SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
การบริ หารงานตามหลักอธิ ปไตยในพระพุทธศาสนา

๑. บทนํา

                                                   ั ั ี ั้
             ระบอบ การบริหารประเทศที่ใช้กนอยู่ในปจจุบนนี้มทงระบอบประชาธิปไตย และ
                                           ั
ระบอบคอมมิวนิ ส ต์ หรือ ระบอบเผด็จการ ยังไม่ม ีก ารตัดสินที่ช ดเจนว่า ระบอบไหนดีก ว่า
                                                              ั
กัน แต่การบริหารด้วยระบอบประชาธิปไตย เป็ นระบอบที่ยอมรับกันทั ่วไปว่าเป็ นระบอบที่ดี
           ั ั
ที่สุดในปจจุ บนนี้ ในขณะที่ประเทศคอมมิว นิสต์ก็ยกให้ระบอบคอมมิวนิส ต์เป็ น ระบอบการ
บริหารดีท่ี สุด เช่น ประเทศสหภาพโซเวีย ต ในอดีต ประเทศจีน ประเทศเกาหลีเหนื อ ใน
   ั ั
ปจจุบน เป็นต้น การทีจะตัดสินว่าระบอบไหนดีกว่ากันคงตัดสินยากเพราะแต่ละระบอบก็มทงข้อ
                       ่                                                         ี ั้
ดีและข้อเสีย ถ้าจะเอาความรํ่ารวยของประเทศ หรือว่า เอา ความสุขของประชาชนในประเทศ
เป็นเกณฑ์ตดสิน ก็ตดสินไม่ได้เด็ดขาด เพราะแต่ละประเทศที่บริหารด้วยระบอบเดียวกันก็ไม่
                ั    ั
เหมือนกัน กล่าวคือ ฐานะของประเทศชาติและความเป็นอยู่ของประชาชนต่างกัน เช่น ประเทศ
เกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ ประเทศเกาหลีเหนือ บริหารประเทศด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ ผูนํา      ้
ประเทศได้รบการยกย่องเชิดชูเป็นทีเกรงขามของต่างประเทศ ข้าราชการมีฐานะอยู่ดกนดี แต่
              ั                  ่                                           ี ิ
ประชาชนในประเทศอดอยาก ยากแค้น อยู่อย่างลําบากยากจน ประชาชนอยากจะย้ายหนีจาก
ประเทศตัวเอง ในขณะที่ประเทศเกาหลีใต้ บริหารประเทศด้วยระบอบประชาธิปไตย ประเทศ
เจริญรุ่งเรือง ประชาชนมีฐานะดี อยู่ดมสุขทังรัฐบาลและเอกชน ประชาชนไม่อยากย้ายหนีไป
                                    ี ี ้
ไหน ในขณะเดียวกันมีแต่ประชาชนต่างประเทศอยากจะเข้าไปอยู่ประกอบอาชีพในเกาหลีใต้

          ในกรณีข องประเทศจีนที่บริหารประเทศด้วยระบอบคอมมิวนิส ต์ ในอดีตชาวจีน
อพยพไปอยู่ต่างประเทศแล้วสร้างฐานะรํ่ารวยในประเทศที่ไปอยู่ใหม่ท ั ่วโลกโดยเฉพาะประเทศ
แถบเอเชียด้วยกัน เช่น ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ลาว เวียดนาม กัมพูชา เป็นต้น แต่
     ั ั
ในปจจุบนประเทศจีนกลับเจริญรุ่งเรืองในหลายๆ ด้าน ทั ่วโลกต้องจับตาดูความเคลื่อนไหวของ
จีน แสดงให้เห็นว่า การบริหารประเทศด้วยระบอบคอมมิวนิสต์กมขอดีอยู่เหมือนกัน ในขณะที่
                                                            ็ ี ้
ประเทศอื่นๆ ทีบริหารประเทศด้วยระบอบประชาธิปไตย ประเทศชาติยงยากจนอยู่ ประชาชนก็
               ่                                                   ั
ยากจน ต้องไปทํางานประกอบอาชีพต่างประเทศก็มเี ยอะเหมือนกัน อย่างนี้กทําให้ตดสินยากว่า
                                                                       ็     ั
ระบอบการบริหารไหนดีทสุดและเหมาะทีสุดสําหรับการบริหารประเทศในปจจุบน
                       ่ี            ่                                ั ั

          ในทางพระพุทธศาสนามีหลักการบริหารประเทศที่พระพุทธองค์ได้วางหลักไว้ คือ
หลักอธิปไตย ๓ ได้แก่ อัตตาธิปไตย โลกาธิปไตย ธัมมาธิปไตย ซึ่งหลักการเหล่านี้ยงคงใช้อยู่
                                                                            ั
       ั ั
จนถึงปจจุบน ในบทความนี้ผเขียนจะได้ศกษาวิเคราะห์หลักการทัง ๓ นี้ว่า พระพุทธองค์วาง
                           ู้        ึ                      ้
๒

หลักการแต่ละอย่างไว้เพื่อเป้าหมายอะไร หลักการไหนควรใช้เมื่อไหร่ และใช้อย่างไร เพราะ
เหตุไรพระองค์จงวางหลักเหล่านี้ไว้ หลักทัง ๓ นี้ ถ้าปฏิบตตามแล้วจะได้ผลอย่างไร
              ึ                         ้              ั ิ

๒. ความหมายของอธิ ปไตย
           อธิปไตย หมายถึง ความเป็นใหญ่ มี ๓ อย่างคือ อัตตาธิปไตย ความมีตนเป็ นใหญ่
โลกาธิปไตย ความมีโลกเป็นใหญ่ ธัมมาธิปไตย ความมีธรรมเป็นใหญ่ ๑       0




           อธิปไตย หมายถึง อํานาจที่ม ีผลต่อ การตัดสิน คือ อัตตาธิปไตย หมายถึงการ
ตัดสินใจที่ถอความคิดของตนเองเป็ นที่ตง โลกาธิปไตย การถือตามความคิดของคนส่วนมาก
            ื                        ั้
เป็นทีตง ธัมมาธิปไตย การถือตามความถูกต้องโดยถือหลักเหตุผลทีเหมาะสม ไม่ถอตามความ
      ่ ั้                                                    ่         ื
                 ๒
เชืออย่างสุดโต่ง
  ่            1




