ผลมาจากภาวะโลกร้ อ น นอกจากธารน้ าแข็ ง ใน
บริเวณขั้วโลกใต้เริ่มละลายแล้ว ปรากฏว่าธารน้าแข็งหรือหิมะในบริเวณ
ภู เ ขาสู ง ๆ ทั้ ง ในทวี ป ยุ โ รป เอเชี ย และแถบตอนเหนื อ ของประเทศ
แคนาดาซึ่งอยู่ติดกับขั้วโลกเหนือ ก็เริ่มละลายด้วยเช่นกัน ดังนั้นหาก
ประเทศต่ า งๆ ยั ง ไม่ ร่ ว มกั น รี บ แก้ ไ ขปั ญ หาภาวะเรื อ นกระจก อาจ
ก่อให้เกิดภาวะน้าท่วม ขนาดใหญ่อย่างฉับพลัน พื้นที่ต่าบางแห่งอาจถูก
น้าท่วมจมหายใต้ท้องทะเล ทาให้พื้นที่อยู่อาศัย และที่ทากินมนุษย์ลดลง
ไปเรื่อยๆ รวมทั้งสัตว์บางชนิดที่อาศัยในบริเวณนั้นเสียชีวิตหรือ สูญพันธุ์
ได้
31
     แบบทดสอบเหตุการณ์สาคัญของโลกในคริสต์วรรษที่ 21

     1. ข้อใดเป็นจุดมุ่งหมายอย่างกว้างของการก่อการร้าย
     ก. เพื่อแสดงแสนยานุภาพทางการทาลายล้าง
     ข. เพื่อเรียกร้องความสนใจและสร้างสถานการณ์ความกลัว
     ค. เพื่อประกาศเจตนารมณ์ของกลุ่มก่อการร้ายนั้น
     ง. เพื่อความพอใจส่วนตัวของกลุ่มก่อการร้าย

     2. สหรัฐอเมริกาเชื่อว่าเหตุการณ์วันที่ 11 กันยายน 2001
     เป็นฝีมือของกลุ่มก่อการร้ายใด
     ก. กลุ่มทมิฬ
     ข. กลุ่มเคิร์ด
     ค. กลุ่มมุสลิมนิกายชีอะห์
     ง. กลุ่มอัล กออิดะฮ์

     3. ผู้ที่ติดเชื้อ HIV มีโอกาสเสียชีวิตด้วยสาเหตุใด
     ก. เม็ดเลือดแดงแตก
     ข. อาการช็อค
     ค. มะเร็ง
     ง. ท้องเสียรุนแรง
32
4. ผู้ใดในข้อต่อไปนี้ที่มีโอกาสน้อยที่สุดที่จะได้รับเชื้อไวรัส
ไข้หวัดมรณะ
ก. นายเอยืนอยู่บนรถประจาทางที่มีคนแน่นขนัด
ข. นางสาวบีสนทนากับผู้เข้าร่วมประชุมในห้องปิด
ค. นายซีทานบะหมี่เกี๊ยวร้อนๆ ที่บ้าน
ง. นางสาวดีทาการรักษาคนไข้โดยไม่ใช้ผ้าปิดปาก

5. ยาต้านไวรัสชนิดใดที่สามารถป้องกันไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่
2009 ได้
ก. Tamiflu
ข. Relenza
ค. Penicillin
ง. ก. และ ข. ถูกต้อง

6. ข้อใดไม่ใช่แก๊สที่ทาให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก
ก. แก๊สไฮโดรเจน
ข. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ค. แก็สไนโตรเจนไดออกไซด์
ง. แก๊สมีเทน
33
     7. สาเหตุที่รัฐบาลรณรงค์ให้ใช้นโยบาย ทางเดียวกันไป
     ด้วยกัน นั้นมีสาเหตุเกี่ยวกับปรากฏการณ์เรือนกระจกอย่างไร
     ก. เพราะเป็นการลดการใช้น้ามันเชื้อเพลิงที่เป็นสาเหตุของ
     ปรากฏการณ์เรือนกระจก
     ข. จะทาให้ประชาชนมีเงินมากพอที่จะมอบให้รัฐเพื่อดูแล
     เกี่ยวกับปรากฏการณ์เรือนกระจก
     ค. เพื่อสนับสนุนให้ธุรกิจการค้ารถยนต์ในประเทศลดลง
     ง. ไม่มีข้อถูก

     8. ความขัดแย้งในประเทศอินเดียจนต้องแยกประเทศเป็น
     ประเทศปากีสถานเป็นความขัดแย้งระหว่างศาสนาใด
     ก. ศาสนาซิกข์กับศาสนาพราหมณ์
     ข. ศาสนาอิสลามกับศาสนาพราหมณ์
     ค. ศาสนาพุทธกับศาสนาพราหมณ์
     ง. ศาสนาคริสต์กับศาสนาพราหมณ์

     9. ประเทศบังกลาเทศแยกตัวออกมาจากประเทศปากีสถาน
     ในปี ค.ศ. ใด
     ก. 1969
     ข. 1970
     ค. 1971
     ง. 1972
34
10. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของความขัดแย้งระหว่างประเทศอิรักกับ
ประเทศอิหร่าน
ก. ปัญหากลุ่มน้อยชาวเคิร์ด
ข. ปัญหาเรื่องเขตแดน
ค. ความขัดแย้งระหว่างผู้นาประเทศ
ง. ความขัดแย้งทางอุดมการณ์เศรษฐกิจ




            เชิญพลิกดูเฉลยหน้ า
                ต่อไปได้ เลย
35
     เฉลยแบบทดสอบเหตุการณ์สาคัญของโลกในคริสต์วรรษที่ 21
                         1. ข
                         2. ง
                         3. ค
                         4. ค
                         5. ง
                         6. ก
                         7. ก
                         8. ข
                         9. ค
                         10. ง
36
           • จัดทำโดย
นำยสงกรำนต์ ขัตติยะ             เลขที่ 6
นำยธรรมฬำวุฒิ ธรรมสิทธิ์        เลขที่ 11
นำยนพพล      ทวีสุข             เลขที่ 12
              • เสนอ




       ครูสำยพิณ      วงษำรัตน์
โรงเรียนจุฬำภรณรำชวิทยำลัย เชียงรำย
   ภำคเรียนที่ 2 ปีกำรศึกษำ 2554

             แหล่งอ้ำงอิง
         สำนักพิมพ์แม็ค จำกัด
21

More Related Content

Similar to 21

สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
Taraya Srivilas
 
Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwar
Teeranan
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความขัดแย้งทางศาสนา
ความขัดแย้งทางศาสนาความขัดแย้งทางศาสนา
ความขัดแย้งทางศาสนา
Prim Parima
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
Beau Pitchaya
 

Similar to 21 (13)

สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็นความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
 
โจเซฟ สตาลิน 6.3
โจเซฟ สตาลิน 6.3โจเซฟ สตาลิน 6.3
โจเซฟ สตาลิน 6.3
 
Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwar
 
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
งาน อ.ป
งาน อ.ป งาน อ.ป
งาน อ.ป
 
ฟ้เดล กัสโตร
ฟ้เดล กัสโตรฟ้เดล กัสโตร
ฟ้เดล กัสโตร
 
ความขัดแย้งทางศาสนา
ความขัดแย้งทางศาสนาความขัดแย้งทางศาสนา
ความขัดแย้งทางศาสนา
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
องค์การโคมินฟอร์ม
องค์การโคมินฟอร์มองค์การโคมินฟอร์ม
องค์การโคมินฟอร์ม
 
อิสราเอลและอาหรับ
อิสราเอลและอาหรับอิสราเอลและอาหรับ
อิสราเอลและอาหรับ
 

More from ห้องสมุด โรงเรียนปิยะบุตร์ (6)