๓. วิ เคราะห์การบริ หารตามหลักอธิ ปไตย ๓ ในพระพุทธศาสนา
              อธิปไตย คือความเป็ นใหญ่ในเรื่องเกี่ยวกับการบริหารงานหรือการปกครอง การที่
ครอบครัวและองค์กรจะประสบความสําเร็จเจริญรุ่งเรือง จําต้องมีคณะผูบริหารเป็ นผูขบเคลื่อน
                                                                    ้             ้ ั
กิจการของครอบครัวหรือองค์กร หลักการบริหารก็มหลายรูปแบบ บางคนก็ถนัดการทํางานแบบ
                                                    ี
เอาตัวเป็ นศูนย์ก ลาง คือ ตัวเองเป็ นใหญ่ หรือ ภาษาสมัยใหม่เรียกว่า ซีอ ีโ อ CEO (Chief
Executive Officer) หมายถึง บุคคลทีมอํานาจและความรับผิดชอบสูงสุดในองค์การหรือบริษท
                                      ่ ี                                                ั
๓
2      บางคนก็ถ นั ด การทํ า งานเป็ น ทีม เอาความคิด เห็ น ของคนส่ ว นใหญ่ เ ป็ น หลัก หรื อ
ประชาธิปไตย บางคนก็ถนัดยึดเอาหลักการเป็ นใหญ่ ไม่คํานึงเสียงส่วนมากแต่คํานึงถึงความ
ถูก ต้อ งเป็ นใหญ่ ในพระพุทธศาสนามีหลักอธิปไตย ๓ อย่าง คือ อัตตาธิปไตย โลกาธิปไตย
และธัมมาธิปไตย ต่อไปนี้จะได้ศกษาวิเคราะห์อธิปไตยแต่ละหัวข้อตามลําดับ
                                 ึ
          ๓.๑ อัตตาธิ ปไตย
           การบริหารตามหลักอัตตาธิปไตยก็คอการบริหารตามรูปแบบของ ซี อี โอ แนวคิดนี้
                                          ื
        ่                           ่
มีหลักทีสําคัญคือ ประธานหรือหัวหน้าฝายบริหารสูงสุดของบริษทได้รบมอบอํานาจหน้าที่จาก
                                                         ั    ั
คณะกรรมการอํานวยการ หรือบอร์ดของบริษทให้มอํานาจในการจัดการ ซึ่งรวมถึงการกําหนด
                                        ั     ี
นโยบาย การตัดสินใจ และการใช้อํานาจจัดการบริษทอย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ๔ หน้าที่สําคัญอีก
                                                ั                         3




          ๑
                ท.ี ปา. (ไทย) ๑๑/๓๐๕/๒๗๔, องฺ. ติก. (ไทย) ๒๐/๔๐/๒๐๑, ดูเพมเติมใน พระพระพรหม-
                                                                           ิ่
คุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบบประมวลศพท์, พมพ์ครงท่ี ๑๖, (กรุงเทพมหานคร :
                                                    ั         ั   ิ     ั้
โรงพมพ์ บรษท สหธรรมก จากด, ๒๕๕๔), หน้า ๔๘๔.
    ิ      ิ ั            ิ ํ ั
            ๒
               http://th.wikipedia.org/wiki/อธปไตย (๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๕).
                                              ิ
            ๓
               http://blog.eduzones.com/jipatar/ (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).
            ๔
               http://blog.eduzones.com/jipatar/ (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).
๓

อย่างของ ซีอ ีโอ ก็คอ ควรต้อ งบริหารทรัพยากรบุคคลให้เป็ น สื่อ สารให้เป็ น ไม่เช่นนัน ไม่
                           ื                                                         ้
เพียงแต่จะไม่ประสบความสําเร็จ แต่ยงอาจเกิดแรงสะท้อ นกลับมาในทางลบ เพียงเพราะ
                                               ั
ประสานงาน และสื่อสารกับคนในองค์กรได้ไม่ชดเจน ๕     ั4




                  การบริห ารระบบนี้ เ หมาะกับ การบริห ารครอบครัว และองค์ ก รขนาดเล็ก เช่ น
บริษทเอกชน หรือการนํ าระบบนี้ไปบริหารองค์การใหญ่ๆ ที่เป็ นของเอกชนก็สามารถประสบ
     ั
ความสําเร็จได้ถ้าผูนําเป็ นคนฉลาด รอบคอบ มีวสยทัศน์ม องการณ์ไกล เช่น ตัวอย่างที่นาย
                         ้                               ิ ั
ประสิทธิ ์ กาญจนวัฒน์ กล่าวถึงการบริหารงานขององค์การโทรศัพ ท์ว่า องค์การโทรศัพท์ใช้
เวลาติดตังโทรศัพท์ ๔๐ ปี ได้ ๒.๔ ล้านเลขหมาย พอบริษทในเครือ ซี พี คือบริษทเทเลคอม
                ้                                              ั                ั
เอเซีย เข้าไปสัมปทานจากรัฐบาลใช้เวลา ๕ ปี ติดตังโทรศัพท์ให้ประชาชน ได้ ๒ ล้านเลขหมาย
                                                           ้
                                            ๖
เท่ากันกับทีองค์การโทรศัพท์ทํา ๔๐ ปี
                   ่                  5




                  จาก ตัวอย่างนี้แสดงให้เห็นว่า การบริหารงานแบบอัตตาธิปไตย หรือแบบเอาผูนํา
                                                                                       ้
เป็นทีตงทําให้ประสบความสําเร็จ และมีคุณภาพเหมือนกัน ทังนี้ขนอยู่กบความรู้ ความสามารถ
           ่ ั้                                                  ้ ้ึ     ั
ของผูนําด้วย
         ้
                  ในทางพระพุทธศาสนาการบริหารแบบอัตตาธิปไตย พระพุทธองค์ทรงใช้เมื่อสมัย
ตรัสรูใหม่ๆ สาวกยังมีจํานวนน้อยสามารถดูแลทัวถึงตัวอย่างที่พระองค์ใช้อตตาธิปไตยในการ
       ้                                               ่                    ั
บริห ารคณะสงฆ์ เช่น การที่พ ระองค์อ นุ ญ าตให้กุ ล บุ ตรผู้ม ีค วามประสงค์จะบวชเป็ น ภิก ษุ
พระองค์ทรงอนุญาตให้อุปสมบทด้วยการเปล่งพระวาจาว่า เธอจงเป็ นภิกษุมาเถิด หรือเรียกว่า
เอหิอุปสัมปทา ๗ อาทิ การประทานการอุปสมบทให้แก่พระอัญญาโกณฑัญญะ เป็ นต้น การ
               6