4สมัยประชาธิปไตย
4สมัยประชาธิปไตย4สมัยประชาธิปไตย
4สมัยประชาธิปไตย
 
2อยุธยา
2อยุธยา2อยุธยา
2อยุธยา
 
ลักษณะการปกครองของสมัยสุโขทัย
ลักษณะการปกครองของสมัยสุโขทัยลักษณะการปกครองของสมัยสุโขทัย
ลักษณะการปกครองของสมัยสุโขทัย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
พัฒนาการ
พัฒนาการพัฒนาการ
พัฒนาการ
 
ชุด
ชุดชุด
ชุด
 

21

  • 2. 1 Mind Mapping
  • 3. 2 ผู้ ก่ อ การอาจเป็ น ชนกลุ่ ม น้ อ ยในประเทศหรื อ เป็ น สมาชิ ก องค์ ก รใต้ ดิ น ต่ า งๆ โดยจุ ด มุ่ ง หมายของการก่ อ การร้ า ยกล่ า ว อย่ า ง กว้างๆ มี 2 ประการ ประการที่หนึ่ง คือ เพื่อแสดงออกซึ่งความไม่พอใจ ในสิ่งที่ตนเผชิญ อยู่ ประการที่สอง คื อ เพื่ อเรี ย กร้ อ งความสนใจและ สร้ า งให้ เ กิ ด ความกลั ว ขึ้ น มา โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในโลกปั จ จุ บั น ที่ เทคโนโลยีทางด้านข่าวสารพัฒนาก้าวหน้าไปมาก เหตุการณ์วันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 นครรัฐนิวยอร์ก
  • 4. 3 การก่ อ การร้ า ยที่ ส ร้ า งความเสี ย หายครั้ ง ส าคั ญ ใน คริสต์ศตวรรษที่ 21 คือ เหตุการณ์วันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ที่กลุ่ม ผู้ก่อ การร้ ายได้ จี้ บังคับเครื่อ บิน โดยสารภายในประเทศสหรั ฐอเมริก า จานวน 4 ลา พุ่งชนอาคาร เวิลด์เทรดเซ็น เตอร์ รัฐนิวยอร์ก และพุ่งชน อาคาร เพนตากอน ที่ทาการกระทรวงกลาโหม รัฐวอชิงตัน ดี .ซี. ผล ปรากฏว่าอาคารเวิลด์เทรดเซ็น เตอร์ถล่มทั้งสองอาคาร ส่วนอาคารเพน ตากอนเสี ย หายอย่ า งหนั ก มี ผู้ เ สี ย ชี วิ ต ประมาณ 3,000 คน และ ทรัพย์สินถูกทาลายเสียหายมีมูลค่าไม่ต่ากว่า 100,000 ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา รวมทั้งขวัญ กาลังใจของชาวอเมริกันตกต่าลงเนื่องจาก เกิดความรู้สึกไม่มั่นคงปลอดภัยอันมาจากการถูกโจมตี ภายในประเทศ ของตนเป็นครั้งแรก อาคารเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ (ซ้าย) อาคารเพนตากอน (ขวา) วิดีโอการก่อวินาศกรรม ตึกแฝดเวิลด์ เทรด เซ็นเตอร์
  • 5. ดินแดนปาเลสไตน์ 4 จากเหตุ ก ารณ์ ก ารก่ อ การร้ า ยนี้ นั ก วิ ช าการส่ ว นใหญ่ ต่ า ง วิเคราะห์สาเหตุของเหตุการณ์ว่า น่าจะมาจากการที่สหรัฐอเมริกาเป็น ชาติมหาอานาจอันดับหนึ่งของโลกมาตลอดตั้งแต่หลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ทั้งนี้สหรัฐอเมริกาได้ดาเนินนโยบายต่างประเทศในลักษณะ แผ่ขยายอานาจไปทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในดินแดนตะวันออกกลางที่ มี ท รั พ ยากรธรรมชาติ ส าคั ญ คื อ น้ ามั น ด้ ว ยการแทรกแซงและ สนับสนุนการก่อตั้งรัฐอิสราเอลขึ้นในดินแดนปาเลสไตน์ ใน ค.ศ. 1948 จากนั้นสหรัฐอเมริกาก็ดาเนินนโยบายสนับสนุนอิสราเอลมาตลอด ไม่ว่า จะเป็นการ ทาสงครามกับกลุ่มประเทศอาหรั บ การยึดครองดินแดน ปาเลสไตน์ ขณะเดียวกันก็ให้การ สนับสนุนรัฐบาลของประเทศอาหรับที่ เป็นมิตรกับสหรัฐอเมริกา
  • 6. 5 การกระท าเช่ น นี้ ส ร้ า ง ความไม่ พอใจให้กับหมู่ชาวอาหรับซึ่ง เห็นว่าสหรัฐอเมริกามีนโยบายคุกคาม กลุ่มประเทศอาหรับและ ต้องการเข้า มามี อ านาจในประเทศต่ า งๆ ใน ภู มิ ภ า ค นี้ ก า ร แ ท ร ก แ ซ ง ข อ ง สหรั ฐ อเมริ ก าในภู มิ ภ าคนี้ น ามาซึ่ ง ความขั ด แย้ ง นั บ ครั้ ง ไม่ ถ้ ว นขอ ง ประเทศต่างๆ หลายครั้ง นอกจากนี้ ความขัดแย้งรุนแรงที่ เกิดขึ้นส่วนหนึ่ง เป็นเพราะผู้ก่อการร้ายที่เป็นมุสลิมมี เป้าหมายในการทาสงครามเพื่อศาสนา หรือ การทาจิฮัด (Jihad) ต่อต้าน สหรัฐอเมริกาและพันธมิตรโดยเฉพาะ อิ ส ลา เอล ให้ อ อ กไป จากดิ น แดน ปาเลสไตน์ รวมทั้ ง ต่ อ ต้ า นประเทศ มุสลิมที่เป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกา ความขัดแย้งที่เกิดขึนใน ้ อ ย่ า ง เ ช่ น ซ า อุ ดี อ า ร ะ เ บี ย ดินแดนปาเลสไตน์
  • 7. 6 การที่สหรัฐอเมริกาถูกโจมตีด้วยการถล่มตึกเวิลด์เทรดเซ็น เตอร์ สั ญ ลั ก ษณ์ ท างเศรษฐกิ จ และอาคารเพนตากอน ที่ ท าการ กระทรวงกลาโหม สัญลักษณ์ทางการทหารของสหรัฐอเมริกานั้น นับเป็น ปฏิกิริยาที่มีต่อบทบาทของสหรัฐอเมริกาในช่วงเวลาที่ผ่านมา รวมทั้ง เป็นการทาลายความ น่าเชื่อถือของสหรัฐอเมริกาในฐานะชาติมหาอานาจ และเป็นศูนย์กลางระบบทุนนิยมโลก Usama Bin Ladin สหรัฐอเมริกาไม่สามารถยอมให้เหตุการณ์การก่อการร้ายนี้ ผ่านไปโดยหาผู้รับผิดชอบ ไม่ได้ ทั้งนี้สหรัฐอเมริกาเชื่อว่าการก่อการร้าย ที่เกิดขึ้นเป็นฝีมือของขบวนการอัล เคดา หรือ อัล กออิดะห์ (Al Qa’ida) ที่มีนายอุซามะ บิน ลาเดน (Usama Bin Ladin) เป็นผู้นา สหรั ฐ อเมริ ก าจึ ง ได้ ประกาศสงครามกั บ กลุ่มก่ อ การร้ า ยและพร้ อ มจะ ทาลายกลุ่มองค์กรเหล่านี้ รวมทั้งรัฐบาลที่ให้แหล่งพักพิงและสนับสนุน การก่อการร้าย ดังนั้นสังคมโลกในคริสต์ศตวรรษ ที่ 21 จึงก้าวเข้า สู่ สงครามต่อต้านการก่อการร้ายระหว่างประเทศซึ่งมีสหรัฐอเมริกาเป็น ผู้นา