บริหารแบบอัตตาธิปไตยนี้กทําให้การบริหารคณะสงฆ์ของพระองค์เป็ นไปด้วย ความเรียบร้อย
                                  ็
ทําให้การเผยแผ่พระธรรมวินยเจริญรุ่งเรืองขึนตามลําดับ แต่พระองค์กไม่ได้ยดเอาหลักการนี้ใช้
                                    ั            ้                      ็     ึ
ในการบริหารตลอดไป เมื่อหมู่สาวกมีจํานวนเพิมมากขึนพระองค์จงเปลียนเป็ นการบริหารแบบ
                                                     ่       ้        ึ ่
โลกาธิปไตย และธัมมาธิปไตย
           ๓.๒ การบริ หารงานตามหลักโลกาธิ ปไตย
          การ บริหารงานตามหลักโลกาธิปไตย คือการบริหารยึดเอาเสียงข้างมากเป็ นเกณฑ์
                  ั ั
ในการตัดสินใจ ในปจจุบนเรียกว่า ระบอบประชาธิปไตย เป็ นระบอบที่ได้รบการยอมรับทั ่วโลก
                                                                           ั
เพราะอํานาจบริหารเป็ นของประชาชน แต่เนื่องจากประชาชนมีเป็ นจํานวนมากจึงต้อ งเลือ ก
ตัว แทนเข้า ไปบริห าร ระบอบนี้ จึง จัด ให้ ม ีก ารเลือ กตัง ตัว แทนหรือ ผู้แ ทน เช่ น เลือ กตัง
                                                          ้                                   ้
ประธานาธิบดี เลือ กตังสมาชิกวุฒสภา เลือ กตังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็ นต้น ข้อ ดีข อง
                     ้          ิ                ้
           ๕
             http://www.classifiedthai.com/content.(๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).
           ๖
             อภิวฒน์ วรรณกร, ประสิทธ์ ิ กาญจนวฒน์ คิด พด เขียน, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์
                  ั                                 ั       ู
สุขภาพใจ, ๒๕๔๐), หน้า ๑๓๘.
           ๗
             ดรายละเอยดใน ว.ิ ม. (ไทย) ๔/๑๘/๒๕.
               ู       ี
๔

ระบอบนี้ค ือ ประชาชนมีสทธิเ์ ลือ กตัวแทนของตนเองด้วยตนเอง ผูแทนเข้าไปบริหารต้องฟ ง
                                ิ                                      ้                          ั
เสียงของประชาชนด้วย เพราะถ้าบริหารไม่ดีสมัยต่อไป ประชาชนก็ไ ม่เลือ ก ระบอบนี้มการ             ี
แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ภายใต้กฎหมายรัฐธรรมนู ญ ข้อเสียคือ ทําให้ล่าช้า เพราะต้อ ง
                              ้                ้ ี                               ั
ผ่านกระบวนการหลายขันตอน การเลือ กตังก็มการซื้อสิทธิ ์ขายเสียงกันซึ่งเป็ นปญหาใหญ่ไ ม่
                                                               ้     ่
สามารถแก้ไข ได้อย่างถาวรหรือเด็ดขาด เพราะยินยอมกันทังสองฝาย เช่นตัวอย่างที่เกิดขึนใน      ้
ประเทศไทย
                จากเหตุการณ์ทเี กิดขึนกับประเทศไทยนี้แสดงให้เห็นว่าระบอบประชาธิปไตยทีใช้กน
                                      ้                                                  ่ ั
อยู่น้ีไม่เหมาะกับประเทศไทย สอดคล้อ งกับข้อ มูลที่ สิริอญญา ได้นําเสนอในบทความเรื่อ ง
                                                             ั
“พุทธทาสกับธรรมาธิปไตย” ตอนหนึ่งว่า สํานักวิจยสําคัญของสหรัฐอเมริกาได้แฉโพยกันเอง
                                                          ั
แล้วว่า ระบอบประชาธิปไตย ไม่เหมาะสมกับประเทศในเอเซียและในประเทศไทย เพราะมิได้
คํานึงถึงความแตกต่างระหว่างเมือ งกับชนบท มิไ ด้คํานึงถึงการซื้อ เสียงและการใช้อํานาจ
อิทธิพล ตลอดจนการคอร์รปชันซึ่งเป็นด้านหลักทีปกคลุมประเทศในเอเชียอยู่ สํานักวิจยนี้จงได้
                                  ั ่                   ่                            ั ึ
ชีวาประเทศในเอเซียจึงพากันปฏิเสธประชาธิปไตยแบบที่สหรัฐต้องการให้เป็ นแทบจะ สิ้นเชิง
  ้่
แล้ว แม้กระทังคนซึ่งต่อต้านคอมมิวนิสต์ชนิดหัวเด็ดตีนขาดก็ปฏิเสธประชาธิปไตย แบบ
                       ่
ตะวันตกนันแล้ว ๘
              ้  7




                สิริอญญา ได้อ้างถึง พุทธทาสภิก ขุว่า ท่านเจ้าคุณได้อ รรถาธิบายนากาลต่อมาว่า
                     ั
สิทธิเสรีภ าพก็มีทงดีและไม่ดี คือมีทงฝ่ายสัม มาและฝ่ายมิจฉา นันคือสิทธิเสรีภ าพที่รบใช้
                           ั้             ั้                             ่                  ั
ประเทศชาติ รับใช้ประชาชนเพื่อประโยชน์ของประชาชนเป็ นสิทธิเสรีภาพที่เป็ นสัมมา แต่สทธิ           ิ
เสรีภ าพในการทําลายชาติบ้านเมือ งเป็ นสิทธิเสรีภาพแบบมิจฉา การปกครองไม่ว่าในระบบ
ไหนๆ หากไม่ถอธรรมเป็ นใหญ่ ไม่เคารพธรรมและไม่เป็ นธรรมแล้ว การปกครองนันๆ ก็ใช้
                         ื                                                         ้
ไม่ได้ทงสิน เช่นเดียวกับความสามัคคีหรือความสมานฉันท์หรือการปรองดอง หากไม่ตงอยู่ใน
         ั้ ้                                                                         ั้
                                                       ๙
ธรรม ไม่เป็นไปโดยธรรมแล้ว ล้วนใช้ไม่ได้ทงสิน    ั้ ้
                                                   8




                พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ได้แสดงทัศนะว่า โลกาธิปไตย เป็นดาบสองคม
มีทงคุณและโทษ กล่าวคือหากเสียงส่วนใหญ่ประกอบด้วยธรรม มาจากผูมคุณธรรม ย่อมให้คุณ
     ั้                                                                    ้ ี
แต่หากไม่ประกอบด้วยธรรม มาจากผูขาดธรรมย่อมให้โทษมากกว่าให้คุณ ๑๐ สอดคล้องกับ
                                             ้                                   9




ทัศนะที่ว่า พระพุทธองค์ได้ตรัสสอนเกี่ยวกับการกระทําของมนุ ษย์ว่าเกิดขึนด้วยอํานาจ แห่ง
                                                                               ้
อธิปไตย ๓ ประการนี้ ประการใดประการหนึ่ง ทังในส่วนที่เป็ นกุศลกรรม และอกุศลกรรม เช่น
                                                     ้

           ๘
                  สิร ิอ ัญ ญา บทความเรื่อ ง “พุ ท ธทาสกับ ธรรมาธิ ป ไตย, [ออนไลน์ ] แหล่ ง ท่ีม า :
http://www.paisalvision.com (๓๑ สงหาคม ๒๕๕๕).
                                    ิ
            ๙
              http://www.paisalvision.com/ (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).
            ๑๐
                พระธรรมกิต ติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙, ราชบณฑต), คาวด, [ออนไลน์ ] แหล่งท่มา :
                                                               ั ิ       ํ ั                   ี
http://www.kalyanamitra.org (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).
๕

คนทําดีเพราะเห็นตามคนส่วนใหญ่ หรือในทางกลับกัน คนทําชัวเพราะเห็นตามคนส่วนใหญ่
                                                                   ่
                                                         ๑๑
โดยไม่พนิจพิจารณาว่าทีคนส่วนใหญ่ทํานันถูกหรือผิด
           ิ                 ่            ้          10




             ในพระพุ ท ธศาสนาพระพุ ท ธองค์ ท รงอนุ ญ าตให้ ใ ช้ ก ารบริ ห ารแบบระบอบ
โลกาธิปไตยเหมือนกัน เช่น ต่อมามีสาวกเพิมมากขึนพระองค์จงมอบอํานาจการบริหารให้เป็ น
                                              ่      ้          ึ
หน้ าที่ของคณะสงฆ์ ให้ค ณะสงฆ์เป็ นใหญ่ อาทิ ทรงอนุ ญาตให้ม ีการอุปสมบทด้วยวิธีญัตติ
จตุตถกรรมวาจา ๑๒ คือทรงอนุ ญาตให้มพระภิกษุเข้าร่วมสังฆกรรมอย่างน้อย ๕ รูปเป็ นอย่าง
                11                      ี
น้อย เฉพาะในชนบทที่ห่างไกล ส่วนในมัชฌิมประเทศ ทรงอนุ ญาตให้มพระภิกษุเข้าร่วมสังฆ
                                                                           ี
                          ๑๓        ่
กรรมตังแต่ ๑๐ ขึนไป คณะสงฆ์ฝายเถรวาทจึงได้ยดเอาหลักนี้ปฏิบตมาจนถึงทุกวันนี้
         ้         ้ 12                                ึ               ั ิ
             จากหลักฐานที่ปรากฏในพระไตรปิ ฎกจะเห็นว่าพระพุทธองค์ทรงสรรเสริญระบอบ
การบริหารแบบโลกาธิปไตยมาก เช่น การทีพระองค์แนะนํ าให้พระนางปชาบดีโคตมีผเป็ นพระ
                                            ่                                        ู้
มาตุ จ ฉา (น้ า ) ผู้ต้อ งการจะถวายผ้า ไหมเนื้อ ดีท่ีพ ระนางทอเองแก่ พ ระพุ ท ธเจ้าเพื่อ จะได้
อานิสงส์มาก แต่พระองค์แนะนําให้พระนางถวายแก่สงฆ์จะได้อานิสงส์มากกว่า เรื่องนี้ปรากฏใน
พระไตรปิ ฎกเล่ม ที่ ๑๒ ชื่อว่า ทัก ขิณ าวิภ ัง คสูต ร ในมัช ฌิม นิก าย อุ ปริปณ ณาสก์ ๑๔ แต่
                                                                              ั      1 3




โลกาธิปไตยในความหมายนี้พระพุทธองค์หมายถึงเสียงส่วนมากหรือ สงฆ์ท่ทําตามธรรมตาม   ี
วินย ถ้าผิดธรรมผิดวินยพระองค์กตเิ ตียน ดังพระพุทธพจน์วา “นิคฺคณฺเห นิคฺคหารหํ ติเตียนคน
    ั                     ั       ็                         ่
ทีควรติเตียน” “ปคฺคณฺเห ปคฺคหารหํ ยกย่องคนทีควรยกย่อง” ๑๕
  ่                                              ่
           ๓.๓ การบริ หารงานตามหลักธัมมาธิ ปไตย
            การบริหารงานตามหลักธัมมาธิปไตย คือ การบริหารแบบยึดเอาความถูกต้องเป็ น
เกณฑ์ไม่ได้คํานึงเสียงส่วนใหญ่ท่ไ ม่ถูกต้องชอบธรรม มีนักปราชญ์ทางด้านพระพุทธศาสนา
                                   ี
หลายท่านได้แสดงทัศนะเกียวกับการบริหารงานตามหลักการนี้ไว้ เช่น
                           ่
            พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต) ได้แสดงทัศนะไว้ในหนังสือเรื่อง “ธรรมาธิปไตย
ไม่มา จึงหาประชาธิปไตยไม่เจอ” สรุปใจความได้ว่า ธรรมาธิปไตยไม่ใช่ระบบแยกต่างหาก อีก
ระบบจากประชาธิปไตย แต่เป็ นคุณภาพ “เป็ นหลักเกณฑ์ในการตัดสินใจของบุคคลที่อยู่หรือ
ร่วมอยู่ในระบบการปกครองนัน” ถ้าการตัดสินใจโดยตรวจสอบเรื่องราว สืบค้นความจริง หา
                               ้
                             ั
ข้อมูลให้ชดเจนถ่องแท้ ใช้ปญญาพิจารณาในการตัดสินใจต่างๆ เช่น ถ้าในระบอบประชาธิปไตย
          ั
ก็เป็ นการตัดสินใจเลือกตัง โดยพิจารณาว่าผูสมัครคนไหนเป็ นคนดี มีความสามารถ มุ่งทํา
                         ้                  ้
ประโยชน์ ให้ส่วนรวมจริงๆ ก็ตดสินใจไปตามความดีงามความถูกต้อ งนัน นี้เรียกว่าเป็ น
                                 ั                                   ้

           ๑๑
              http://www.br.ac.th (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).
           ๑๒
              คอการสวดตงญตตประกาศใหสงฆทราบ ๑ ครง แลวสวดประกาศรบเขาหมู่ ๓ ครง.
                    ื       ั้ ั ิ       ้ ์         ั้ ้           ั ้    ั้
           ๑๓
              ดรายละเอยดใน ว.ิ ม. (ไทย) ๕/๒๕๙/๓๙, ๓๘๘/๒๗๖, ๔๕๐/๓๒๘.
                ู       ี
           ๑๔
              ดรายละเอยดใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๓๗๖/๔๒๔-๔๓๒.
                  ู       ี
           ๑๕
              ขุ.ชา. (ไทย) ๒๗/๒๔๔๒/๕๓๑.
๖

ธรรมาธิปไตย แต่ถาเลือกโดยเอาผลประโยชน์ของตัวเองเป็ นหลัก นี้เรียกว่าอัตตาธิปไตย หรือ
                         ้
ตัดสินใจเลือกโดยว่าไปตามกระแส ลงคะแนนแบบเฮตามพวกไป นี้เรียกว่าโลกาธิปไตย ๑๖         15




             พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) ได้แสดงทัศนะไว้ในหนังสือเรื่อง “พุทธวิธี
บริหาร” ตอนว่าด้วยการบริหารตามหลักธัมมาธิปไตยสรุปใจความได้ว่า การบริหารตามหลัก
                ้                                               ั
ธัมมาธิปไตย ผูบริหารต้องประกอบด้วยพละ ๔ คือ ปญญาพละ วิรยพละ อนวัชชพละ สังคหพละิ
                                 ั                                      ั
ปั ญญาพละ กําลังคือปญญา หมายถึง ผูบริหารต้อ งมีปญญา คือ ต้อ งเป็ นผู้ขวนขวายเพื่อให้
                                                     ้
      ั                                    ั       ั
เกิดปญญา ๓ ด้าน อาทิ สุตมยปญญา ปญญาเกิดจากการฟง จินตามยปญญา ปญญาเกิดจาก    ั    ั   ั
                           ั             ั
การคิด ภาวนามยปญญา ปญญาเกิดจากการปฏิบติ หรือการเจริญภาวนา ในที่น้ีท่านอธิบาย
                                                              ั
การรอบรู้ ๓ อย่าง คือ รูจกตน รูคน รู้งาน รู้จกตนเองคือรู้ความสามารถของตน อุปนิสยของ
                                 ้ั          ้         ั                               ั
ตน รูจกคน คือรูจกคนทีทํางานร่วมกัน หมายความว่า มอบงานให้ถูกกับคน และรู้งาน คือรู้จก
     ้ั               ้ั           ่                                                       ั
งานที่ร ับผิดชอบ วิ ริ ย พละ พลัง ของความเพีย ร ผู้บ ริห ารต้อ งเป็ นคนขยัน อดทน ต่อ สู้ก ับ
อุปสรรคต่างๆ ทีเกิดขึน ไม่ทอดทิ้งธุระกลางครัน ในที่น้ีท่านอธิบายเกี่ยวกับสสังขาริกะ คือ มี
                      ่        ้
ความขยันสูงานเพราะคนอื่นชักชวนแนะนํ า อสังขาริกะ มีความขยันสู้งานด้วยความเพียรของ
             ้
ตนเอง อนวัชชพละ พลังแห่งการงานทีไม่มโทษ คือประกอบการงานสุจริต ไม่ผดกฎหมายและ
                                                  ่ ี                             ิ
ศีลธรรม ท่านอธิบายว่า ผูบริหารต้องเว้นอบายมุข อันเป็ นทางแห่งความเสื่อม เช่น ไม่ตดการ
                                       ้                                                 ิ
พนัน ไม่ตดสุรายาเสพติด ไม่เกียจคร้าน ไม่คบมิตรชัว จากนันให้รกษาศีล ๕ ให้บริสุทธิ ์ สังคหพละ
           ิ                                                ่             ้ ั
คือให้มพรหมวิหาร ๔ ประกอบด้วย เมตตา กรุณา มุทตา อุเบกขา และสังคหพละ พลังแห่งการ
         ี                                                        ิ
สงเคราะห์ หมายถึงผูบริหารต้องเป็นคนสงเคราะห์เพื่อนร่วมงานตามสมควรแก่ตําแหน่ งหน้าที่
                             ้
การสงเคราะห์มหลายวิธี เช่น การให้สงของ การพูดจาด้วยถ้อยคําไพเราะ สุภาพอ่อนโยน การ
                  ี                            ิ่
ช่วยเหลือการงานบางครังบางคราว และการวางตัวเสมอต้นเสมอปลายหรือการเอาใจเขามาใส่
                                     ้
        ๑๗
ใจเรา16




                                                                    ั
             จากทัศนะของพระธรรมโกศาจารย์ทนําเอาปญญาพละมาเป็นเครื่องมือในการบริหาร
                                                         ่ี
ตามหลักธัมมาธิปไตยนี้ ผูเ้ ขียนมีความเห็นสอดคล้องกับทัศนะดังกล่าวนี้เพราะพระพุทธองค์ได้
                    ั
ตรัสสรรเสริญปญญาไว้หลายแห่งต่างกาลต่างวาระกัน เช่น ตรัสว่า “ป�ฺญา โลกสฺม ิ ปชฺโชโต
ปญญาเป็ นแสงสว่างในโลก” ๑๘ “ป�ฺญา นรานํ รตนํ ปญญา เป็ นรัตนะของนรชน” ๑๙ เป็ นต้น
   ั                                                                  ั


           ๑๖
              พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต), ธรรมาธิ ปไตยไม่มา จึงหาประชาธิ ปไตยไม่เจอ, ปี
๒๕๔๙), หน้า ๑๓, [ออนไลน์] แหล่งทมา : http://www.nidambe11.net (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).
                                 ่ี
          ๑๗
              พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจตฺโต), พุทธวิ ธีบริ หาร, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมพ์
                                                ิ                                         ิ
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙), หน้า ๕๓-๗๘.
          ๑๘
             สํ.ส. (บาลี) ๑๕/๘๐/๓๓. สํ.ส. (ไทย) ๑๕/๘๐/๘๕.
          ๑๙
             สํ.ส. (บาลี) ๑๕/๕๑-๕๒/๒๖, สํ.ส. (ไทย) ๑๕/๕๑/๖๗.
๗

                       ั                    ั
ตามหลักพระพุทธศาสนา มีปจจัยเป็นเครื่องพัฒนาปญญาอยู่ ๒ อย่าง คือ ปรโตโฆสะและโยนิโส
มนสิการ ๒๐19




              ปรโตโฆสะ แยกออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่เป็ นบุคคลโดยตรง เช่น บิดามารดา ครู
อาจารย์ ผูเ้ ป็นกัลยาณมิตร คอยแนะนําตักเตือน ในสิงทีดงามก่อให้เกิดความรูหรือปญญา เรียก
                                                       ่ ่ ี                          ้      ั
                       ั
อีก อย่างหนึ่งว่า ปจจัยภายนอก ส่วนที่สองได้แก่ คัม ภีร์ต่าง ๆ ที่บนทึก คําสอนของท่านผู้รู้
                                                                        ั
ทังหลาย เช่น ตํารับตํารา หรือหนังสือเรียน เป็ นต้น เป็ นแหล่งความรู้ท่เป็ นประโยชน์เมื่อได้
   ้                                                                          ี
อ่านแล้วจะทําให้เกิดปญญา     ั
                                                          ั
              โยนิโสมนสิการ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปจจัยภายใน ได้แก่การพิจารณาไตร่ตรอง
ใคร่ ค รวญสิ่ ง ที่ ไ ด้ ร ับ ฟ ัง มาจากบิ ด ามารดา ครู อ าจารย์ นั ้น หรื อ ที่ ไ ด้ อ่ า นมานั ้น ตาม
            ั                          ั
กําลังสติปญญา ก็จะทําให้เกิดปญญาเพิ่มขึ้น เช่น ได้ยนบิดามารดาบอกว่า การดื่มสุราไม่ดี
                                                            ิ
เพราะจะทํ า ให้สูญ เสีย การทรงตัว สติจะอ่อ นกํา ลัง ไม่ ส ามารถควบคุ ม ความคิด หรือ อวัย วะ
                                                   ั ั
ร่างกายของตนให้อยู่ในสภาวะปกติได้ เมื่อได้รบฟงมาอย่างนี้แล้ว ก็นําไปคิดไตร่ตรองต่อว่า
เพราะเหตุไร สุราจึงมีฤทธิ ์ทําให้คนทีด่มเป็นอย่างนัน ก็ตองไปศึกษาต่อว่า สุราประกอบด้วยสาร
                                         ่ ื         ้ ้
อะไรบ้าง หรือว่า สุราทํามาจากอะไร เมื่อคิดพิจารณาอย่างนี้แล้วก็จะทราบข้อเท็จจริงของสุรา
ความรูทได้กกลายเป็นปญญา ทีเกิดขึนด้วยโยนิโสมนสิการ ๒๑
       ้ ่ี ็                  ั      ่ ้                      20