  • 8. 7 ทั้ง นี้ การก่ อ การร้ า ยระหว่ า งประเทศนอกจากจะเกิ ด ขึ้ น ที่ สหรัฐอเมริ กาแล้ว ยังคงเกิ ดขึ้นตามจุ ดต่างๆ ทั่ว โลก ประเทศต่า งๆ ตระหนักว่ากลุ่มก่อการร้ายเป็นองค์กรขนาดใหญ่ ปฏิบัติการเคลื่อนไหว ผ่ า น เครื อ ข่ า ยที่ ก ระจายอยู่ ทั่ ว โลก จึ ง เกิ ด การตื่ น ตั ว ในการร่ ว มมื อ ป้องกันและปราบปรามการ ก่อการร้ายระหว่างประเทศ เช่น ประเทศ มหาอานาจโดยเฉพาะสหภาพยุโรป รัสเซีย และจีน กลายเป็นพันธมิตร ของสหรัฐอเมริกาในการต่อสู้กับกลุ่มก่อการร้ายและทาสงครามโค่นล้ม รั ฐ บาล ของประเทศอั ฟ กานิ ส ถาน โดยอ้ า งถึ ง ความกดขี่ ใ นด้ า นการ ปกครองและการสนับสนุนการก่อการร้ายของรัฐบาลกลุ่มตาลีบันของ อัฟกานิสถาน แต่ส่วนใหญ่คัดค้านสหรัฐอเมริกาในการ ทาสงครามกับ อิรัก เพราะไม่ต้องการสนับสนุนการดาเนินนโยบายแบบฝ่ายเดียวกับ สหรั ฐ อเมริ ก า ขณะเดี ย วกั น กลุ่ ม ก่ อ การร้ า ยก็ ท าการก่ อ วิ น าศกรรม ต่ อ ต้ า นสหรั ฐ อเมริ ก าและประเทศพั น ธมิ ต ร อย่ า งเช่ น อั ง กฤษและ ออสเตรเลีย ด้วยการก่อวินาศกรรมทาลายชีวิตและทรัพย์สินมากขึ้น เช่น เหตุก ารณ์ก ารก่ อ การร้ า ยระเบิด สถานบั น เทิงในเกาะบาหลี ประเทศ อินโดนี เซีย ในเดื อนตุลาคม ค.ศ. 2002 ที่มีผู้เสีย ชีวิต 202 คนและ บาดเจ็บกว่า 300 คน เป็นต้น กลุมตาลีบน ่ ั
  • 9. 8 กลุมอัล กออิดะห์ ่ การก่อการร้ ายระหว่างประเทศยังคงเป็ นปั ญหาที่สาคัญอย่างยิ่งระหว่าง ประเทศและส่ง ผลให้ เกิดความขัดแย้ งระหว่างประเทศอีกต่อไป เนื่องจาก สหรัฐอเมริ กายังเป็ นอภิมหาอานาจหนึง เดียวของโลกที่จะเรี ยกร้ องและ ่ กดดันให้ ประเทศต่างๆ มีสวนรับผิดชอบต่อการทาสงครามต่อต้ าน การก่อ ่ การร้ ายทัวโลก ดังนันรัฐบาลในหลายประเทศที่กาลังเผชิญหน้ ากับกลุมก่อ ่ ้ ่ การร้ ายภายใน ประเทศซึงมีความเชื่อมโยงกับกลุมก่อการร้ ายระหว่าง ่ ่ ประเทศ เช่น เครื อข่ายกลุมอัล กออิดะห์ ดังเช่นรัฐบาลฟิ ลิปปิ นส์และ ่ อินโดนีเซียกาลังเผชิญอยู่ อาจต้ องขยายความร่วมมือกับ สหรัฐอเมริ กา และยินยอมให้ สหรัฐอเมริ กาเข้ าไปมีบทบาทในการปราบปรามกลุมก่อการ ่ ร้ ายภายใน ประเทศของตน ซึงจะเป็ นการกระตุ้นให้ ประชาชนในประเทศ ่ นันๆ รวมตัวต่อต้ านสหรัฐอเมริ กา อย่างรุนแรงและใช้ วิธีการก่อการร้ าย ้ เพื่อเรี ยกรอ้ งความต้ องการของกลุมตน ่
  • 10. 9 ความขัดแย้งทางศาสนาเป็นความขัด แย้งที่เกิด ขึ้นง่า ยและ รุนแรง เนื่องจากผู้นับถือ ศาสนาแบบยึดมั่นถือมั่นจะเห็นว่าศาสนาหรือ ลัทธิที่ตนนับถือดีกว่าของผู้อื่นละไม่ยอมรับคนต่าง ศาสนาต่างลัทธิ ทั้งนี้ เพราะคนเหล่านั้นมีพื้นฐานความเชื่อต่างกันและตีความศาสนาไปตาม ความ เชื่อของตน และวางรูปแบบการดารงชีวิตแตกต่างกันออกไปตามที่ ตนเชื่อถือ ซึ่งความยึดมั่นถือ มั่นนี้เองทาให้เกิดความขัดแย้งกันขึ้นมา ส่วนใหญ่ความขัดแย้งทางศาสนามักจะมีความรุนแรง และพร้อมจะสละ ชีวิตเพื่อ ความยึด มั่นของตน ดังที่ปรากฏเป็นสงครามทางศาสนาหรื อ สงครามครู เสดระหว่างชาวคริสตเตียนกับชาวอิสลามในสมัยโบราณ เป็น ต้น ทั้งนี้ความขัดแย้งทางศาสนา เกิดขึ้นได้ทั้งในศาสนาต่างศาสนาและ ศาสนาเดียวกัน
  • 11. 10 1. ความขัดแย้งระหว่างศาสนา ตัวอย่างเช่น ความขัดแย้งทางศาสนาใน ประเทศ อินเดีย เป็นความขัดแย้งระหว่างชาวฮินดูกับชาวมุสลิมจนแยก เป็นประเทศปากีสถานใน ค.ศ. 1947 ซึ่งเดิมปากีสถานรวมเป็นดินแดน เดียวกับอินเดียและอยู่ภายใต้การปกครองอังกฤษ และ ก่อนที่อินเดียจะ ได้รับเอกราช ชาวมุสลิมในอินเดียก็ร่วมกันเรียกร้องที่จะแยกประเทศ เนื่องจาก ความแตกต่างระหว่างชาวฮินดูกับชาวมุสลิม ไม่ว่าจะเป็นความ แตกต่างทางการเมืองที่ผู้นับถือ ศาสนาอิสลามหรือชาวมุสลิมที่มีจานวน น้ อ ยกว่า ผู้ที่ นั บถื อ ศาสนาฮิ น ดู ท าให้ ชาวมุ สลิ ม เป็ น ชนกลุ่ ม น้ อ ยของ ประเทศที่ได้รับสิทธิทางการเมืองน้อย หรือความแตกต่างทางศาสนาที่ ชาวมุสลิมนับถือ พระเจ้าองค์เดียว ส่วนชาวฮินดูนับถือพระเจ้าหลายองค์ รวมทั้งความแตกต่างทางสังคมที่ชาวมุสลิมเชื่อว่าทุกคนมีความเท่าเทียม กัน แต่สังคมชาวฮินดูมีระบบวรรณะ เป็นต้น แผนที่ปากีสถาน-อินเดีย