            จากข้อความทีได้ทําการศึกษามานี้แสดงให้เห็นว่าการบริหารตามหลักธัมมาธิปไตย
                        ่
  ้                                          ั
ผูบริหารต้องประกอบด้วยพละ ๔ ประการ คือ ปญญาพละ วิรยพละ อนวัชชพละ และสังคหพละ
                                                         ิ
ดังกล่าวนันจึงจะประสบความสําเร็จในการบริหารตามเป้าหมายทีตงไว้
          ้                                                 ่ ั้
          เรื่องการรื้อฟื้ นคดีข้นมาตัดสินใหม่ข องเจ้าชายพันธุละมหาอํามาตย์ของพระเจ้า
                                     ึ
ปเสนทิโกศล เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งทีแสดงให้เห็นว่า เจ้าพันธุละ ได้บริหารตามหลักธัมมาธิปไตย
                                       ่
ความย่อว่า เจ้าชายพันธุละ ได้รอฟื้ นคดีความทีคณะผูพพากษาชุดเดิมตัดสินไม่เป็นธรรมขึนมา
                                  ้ื         ่        ้ ิ                           ้
พิจารณา ใหม่ แล้วตัดสินให้ผถูก เป็ นฝ่ายชนะ ให้ผผดเป็ นฝ่ายแพ้ ทําให้ประชาชนพอใจการ
                               ู้                  ู้ ิ
ตัดสินของเจ้าชายพันธุละ พากันส่งเสียงสาธุการ ดังไปถึงพระตําหนักของพระเจ้าปเสนทิโกศล
พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงทราบเรื่องจึงแต่งตังให้เสนาบดีพนธุละ เป็นผูพพากษาอีกตําแหน่งหนึ่ง
                                          ้               ั        ้ ิ
     ๒๒
21




               ๒๐
                องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๑๒๗/๑๑๕, องฺ.ทุก.อ. (ไทย) ๒/๑๒๗/๕๓.
               ๒๑
                พระมหาธานินทร์ อาทตวโร, “การพัฒนาสังขารเพื่อการบรรลธรรมในพระพุทธศาสนาเถร
                                     ิ
วาท”, วิ ทยานิ พนธ์ พทธศาสตรดษฎีบณฑิต, (บณฑตวทยาลย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
                       ุ          ุ ั          ั ิ ิ       ั
๒๕๕๕), หน้า ๗๐.
            ๒๒
                ดรายละเอยดใน ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๓/๑๙๗.
                 ู         ี
๘

           การทีพระพุทธเจ้าทรงแต่งตังอัครสาวกทังสอง คือพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ
                 ่                  ้            ้
ก็ทําตามธัมมาธิปไตย กล่าวคือ พระเถระทังสองรูปนี้เคยได้บําเพ็ญบารมีมาตังแต่อดีตชาติเพื่อ
                                        ้                              ้
ได้ตําแหน่ งอัครสาวกของพระพุทธเจ้าองค์ใดองค์หนึ่ง ถึงแม้ว่าการแต่งตังครังนันจะมีเสียง
                                                                      ้ ้ ้
คัดค้านจากพระภิกษุเป็นจํานวนมากว่า พระองค์เห็นแก่หน้า เห็นแก่พวกพ้อง เพราะพระเถระ
ทังสองรูปนันเพิ่ง จะบวชไม่น าน มีพระเถระที่ม ีพ รรษามากกว่าและเหมาะสมกว่าหลายรู ป
  ้         ้
                                                                 ั
พระองค์นํ าเรื่องราวในอดีตชาติข องแต่ละรูป มาแสดงให้พ วกภิก ษุ ฟ ง เสียงคัดค้า นจึงเงีย บ
หายไปทุกรูปจึงยอมรับการตัดสินพระทัยของพระองค์ ๒๓    22




           ในบรรดาอธิปไตยทัง ๓ นัน ธัมมาธิปไตยนี้พระองค์ให้ความสําคัญมากเห็นได้จาก
                            ้     ้
พระพุทธพจน์ทปรากฏในพระ ไตรปิฎกหลายแห่งทีพระองค์ทรงเตือนให้ภิกษุ ยึดเอาธรรมเป็ น
               ่ี                              ่
ใหญ่ ทรงแนะนําให้ภกษุยดเอาพระธรรมเป็นทีพง เช่น พระพุทธพจน์ในมหาปรินิพานสูตร ทีฆ
                    ิ ึ                  ่ ่ึ
นิกาย มหาวรรค ในจักกวัตติสูตร ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค ในโคปกโมคคัลลานสูตร ในอัตตทีป
สูตร สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค ในคิลานสูตร สังยุตตนิกาย มหาวารวรรคว่า
          “ภิกษุทงหลาย เธอทังหลาย จงมีตนเป็นเกาะ มีตนเป็นทีพง ไม่มสงอื่นเป็นทีพง จงมี
                 ั้           ้                           ่ ่ึ    ี ิ่        ่ ่ึ
                                                      ๒๔
ธรรมเป็นเกาะ มีธรรมเป็นทีพงไม่มสงอืนเป็นทีพงอยู่เถิด”
                         ่ ่ึ ี ิ่ ่      ่ ่ึ
๔. บทสรุป
             การบริหารงานตามหลักอธิปไตย ๓ คือการบริหารแบบเอาตัวเป็ นใหญ่ในการตัดสิน
สังการโดยไม่ต้องขอความเห็นจากคนอื่น เมื่อสั ่งการไปแล้วผูส ั ่งรับผิดชอบแต่ผเดียว เรียกว่า
  ่                                                        ้                 ู้
อัตตาธิไตย ข้อดีของการบริหารแบบนี้ คือ ทําให้รวดเร็วทันใจ ได้งานมาก ข้อเสีย คือ โอกาสที่
จะผิดพลาดมีสูง และเป็นการปิดกันการแสดงความคิดเห็นของคนอื่น การบริหารแบบเอาเสียง
                                 ้
                                                                 ั ั ้
ส่วนมากเป็ นเกณฑ์ตดสิน หรือการบริหารแบบประชาธิปไตยในปจจุบน ผูเป็ นหัวหน้าต้องฟ ง
                       ั                                                                 ั
เสียงคนอื่นด้วย เมื่อเสียงส่วนมากว่าอย่างไรก็เอาตามนัน เรียกว่า โลกาธิปไตย ข้อดีของการ
                                                     ้
บริหารแบบนี้ คือ ทุกคนมีส่วนร่วมในการบริหารหรือ แสดงความคิดเห็น การบริหารโปร่งใส
เพราะมีระบบการตรวจสอบ ข้อเสียคือ ทําให้ล่าช้าเพราะต้อ งผ่านกระบวนการหลายขันตอน      ้
การบริหารแบบเอาความถูกต้องเป็ นหลักโดยไม่คํานึงถึงเสียงส่วนมาก เรียกว่า ธัมมาธิปไตย
แต่ถาเสียงส่วนมากถูกก็ถอว่าเป็นธัมมาธิปไตยเหมือนกัน พระพุทธองค์ได้วางหลักการบริหาร
      ้                   ื
ทัง ๓ นี้ไว้เพื่อเป็นแนวทางให้สาวกนําไปประยุกต์ใช้ในการบริหารงาน ตามความเหมาะสมแก่
    ้
สถานการณ์ดงทีพระองค์ได้ใช้เป็นแบบอย่างมานัน ในบรรดาหลักการบริหารทัง ๓ นี้ พระองค์
                ั ่                            ้                           ้


            ๒๓
             ดรายละเอยดใน ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑/๕๕.
              ู        ี
            ๒๔
              ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๖๕/๑๑๑, ท.ี ปา. (ไทย) ๑๑/๘๐/๕๙, ม.อุ . (ไทย) ๑๔/๘๐/๘๗, สํ. ขนฺธ.
(ไทย) ๑๗/๔๓/๕๙, สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๒๗๕/๒๒๔.
๙

จะให้ความสําคัญกับหลักธัมมาธิปไตยมากกว่า เพราะการยึดธรรมเป็นใหญ่หรือยึดความถูกต้อง
เป็นหลักจะนํามาซึ่งความเจริญรุ่งเรืองโดยส่วนเดียว
          โดยสรุปไม่วาจะบริหารแบบไหน ถ้ายึดความถูกต้องตามธรรมตามระเบียบกฎหมาย
                      ่
และระเบียบขององค์กรนันๆ ก็ถือว่าเป็ นการบริหารตามหลักธัมมาธิปไตยเหมือนกัน เพราะ
                          ้
หลักการบริหารทัง ๓ นี้ไม่สามารถแยกออกจากกันโดยเบ็ดเสร็จเด็ดขาด เหตุท่หลักธรรมใน
                ้                                                      ี
พระพุทธศาสนาสามรถเชือมโยงถึงกันหมดไม่วาจะยกหลักธรรมข้อไหนขึนมาปฏิบตกเ็ ท่ากับได้
                        ่                    ่                ้          ั ิ
ปฏิบตตามหลักคําสอนครบทังหมด
     ั ิ                    ้




                                  บรรณานุกรม

๑. ภาษาบาลี – ไทย :

      ก. ข้อมูลปฐมภูมิ
๑๐

มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย . พระไตรปิ ฎกภาษาบาลี ฉบับ มหาจุ ฬ าเตปิ ฏกํ .
         กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๐๐.
__________.      พระไตรปิ ฎกภาษาไทย ฉบับ มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ทยาลั ย .
         กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
__________. อรรถกถาบาลี ฉบับมหาจุฬาอฏฺฐกถา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์วญญาณ
                                                                      ิ
         , ๒๔๙๙,๒๕๓๓-๒๕๓๔.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระไตรปิ ฎกพร้อมอรรถกถาแปล. ชุด ๙๑ เล่ม. กรุงเทพมหานคร :
         โรงพิมพ์มหา มกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔.

        ข. ข้อมูลทุติยภูมิ

(๑) หนังสือ

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครังที่   ้
         ๑๖. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ บริษท สหธรรมิก จํากัด, ๒๕๕๔.
                                           ั
พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุ กรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิม พ์ค รังที่ ้
         ๑๒. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). พุทธวิ ธีบริ หาร. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหา
         จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙.
อภิวฒน์ วรรณกร. ประสิ ทธิ์ กาญจนวัฒน์ คิ ด พูด เขียน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์
    ั
         สุขภาพใจ, ๒๕๔๐.

(๒) วิ ทยานิ พนธ์

พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร. “การพัฒนาสังขารเพื่อการบรรลุธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท”.
        วิ ทยานิ พนธ์ พุทธศาสตรดุษฎีบณฑิ ต. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
                                      ั
        กรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๕.

(๓) สื่ออิ เล็กทรอนิ กส์

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). ธรรมาธิ ปไตยไม่มา จึงหาประชาธิ ปไตยไม่เจอ.
               (ออนไลน์) แหล่งทีมา : http://www.nidambe11.net (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).
                                  ่
สิ ริ อ ั ญ ญ า บท ค วา ม เรื่ อ ง “พุ ทธ ท า ส กั บ ธรรม า ธิ ป ไต ย , [อ อน ไ ลน์ ] แหล่ ง ที่ ม า :
               http://www.paisalvision.com (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).
http://www.paisalvision.com/ (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).
๑๑

พระธรรมกิต ติว งศ์ (ทองดี สุร เตโช ป.ธ.๙, ราชบัณฑิต ). คํา วัด. [ออนไลน์ ] แหล่ง ที่ม า :
             http://www.kalyanamitra.org (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).
http://www.br.ac.th (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).
http://www.classifiedthai.com/content.(๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).
http://th.wikipedia.org/wiki/อธิปไตย (๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๕).
http://blog.eduzones.com/jipatar/ (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).
http://blog.eduzones.com/jipatar/ (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).