  • 12. 11 ภาพเหตุการณ์ในความขัดแย้งระหว่าง ปากีสถานกับอินเดีย จากเหตุผลดัง กล่าวปัญหาระหว่างชาวมุสลิมและชาวฮินดูก็เพิ่มมากขึ้น จนถึงขั้นปะทะกันอย่างรุนแรง ในที่สุด อังกฤษจึงให้เอกราชกับอินเดีย และปากีสถานเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1947 แต่ภายหลังจากมี การ จัดตั้งเป็นประเทศแล้ว ความสัมพันธ์ระหว่างอินเดียกับปากีสถานก็ไม่ ราบรื่นนัก ไม่ว่าจะเป็น ปัญหาพรมแดน ปัญหาแคว้นแคชเมียร์ และ การแข่งขันการสะสมและพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์เพื่อ ข่มขู่ฝ่ายตรงกันข้าม นอกจากนี้ความขัดแย้งระหว่างชาวมุสลิมกับชาวฮินดูในอินเดียก็ยังคง ดาเนินเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
  • 13. 12 2. ความขัดแย้งภายในศาสนาเดียวกัน ตัวอย่างเช่น 1) ความขัดแย้งระหว่างชาวมุสลิมในประเทศปากีสถาน ที่นาไปสู่การ แยกเป็น ประเทศปากีสถานกับบังกลาเทศเมื่อ ค.ศ. 1971 โดยมีสาเหตุ สาคัญ 2 ประการ ประการที่หนึ่งมา จากสภาพทางภูมิศาสตร์ที่แยก ปากี ส ถานออกเป็ น 2 ส่ ว น คื อ ปากี ส ถานตะวั น ตกและปากี ส ถาน ตะวั น ออก โดยมี อิ น เดี ย คั่ น กลาง ส่ ว นอี ก ประการหนึ่ ง ที่ ส าคั ญ คื อ ความไม่พอใจในความไม่เท่า เทียมกัน เนื่องจากประชากรในปากีสถาน ตะวันออกส่วนใหญ่มากกว่าครึ่งหนึ่งของประชากร ทั้งหมดของประเทศ ปากี ส ถาน แต่ รั ฐ บาลกลั บ ให้ ค วามสนใจในการพั ฒ นาปากี ส ถาน ตะวั น ตกมาก กว่ า ชาวปากี ส ถานตะวั น ออกจึ งพยายามที่ จ ะแยกตั ว ออกมา รั ฐบาลปากี สถานจึ งส่งกองทหารเข้ า ปราบปราม ทาให้ชาว ปากี ส ถานตะวั น ออกหลบหนี ไ ปอาศั ย อยู่ ใ นอิ น เดี ย โดยที่ รั ฐ บาล ปากี ส ถาน กล่ า วโจมตี อิ น เดี ย ว่ า ให้ ก ารสนั บ สนุ น แก่ ช าวปากี ส ถาน ตะวันออก อย่างไรก็ตาม ในที่สุดปากีสถาน ตะวันออกก็สามารถแยก ประเทศได้สาเร็จและจัดตั้งประเทศใหม่ในชื่อว่า บังกลาเทศ
  • 14. 13 2) ความขัดแย้งระหว่างอิรักและอิหร่าน มีสาเหตุสาคัญ ได้แก่ - ปัญหาเรื่องเขตแดน ได้แก่ การแย่งชิงสิทธิเหนือร่องน้าอัล-อาหรับซึ่ง เป็ น เขดแดนตอนใต้ ร ะหว่ า งอิ รั ก -อิ ห ร่ า น และมี ค วามส าคั ญ ทาง เศรษฐกิจ คือ เป็นที่ตั้งท่าเรือที่ใหญ่ ที่สุดและสถานีส่งน้ามันที่สาคัญ รวมทั้งเป็นแหล่งน้ามันของอิหร่านด้วย - ปัญหาชนกลุ่มน้อยชาวเคิร์ด ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยชาวเขาในอิรัก อิหร่าน และ ซี เ รี ย ที่ ไ ด้ พ ยายามเรี ย กร้ อ งการปกครองตนเองมาเป็ น เวลา ยาวนาน โดยเฉพาะในอิรักที่มีชาว เคิร์ดอาศัยอยู่จานวนมาก ที่มีความ แตกต่างจากอิรักทั้งเชื้อชาติและศาสนาแม้จะเป็นมุสลิม เหมือนกันแต่ก็ นับถือกันคนละนิกาย โดยชาวอิรักนับถือนิกายชีอะห์ ส่วนชาวเคิร์ดนับถือ นิกาย สุหนี่ ทั้งนี้ชาวเคิร์ดมักใช้วิธีการก่อจราจลและการต่อสู้ด้วยกาลัง อาวุ ธ โดยได้ รั บ การสนั บ สนุ น จาก อิ ห ร่ า น ซึ่ ง ทางอิ รั ก ก็ ใ ช้ ก าลั ง เข้ า ปราบปรามอย่างรุนแรง ร่องน้าอัล-อาหรับ
  • 15. 14 มีอยาโตลลาห์ โคไมนี(ซ้าย), ซัดดัม อุสเซน(ขวา) - ความขัดแย้งระหว่างผู้นาประเทศ ภายหลังที่อิหร่านโค่นล้มสถาบัน กษัตริย์และ เปลี่ยนการปกครองเป็นสาธารณรัฐอิสลาม ที่ มีอยาโตล ลาห์ โคไมนี เป็นผู้นาประเทศอิหร่าน และ นาหลักศาสนาอิสลามมาใช้ ในการปกครองประเทศ หลายประเทศในตะวั น ออกกลางเกรงว่ า อิหร่านจะเผยแพร่แนวคิดรัฐอิสลามไปยังประเทศของตนและอาจส่งผล ต่อความมั่นคงทางการเมือง ทาให้อิรักที่มีพรมแดนติดกับอิหร่านและมี ความขั ด แย้ ง กั น มานานแล้ ว ยิ่ ง ทวี ค วามรุ น แรง มากขึ้ น โดยโคไมนี พยายามเรียกร้องให้ชาวมุสลิมนิกายชีอะห์ที่มีจานวนร้อยละ 65 ของชาว อิรัก ทาการโค่น ล้มรัฐบาลประธานารธิบดี ซัด ดัม อุสเซน ซึ่งเป็น ชาว มุสลิมนิกายสุหนี่ ที่พยายามจะ ขยายอานาจเข้ามาในอิหร่าน จากความ ขัดแย้งของทั้งสองประเทศส่งผลให้เกิดการปะทะกันตาม พรมแดนและ ทวีความรุนแรงมากขึ้น กลายเป็นสงครามยืดเยื้อ เนื่องจากอิรักได้รับ การสนับสนุน อาวุธจากสหรัฐอเมริกา ส่วนอิหร่านได้รับความช่วยเหลือ จากรัสเซีย จนกระทั่งองค์การ สหประชาชาติและประเทศที่เป็นกลาง พยายามเจรจาและยุติสงครามใน ค.ศ. 1988
  • 16. 15 โรคเอดส์ โรคเอดส์ (Acquired Immuno Deficiency Syndrome: AIDS) เป็น โรคที่เกิดจากเชื้อ ไวรัสที่วงการแพทย์เรียกกันว่า Human Immuno Deficiency Virus หรือไวรัสที่ทาให้ภูมิคุ้มกัน ของมนุษย์บกพร่อง ซึ่ง นิยมเรียกกันย่อๆ ตามอักษรตัวแรกของชื่อไวรัสนี้ในภาษาอังกฤษว่า เอชไอวี (HIV) เมื่อเชื้อไวรัสเอชไอวีเข้าสู่ร่างกายของมนุษย์แล้ว จะมีการ ฟักตัวอยู่ระยะเวลาหนึ่ง บางครั้งอาจใช้เวลานานหลายปีโดยไม่ได้แสดง อาการผิดปกติใดๆ ต่อมาไวรัสก็จะเพิ่มจานวนมาก ขึ้นและทาลาย ภูมิคุ้มกันของร่างกายให้เสื่อมลงเรื่อยๆ ในที่สุดร่างกายก็ไม่สามารถ ป้องกันตัวเอง จากการติดเชื้อโรคใดๆ ทาให้ติดเชื้อโรคอื่นๆ เช่น ปอด บวม วัณโรค มะเร็งบางชนิด ปอดอักเสบ สมองอักเสบ แทรกตามมาได้ ง่ายและจะปรากฏอาการของโรคเอดส์ขนมา ึ้ Human Immuno Deficiency Virus
  • 17. 16 โรคเอดส์เป็นโรคที่คนพบครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา ้ เมื่อ ค.ศ. 1981 โดยศูนย์ ควบคุมโรคของสหรัฐอเมริกาพบว่าคนไข้ชาย หนุ่มที่เป็นรักร่วมเพศจานวนหนึ่งที่เข้ารับการตรวจที่ ห้องปฏิบัติการ มี การทางานของเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการต้านทานโรคเสียไป และเสียชีวิต ลงเพราะ ภูมิคุ้มกันโรคบกพร่องเสีย จึงทาให้มีผู้เสนอเรียกชื่อว่าโรคว่า AIDS ต่อมาโรคเอดส์เป็นที่รู้จักมาก ขึ้นเมื่อดาราภาพยนตร์ชื่อ ร็อค ฮัด สัน ได้เปิดเผยว่าตนเองเป็นโรคนี้และติดโรคนีจากการมี พฤติกรรมรัก ้ ร่วมเพศ เพื่อเตือนให้สาธารณชนตระหนักถึงอันตรายของโรคซึ่งยังไม่มี ทางรักษาให้ หายได้ ร็อค ฮัดสัน
  • 18. 17 สาเหตุการติดเชื้อที่สาคัญ สถานการณ์ของโรคเอดส์ในปัจจุบันพบว่ามีความรุนแรงและ ขยายวงกว้างไปทั่วทุกภูมิภาค ของโลก จากสถิติขององค์การอนามัยโลก ระบุว่าใน ค.ศ. 1994 ทั่วโลกมีประชากรที่ติดโรคเอดส์ ประมาณ 4 ล้าน คน ในขณะที่สถิติ ค.ศ. 1993 มีประชากรที่เป็นเอดส์เพียง 2.5 ล้านคน นับ เป็นการเพิ่มจานวนคนเป็นเอดส์ถึง 60 เปอร์เซ็นต์ในช่วงเวลาเพียง ปีเดียว และจากการประมาณ โดยการสันนิษฐานทางการแพทย์ของ สหประชาชาติ คาดว่านับตั้งแต่โรคเอดส์เกิดขึ้นจนถึง ปัจจุบัน มีผู้ติดเชื้อ เอดส์อยู่ประมาณ 40 ล้านคนและเสียชีวิตแล้วประมาณ 3 ล้านคน โดย มี สาเหตุการติดเชื้อที่สาคัญมาจากการมีเพศสัมพันธ์กบคนที่มีเชื้อไวรัส ั เอชไอวี โดยเชื้อไวรัสนี้จะอยู่ ในของเหลวที่ขับออกมาจากอวัยวะเพศของ ทั้งชายและหญิง การมีเพศสัมพันธ์กับคนหลายคนจะ ทาให้มีอัตราการ เสี่ยงจากการติดเชื้อไวรัสได้สูงกว่าปกติ รองลงมา คือ การติดเชื้อจาก การได้รับ เลือดที่มีเชื้อไวรัสเอชไอวีเข้าไป การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน โดยเฉพาะในหมู่ผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด และการติดเชื้อของทารกจาก มารดาที่เป็นโรคเอดส์
  • 19. 18 จากภัยอันตรายจากโรคเอดส์ที่มีการแผ่ระบาดอย่างรวดเร็ว ทั่วโลกและยังไม่ทางรักษา หายขาดได้ ประชาคมโลกต่างตระหนักถึงภัย อันตรายที่คุกคามต่อมนุษยชาติดังกล่าว จึงได้จัดให้มี การประชุม นานาชาติเรื่องโรคเอดส์ (ACCESS FOR ALL 2004) ขึ้นในประเทศ ไทยเมื่อเดือน กันยายน ค.ศ. 2004 ทั้งนี้มีผู้นาระดับโลก รวมทั้งดารา นักร้องที่มีชื่อเสียงระดับโลก นักวิชาการ ผู้ทางานด้านโรคเอดส์ และ เครือข่ายกลุ่มผู้ติดเชื้อจากประเทศต่างๆ ได้เข้าร่วมงานจานวนมาก ถือ เป็นการประชุมเรื่องโรคเอดส์ครั้งใหญ่ที่สุด เพราะทุกประเทศต่าง ตระหนักถึงภัยอันตรายต่อ ชีวิตมนุษยชาติ จึงต้องหาทางร่วมกันแก้ไข ปัญหาดังกล่าว การประชุมนานาชาติเรื่องโรคเอดส์ (ACCESS FOR ALL 2004)
  • 20. 19 ไข้หวัดนก ไข้หวัดนก (Avian Influenza) ในภาษาอังกฤษเรียกโรคนี้กันอีกชื่อหนึ่ง ว่า Bird Flu ซึ่งมี ผู้แปลเป็นภาษาไทยและใช้กันอย่างแพร่หลายว่า โรค ไข้หวัดนก โดยแปลคาว่านกมาจากคาว่า bird ในภาษาอังกฤษนั่นเอง แต่ที่จริงแล้วคาว่า bird ในภาษาอังกฤษไม่ได้หมายถึงเฉพาะนก เท่านั้น แต่หมายถึงสัตว์ปีกอื่นๆ ด้วย Avian Influenza Type A สัตว์ปีก
  • 21. 20 ไข้หวัดนกเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสชื่อ Avian Influenza Type A เป็นสายพันธุ์ที่พบใน นกซึ่งเป็นแหล่งโรคในธรรมชาติ ที่พบ มาก ได้แก่ นกเป็ดน้า นกอพยพ และนกตามธรรมชาติ การติดต่อในหมู่ สัตว์ติดต่อได้โดยเชื้อไวรัสถูกขับถ่ายออกมาทางอุจจาระของนกและติดต่อ สู่สัตว์ ปีกที่ได้รับเชื้อทางระบบทางเดินหายใจและระบบทางเดินอาหาร โดยปกติโรคนี้จะติดต่อสู่คนได้ ยาก แต่คนที่สัมผัสหรือใกล้ชิดกับสัตว์ที่ เป็นโรคอาจติดเชื้อได้ มีรายงานการเกิดโรคนี้ในคนเป็น ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1997 ที่ฮ่องกง เป็นการติดเชื้อจากการสัมผัสสัตว์ปีก และจากการ เฝ้าระวังโรคพบว่ายังไม่มีการติดต่อระหว่างคนสู่คน ผู้ที่มีความเสี่ยงใน การเกิดโรค ได้แก่ ผู้ที่มีอาชีพเกี่ยวกับ สัตว์ปีกและผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับสัตว์ ปีก ได้แก่ ผู้เลี้ยง ผู้ฆ่า ผู้ขนส่ง ผู้ขนย้าย ผู้ขายสัตว์ปีกและซาก สัตว์ปีก สัตวบาล และสัตวแพทย์ รวมถึงเด็กๆ ที่เล่นและคุกคลีกับสัตว์ด้วย พื้นที่ที่ไข้หวัดนกระบาด
  • 22. 21 สถานการณ์ของการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกได้เกิดขึ้นกับ ประเทศในเอเชียรวมทั้ง ประเทศไทยด้วย โดยมีการแพร่ระบาดเข้าสู่ ประเทศไทยใน พ.ศ. 2546 จนถึงกลางปี พ.ศ. 2547 มีระบาดมากใน ฟาร์มสัตว์ปีกในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือใน บางพื้นที่ ทาให้รัฐบาลต้องออกมาตรการให้ผู้เลี้ยงไก่ทุกชนิดและเจ้าของ ฟาร์มไก่ทาลายไก่ในเขตพื้นที่ที่มี ความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรค นอกจากนี้ยังพบผู้ที่ติดเชื้อไข้หวัดนกจากไก่และได้เสียชีวิต อีกหลายราย ทั้งนี้โรคไข้หวัดนกนอกจากจะมีผลกระทบต่อชีวิตของสัตว์ปีกและมนุษย์ แล้ว ยังส่ง ผลต่อเศรษฐกิจของประเทศอีกด้วย เนื่องจากประชาชนไม่ กล้ า จะบริ โ ภคไก่ ห รื อ สั ต ว์ ปี ก ชนิ ด อื่ น ๆ การส่ ง ออกไก่ ไ ปยั ง ตลาด ต่ า งประเทศถู ก ยกเลิ ก จากหลายประเทศ เกิ ด ภาวะชะงั ก งั น ทาง เศรษฐกิจในช่วงเวลาหนึ่ง สัตวแพทย์และกรม ควบคุ ม โรคติ ด ต่ อ ได้ เ ข้ า มาตรวจหาเชื้อไข้หวัดนก ในเล้าไก่ของเกษตรกรใน จังหวัดพิจิตรของประเทศ ไทย
  • 23. 22 ไข้หวัดมรณะ ไข้หวัดมรณะหรือซาร์ส (Severe Acute Respiratory Syndrome: SARS) เป็น โรคที่เกิ ด จากเชื้อ ไวรัส ที่มีชื่อ ว่า SARS-associated coronvirus (SARS-CoV) และจากข้อมูลขององค์การ อนามัยโลกเชื่อ ว่าเชื้อไวรัสที่น่าจะเป็นสาเหตุของไข้หวัดมรณะ คือ เชื้อ ไวรัสที่มีชื่อว่าโคโร นาไวรัส (Corona Virus) ซึ่งเชื้อไวรัสนี้สามารถทาให้เกิดโรคได้ทั้ง มนุษย์และสัตว์ เมื่อใดที่ต้องออกมาอยู่ ภายนอกร่างกายก็จะถูกทาลาย ลงได้ง่าย โดยทั่วไปจะอยู่ได้ไม่เกิน 3 ชั่วโมง และหากอยู่ใน บริเวณที่มี แสงแดด ความร้อนและรังสียูวีในแสงแดดจะทาลายเชื้อโรคภายในเวลา ไม่เกิน 1 ชั่วโมง นอกจากนี้น้ ายาฆ่า เชื้อโรคที่ใช้ในบ้ านหรื อสานัก งาน ทั่วไปก็สามารถฆ่าเชื้อโรคได้ด้วยเช่น กัน Severe Acute Respiratory Syndrome
  • 24. 23 ลักษณะปอดของคนเป็นโรคซาร์ส ไข้ ห วั ด มรณะหรื อ โรคซาร์ ส ได้ เ ริ่ ม คุ ก คามมนุ ษ ย์ แ ละแพร่ ระบาดมากใน ค.ศ. 2003 โดย ประเทศที่ได้รับเชื้อไข้หวัดมรณะรุนแรง ได้แก่ จีน สิงคโปร์ ไต้หวัน แคนาดา ฮ่องกง และ เวียดนาม ทั้งนี้การ ติด ต่อ ของโรคไข้หวัด มรณะสามารถติด ต่อ ได้ โดยการสัมผัสใกล้ชิด กั บ ผู้ป่วย เนื่องจากจะมีเชื้อแพร่ออกมากับน้ามูก เสมหะ และน้าลายของ ผู้ป่วย เมื่อเวลาไอหรือจาม เมื่อ ผู้อยู่ใกล้สูดดมหรือหายใจเข้าไปจะทาให้ เกิ ดการติดเชื้อ ได้ง่าย นอกจากนี้ ยังสามารถติดต่อ ผ่า นมา กั บสิ่งของ เครื่องใช้ เช่น ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดมือ ช้อน หลอดดูดน้า เป็นต้น เมื่อใคร ได้รับเชื้อโรค หวัดมรณะแล้วจะมีระยะการฟักตัว 2-7 วัน หลังจากนั้น จะมีอาการเป็นไข้ ไอแห้งๆ เจ็บหน้าอก หอบ ในรายที่ป่วยหนักจะต้องใช้ เครื่องหายใจเข้าช่วย ส่วนการรักษานั้น ยังไม่มียารักษาโรค โดยตรง บางรายต้องให้ยาปฏิชีวนะหรือยาต้านไวรัสตามอาการ ไข้หวัดมรณะจึง ถือเป็นมหันตภัย ร้ายแรงที่คุกคามมนุษย์ในปัจจุบัน ซึ่งประเทศต่างๆ ทั่วโลกต่างเฝ้าระวังในการแพร่ระบาดเข้าสู่ ประเทศของตนเพื่อปกป้อง ชีวิตของประชาชนอย่างเต็มท
  • 25. 24 ไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ 2009 ไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ 2009 เกิดขึ้นตั้งแต่เดือนเมษายน ค.ศ. 2009 เป็น การระบาดครั้ง ใหญ่ของไวรัสชนิดเอ (A) สายพันธุ์เอชวันเอ็นวัน (H1N1) ซึ่งทาให้ผู้ป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่ เมื่อไข้ หวัดสายพันธุ์นี้เริ่มระบาดใหม่ๆ มี การเรียกกันว่า ไข้หวัดหมู (Swine Influenza) เนื่องจากเชื้อไวรัส ที่เป็น ต้นเหตุของการเป็นไข้หวัดนี้เกิดขึ้นกับหมูเมื่อครั้งมีการระบาดครั้งใหญ่ใน ค.ศ. 1918 แต่ หลังจากการระบาดใหญ่ครั้งนั้นแล้วก็ไม่พบว่า ไวรัสชนิดนี้ สามารถติดต่อสู่คนมากนัก แต่การ ระบาดใน ค.ศ. 2009 ที่เริ่มเกิดที่ ประเทศเม็ ก ซิ โ กและระบาดต่ อ ไปยั ง ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า มี ก าร แพร่กระจายอย่างรวดเร็วและมีผู้เสียชีวิตในเวลารวดเร็วเช่นกัน ไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ 2009
  • 26. 25 ผู้ที่ ติด เชื้ อ ไวรั ช นิ ด นี้ จ ะมีอ าการ เหมือ นกั บ เป็ น ไข้ หวั ด ใหญ่ อย่างรุนแรงก่อนจะเสียชีวิต จากการนาตัวอย่างเชื้อไปวิเคราะห์ พบว่าเชื้อ ไวรัสเอชวันเอ็นวัน ที่ติดต่อในคนครั้งนี้มีการเปลี่ยนแปลง ทางด้านสาย พั น ธ์ุ โดยพบว่ า บางส่ ว นของเชื้ อ ใหม่ ม าจากสาย พั น ธุ์ เ อชไฟว์ เ อ็ น วั น (H5N1) ซึ่งเป็น ไข้หวัดใหญ่ ในสัตว์ปีกซึ่งก็ ติดต่อสู่มนุ ษย์ เช่นกั น เนื่องจากเชื้อไวรัสตัวใหม่นี้ติดต่อจากคนสู่ คนด้วย จึงทาให้เกิดการแพร่ ระบาดไปทั่วโลก และมีผู้เสียชีวิต เป็นจานวนมาก องค์การอนามัยโลกได้ ประกาศว่าการระบาด ของไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์นี้เป็นสถานการณ์ ฉุกเฉินด้าน สาธารณสุขระหว่างประเทศและเกรงว่าจะกลายพันธุ์ต่อไป เนื่องจากการสามารถติดต่อได้กับทั้งสัตว์และมนุษย์ แต่ใน สถานการณ์ ที่เป็นอยู่ถึงปลาย ค.ศ. 2009 นั้น ยาที่ใช้ในการรักษา คือ ยาต้ายไวรัส ทามิฟลู (Tamiflu) และรีเล็นซา (Relenza) นั้น สามารถรักษาผู้ป่วยให้ หายได้หากได้รับยาภายใน 48 ชั่วโมงหลัง จากมีอาการเป็นไข้หวัดใหญ่ เท่านั้น เนื่องจาก การเรียกไข้หวั ดที่ เกิ ดจากเชื้อ ไวรั สชนิดนี้ ทาให้ค น เข้าใจผิดว่ารับประทานหมูไม่ได้ เพราะจะทาให้ติดโรคนี้ประการหนึ่ง แต่ ประการสาคัญคือมันเป็น เชื้อไวรัสเอชวันเอ็นวันที่กลายพันธุ์แล้ว จึงได้มี การเปลี่ยนชื่อเป็น ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 โครงสร้างของไวรัส เอชวันเอ็น วัน ซึ่งมี ส่วนผสมของสารพันธุ - กรรมจากไวรัสตัวอื่น อีก 4 ตัวด้วย ซึ่งบางตัวเป็น ไวรัสชนิดที่ติดต่อ กับคนและบางตัวเป็นไวรัสที่ ติดต่อในสัตว์
  • 27. การติด ต่อ ไข้ หวั ด สายพั น ธุ์ ใหม่ 2009 สามารถติด ต่อ จาก 26 มนุษย์สู่มนุษย์ได้เช่นเดียวกับ ไข้หวัดใหญ่ที่เป็นกันโดยปกติทั่วไป คือ จากการได้รับเชื้อจากผู้ที่มีเชื้อนี้ซึ่งแพร่ด้วยการไอหรือจาม เมื่อน้าลาย หรือน้ามูกซึ่งเป็นละอองลอยไปในอากาศ ผู้ที่หายใจเอาละอองนี้เข้าไปก็มี โอกาสติดเชื้อ เช่นเดียวกัน น้ามูกหรือน้าลายของคนที่มีเชื้อนี้ที่ไอหรือจาม หรือเปื้อนมือแล้วไปจับไปเช็ดติดอยู่ ตามที่ต่างๆ เช่น ภาชนะ ตามลูกบิด ประตู หรือราวบันได ก็สามารถทาให้ผู้ที่มาสัมผัสติดเชื้อนี้ได้ และหากมี การติดเชื้อจะมีอาการไอ จาม เจ็บคอ เป็นไข้สูง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อมาก สวมใส่หน้ากาก(ซ้าย) ใช้ผ้าเช็ดหน้าปิดปากเวลาไอ(ขวา) จากลักษณะของการแพร่เชื้อโรคดังกล่าว การป้องกันการแพร่ เชื้อและการป้องกันตนเอง จึงต้องเกิดจากการที่ผู้ที่เป็นไข้หวัดใหญ่ต้อง ระวังตัวเองไม่ให้เป็นผู้แพร่เชื้อด้วยการนอนพักอยู่ กับบ้าน ล้างมือให้ สะอาด ใส่หน้ากาก และใช้ผ้าเช็ดหน้าหรือกระดาษเช็ดหน้าปิดปากเวลาไอ หรือ จาม รวมทั้งให้รับประทานอาหารที่ปรุงสุกร้อนๆ สาหรับผู้ที่ไม่เป็น โรคนี้ก็ต้องป้องกันตนเองด้วย การใส่หน้ากากเมื่ออยู่ในที่ชุมนุมชน หรือ บริเวณที่มีผู้ไอหรือจาม หลีกเลี่ยงการหยิบจับสิ่งของ ต่างๆ ที่เป็นของ สาธารณะ ล้างมือให้สะอาดบ่อยๆ เนื่องจากเชื้อโรคอาจติดมาจากการไป สัมผัส สิ่งของที่มีเชื้อโรคอยู่ รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ และรักษา สุขภาพให้แข็งแรง
  • 28. 27 ภาวะเรือนกระจก (Greenhouse Effect) หมายถึง การที่ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์และ ก๊าซอื่นๆ สะสมพอกพูนมากขึ้นในบรรยากาศ ระดับต่า โดยที่ยอมให้แสงแดดหรือแสง อัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ ผ่านไปยังพื้นโลกได้บางส่วน ขณะเดียวกันก็ได้เก็บความร้อนส่วน หนึ่งไว้ ท าให้ โ ลกกลายสภาพเป็ น เสมื อ นเรื อ นกระจกขนาดมหึ ม า ส่ ง ผลให้ อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น อย่างรวดเร็ว The Greenhouse Effect
  • 29. 28 การเกิ ด ภาวะเรื อ นกระจกมี ห ลายสาเหตุ ทั้ ง สาเหตุ จ าก ธรรมชาติ อันได้แก่ การเน่าเปื่อย ของซากพืชและซากสัตว์ การระเบิด ของภูเขาไฟและไฟป่าทาให้เกิดควันจานวนมาก และสาเหตุ จากมนุษย์ ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญ เช่น การตัดไม้ทาลายป่า การเผาไหม้ของถ่านหิน น้ามัน การใช้ ปุ๋ยไนโตรเจน การทาเกษตรกรรมและปศุสัตว์ เป็นต้น จนทาให้เกิดก๊าซต่างๆ เช่น ก๊าซมีเทนและ คาร์บอนไดออกไซด์ เป็นต้น ไฟป่า ผลกระทบจากภาวะเรือนกระจกมีทั้งผลกระทบต่อมนุษย์และ สภาพแวดล้อมต่างๆ ในส่วน ผลกระทบต่อมนุษย์นั้น เช่น เกิดการขาด แคลนอาหารและดื่ม หรือเกิดโรคต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นโรค มะเร็งผิวหนัง โรคสายตา ปั ญ หาระบบภู มิ คุ้ ม กั น ของร่ า งกายลดลง เป็ น ต้ น ส่ ว น ผลกระทบต่ อ สภาพแวดล้ อ มต่ า งๆ เช่ น ปริ ม าณน้ าในทะเลและ มหาสมุทรสูงขึ้นจากการละลายของธารน้าแข็ง ขั้วโลก ทาให้บางพื้นที่ อาจถูกน้าท่วม ทาให้สภาพดินฟ้าอากาศของโลกเปลี่ยนแปลงไป บริเวณ ที่ เคยมีฝนตกชุกอาจกลายเป็นบริเวณที่แ ห้งแล้ง บริเ วณที่เคยหนาว อาจจะร้อน ซึ่งสิ่งเหล่านี้อาจ ทาให้สิ่งมีชีวิตบนโลกไม่อาจปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดล้อมได้ จนเกิดผลเสียหายอย่างรุนแรง เป็นต้น
  • 30. 29 แม้ว่าความร้อนจากภาวะเรือนกระจกจะมีผลกระทบและเป็น อันตรายต่อโลกมนุษย์และ สิ่งมีทั้งหลายในระยะยาว แต่อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันภาวะเรือนกระจกก็ได้ส่งผลกระทบต่อโลก บ้างแล้ว โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในแถบขั้วโลกใต้หรือทวีปแอนตาร์กติที่มีน้าแข็งปกคลุมตลอดปี โดย จะทาให้ธารน้าแข็งบริเวณขั้วโลกใต้ละลายเร็วกว่ากาหนด ทั้งนี้เมื่อ ค.ศ. 2001 องค์การนาซาของ ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้สารวจพบว่า ความหนาของธารน้าแข็งไพน์ไอซ์แลนด์ (Pine Island) ทะวาอิทส์ (Thwaites) และสมิท (Smith) ซึ่งเป็นธารน้าแข็งขนาดใหญ่ที่สุดสาม แห่ ง ในทวี ป แอนตาร์ ก ติ ก าเริ่ ม ลดขนาดลงเรื่ อ ยๆ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะพื้นที่บริเวณที่ใกล้กับทะเลอามุนด์เซน (Amundsen) ซึ่งธาร น้าแข็งดังกล่าวไม่สามารถคงสภาพเดิมไว้ได้ น้าท่วม
  • 31. 30 ธารน้าแข็งขั้วโลกละลาย แม้นั กวิทยาศาสตร์จ ะยั งไม่ สามารถหาสาเหตุที่แท้จริ งได้ แต่ ค าดว่ า น่ า จะเป็ น ผลมาจากภาวะโลกร้ อ น นอกจากธารน้ าแข็ ง ใน บริเวณขั้วโลกใต้เริ่มละลายแล้ว ปรากฏว่าธารน้าแข็งหรือหิมะในบริเวณ ภู เ ขาสู ง ๆ ทั้ ง ในทวี ป ยุ โ รป เอเชี ย และแถบตอนเหนื อ ของประเทศ แคนาดาซึ่งอยู่ติดกับขั้วโลกเหนือ ก็เริ่มละลายด้วยเช่นกัน ดังนั้นหาก ประเทศต่ า งๆ ยั ง ไม่ ร่ ว มกั น รี บ แก้ ไ ขปั ญ หาภาวะเรื อ นกระจก อาจ ก่อให้เกิดภาวะน้าท่วม ขนาดใหญ่อย่างฉับพลัน พื้นที่ต่าบางแห่งอาจถูก น้าท่วมจมหายใต้ท้องทะเล ทาให้พื้นที่อยู่อาศัย และที่ทากินมนุษย์ลดลง ไปเรื่อยๆ รวมทั้งสัตว์บางชนิดที่อาศัยในบริเวณนั้นเสียชีวิตหรือ สูญพันธุ์ ได้
  • 32. 31 แบบทดสอบเหตุการณ์สาคัญของโลกในคริสต์วรรษที่ 21 1. ข้อใดเป็นจุดมุ่งหมายอย่างกว้างของการก่อการร้าย ก. เพื่อแสดงแสนยานุภาพทางการทาลายล้าง ข. เพื่อเรียกร้องความสนใจและสร้างสถานการณ์ความกลัว ค. เพื่อประกาศเจตนารมณ์ของกลุ่มก่อการร้ายนั้น ง. เพื่อความพอใจส่วนตัวของกลุ่มก่อการร้าย 2. สหรัฐอเมริกาเชื่อว่าเหตุการณ์วันที่ 11 กันยายน 2001 เป็นฝีมือของกลุ่มก่อการร้ายใด ก. กลุ่มทมิฬ ข. กลุ่มเคิร์ด ค. กลุ่มมุสลิมนิกายชีอะห์ ง. กลุ่มอัล กออิดะฮ์ 3. ผู้ที่ติดเชื้อ HIV มีโอกาสเสียชีวิตด้วยสาเหตุใด ก. เม็ดเลือดแดงแตก ข. อาการช็อค ค. มะเร็ง ง. ท้องเสียรุนแรง
  • 33. 32 4. ผู้ใดในข้อต่อไปนี้ที่มีโอกาสน้อยที่สุดที่จะได้รับเชื้อไวรัส ไข้หวัดมรณะ ก. นายเอยืนอยู่บนรถประจาทางที่มีคนแน่นขนัด ข. นางสาวบีสนทนากับผู้เข้าร่วมประชุมในห้องปิด ค. นายซีทานบะหมี่เกี๊ยวร้อนๆ ที่บ้าน ง. นางสาวดีทาการรักษาคนไข้โดยไม่ใช้ผ้าปิดปาก 5. ยาต้านไวรัสชนิดใดที่สามารถป้องกันไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ 2009 ได้ ก. Tamiflu ข. Relenza ค. Penicillin ง. ก. และ ข. ถูกต้อง 6. ข้อใดไม่ใช่แก๊สที่ทาให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก ก. แก๊สไฮโดรเจน ข. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ค. แก็สไนโตรเจนไดออกไซด์ ง. แก๊สมีเทน
  • 34. 33 7. สาเหตุที่รัฐบาลรณรงค์ให้ใช้นโยบาย ทางเดียวกันไป ด้วยกัน นั้นมีสาเหตุเกี่ยวกับปรากฏการณ์เรือนกระจกอย่างไร ก. เพราะเป็นการลดการใช้น้ามันเชื้อเพลิงที่เป็นสาเหตุของ ปรากฏการณ์เรือนกระจก ข. จะทาให้ประชาชนมีเงินมากพอที่จะมอบให้รัฐเพื่อดูแล เกี่ยวกับปรากฏการณ์เรือนกระจก ค. เพื่อสนับสนุนให้ธุรกิจการค้ารถยนต์ในประเทศลดลง ง. ไม่มีข้อถูก 8. ความขัดแย้งในประเทศอินเดียจนต้องแยกประเทศเป็น ประเทศปากีสถานเป็นความขัดแย้งระหว่างศาสนาใด ก. ศาสนาซิกข์กับศาสนาพราหมณ์ ข. ศาสนาอิสลามกับศาสนาพราหมณ์ ค. ศาสนาพุทธกับศาสนาพราหมณ์ ง. ศาสนาคริสต์กับศาสนาพราหมณ์ 9. ประเทศบังกลาเทศแยกตัวออกมาจากประเทศปากีสถาน ในปี ค.ศ. ใด ก. 1969 ข. 1970 ค. 1971 ง. 1972
  • 35. 34 10. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของความขัดแย้งระหว่างประเทศอิรักกับ ประเทศอิหร่าน ก. ปัญหากลุ่มน้อยชาวเคิร์ด ข. ปัญหาเรื่องเขตแดน ค. ความขัดแย้งระหว่างผู้นาประเทศ ง. ความขัดแย้งทางอุดมการณ์เศรษฐกิจ เชิญพลิกดูเฉลยหน้ า ต่อไปได้ เลย
  • 36. 35 เฉลยแบบทดสอบเหตุการณ์สาคัญของโลกในคริสต์วรรษที่ 21 1. ข 2. ง 3. ค 4. ค 5. ง 6. ก 7. ก 8. ข 9. ค 10. ง
  • 37. 36 • จัดทำโดย นำยสงกรำนต์ ขัตติยะ เลขที่ 6 นำยธรรมฬำวุฒิ ธรรมสิทธิ์ เลขที่ 11 นำยนพพล ทวีสุข เลขที่ 12 • เสนอ ครูสำยพิณ วงษำรัตน์ โรงเรียนจุฬำภรณรำชวิทยำลัย เชียงรำย ภำคเรียนที่ 2 ปีกำรศึกษำ 2554 แหล่งอ้ำงอิง สำนักพิมพ์แม็ค จำกัด