More Related Content

What's hot

เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socPrachoom Rangkasikorn
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34Kittisak Chumnumset
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนPadvee Academy
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการKittiphat Chitsawang
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศนรายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศนcharinruarn
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาBongkot Inprom
 
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdfหน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdfsurakitsiin
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดPear Pimnipa
 

What's hot (20)

คำอธิบายรายวิชา ศ22102
คำอธิบายรายวิชา ศ22102คำอธิบายรายวิชา ศ22102
คำอธิบายรายวิชา ศ22102
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
วรรณศิลป์
วรรณศิลป์วรรณศิลป์
วรรณศิลป์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศนรายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdfหน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 

Viewers also liked

พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointPim Chainamon Puri
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธNopporn Thepsithar
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครองการเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครองkroobannakakok
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนาวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
English 11th grade level syllabus 2013 2014
English 11th grade level syllabus 2013 2014English 11th grade level syllabus 2013 2014
English 11th grade level syllabus 2013 2014Eric Cruz
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Masterclassnetpolitiek
MasterclassnetpolitiekMasterclassnetpolitiek
MasterclassnetpolitiekArjan Fassed
 
AGU2012 Social Media
AGU2012 Social MediaAGU2012 Social Media
AGU2012 Social Mediadarkskyamee
 
ประเภทของกฏหมาย
ประเภทของกฏหมายประเภทของกฏหมาย
ประเภทของกฏหมายnongnoon
 
Using punctuation marks
Using punctuation marksUsing punctuation marks
Using punctuation marksEric Cruz
 
Gatekeepers - How to get pass them.
Gatekeepers - How to get pass them.Gatekeepers - How to get pass them.
Gatekeepers - How to get pass them.KUMAR LANG
 
Clase inaugural
Clase inauguralClase inaugural
Clase inauguralmeidy14
 

Viewers also liked (20)

พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power point
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครองการเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครอง
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
 
English 11th grade level syllabus 2013 2014
English 11th grade level syllabus 2013 2014English 11th grade level syllabus 2013 2014
English 11th grade level syllabus 2013 2014
 
Adjectives
AdjectivesAdjectives
Adjectives
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
 
Teamviewer
TeamviewerTeamviewer
Teamviewer
 
Masterclassnetpolitiek
MasterclassnetpolitiekMasterclassnetpolitiek
Masterclassnetpolitiek
 
AGU2012 Social Media
AGU2012 Social MediaAGU2012 Social Media
AGU2012 Social Media
 
ประเภทของกฏหมาย
ประเภทของกฏหมายประเภทของกฏหมาย
ประเภทของกฏหมาย
 
Using punctuation marks
Using punctuation marksUsing punctuation marks
Using punctuation marks
 
Gatekeepers - How to get pass them.
Gatekeepers - How to get pass them.Gatekeepers - How to get pass them.
Gatekeepers - How to get pass them.
 
Clase inaugural
Clase inauguralClase inaugural
Clase inaugural
 
บรรณานุกรมพฤติกรรม
บรรณานุกรมพฤติกรรมบรรณานุกรมพฤติกรรม
บรรณานุกรมพฤติกรรม
 

Similar to การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา

กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขPornthip Tanamai
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยjirapom
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาOppo Optioniez
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบweeraboon wisartsakul
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศKlangpanya
 
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกอธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกKlangpanya
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )Pornthip Tanamai
 

Similar to การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 304 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกอธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 

การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา

  • 1. การบริ หารงานตามหลักอธิ ปไตยในพระพุทธศาสนา ๑. บทนํา ั ั ี ั้ ระบอบ การบริหารประเทศที่ใช้กนอยู่ในปจจุบนนี้มทงระบอบประชาธิปไตย และ ั ระบอบคอมมิวนิ ส ต์ หรือ ระบอบเผด็จการ ยังไม่ม ีก ารตัดสินที่ช ดเจนว่า ระบอบไหนดีก ว่า ั กัน แต่การบริหารด้วยระบอบประชาธิปไตย เป็ นระบอบที่ยอมรับกันทั ่วไปว่าเป็ นระบอบที่ดี ั ั ที่สุดในปจจุ บนนี้ ในขณะที่ประเทศคอมมิว นิสต์ก็ยกให้ระบอบคอมมิวนิส ต์เป็ น ระบอบการ บริหารดีท่ี สุด เช่น ประเทศสหภาพโซเวีย ต ในอดีต ประเทศจีน ประเทศเกาหลีเหนื อ ใน ั ั ปจจุบน เป็นต้น การทีจะตัดสินว่าระบอบไหนดีกว่ากันคงตัดสินยากเพราะแต่ละระบอบก็มทงข้อ ่ ี ั้ ดีและข้อเสีย ถ้าจะเอาความรํ่ารวยของประเทศ หรือว่า เอา ความสุขของประชาชนในประเทศ เป็นเกณฑ์ตดสิน ก็ตดสินไม่ได้เด็ดขาด เพราะแต่ละประเทศที่บริหารด้วยระบอบเดียวกันก็ไม่ ั ั เหมือนกัน กล่าวคือ ฐานะของประเทศชาติและความเป็นอยู่ของประชาชนต่างกัน เช่น ประเทศ เกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ ประเทศเกาหลีเหนือ บริหารประเทศด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ ผูนํา ้ ประเทศได้รบการยกย่องเชิดชูเป็นทีเกรงขามของต่างประเทศ ข้าราชการมีฐานะอยู่ดกนดี แต่ ั ่ ี ิ ประชาชนในประเทศอดอยาก ยากแค้น อยู่อย่างลําบากยากจน ประชาชนอยากจะย้ายหนีจาก ประเทศตัวเอง ในขณะที่ประเทศเกาหลีใต้ บริหารประเทศด้วยระบอบประชาธิปไตย ประเทศ เจริญรุ่งเรือง ประชาชนมีฐานะดี อยู่ดมสุขทังรัฐบาลและเอกชน ประชาชนไม่อยากย้ายหนีไป ี ี ้ ไหน ในขณะเดียวกันมีแต่ประชาชนต่างประเทศอยากจะเข้าไปอยู่ประกอบอาชีพในเกาหลีใต้ ในกรณีข องประเทศจีนที่บริหารประเทศด้วยระบอบคอมมิวนิส ต์ ในอดีตชาวจีน อพยพไปอยู่ต่างประเทศแล้วสร้างฐานะรํ่ารวยในประเทศที่ไปอยู่ใหม่ท ั ่วโลกโดยเฉพาะประเทศ แถบเอเชียด้วยกัน เช่น ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ลาว เวียดนาม กัมพูชา เป็นต้น แต่ ั ั ในปจจุบนประเทศจีนกลับเจริญรุ่งเรืองในหลายๆ ด้าน ทั ่วโลกต้องจับตาดูความเคลื่อนไหวของ จีน แสดงให้เห็นว่า การบริหารประเทศด้วยระบอบคอมมิวนิสต์กมขอดีอยู่เหมือนกัน ในขณะที่ ็ ี ้ ประเทศอื่นๆ ทีบริหารประเทศด้วยระบอบประชาธิปไตย ประเทศชาติยงยากจนอยู่ ประชาชนก็ ่ ั ยากจน ต้องไปทํางานประกอบอาชีพต่างประเทศก็มเี ยอะเหมือนกัน อย่างนี้กทําให้ตดสินยากว่า ็ ั ระบอบการบริหารไหนดีทสุดและเหมาะทีสุดสําหรับการบริหารประเทศในปจจุบน ่ี ่ ั ั ในทางพระพุทธศาสนามีหลักการบริหารประเทศที่พระพุทธองค์ได้วางหลักไว้ คือ หลักอธิปไตย ๓ ได้แก่ อัตตาธิปไตย โลกาธิปไตย ธัมมาธิปไตย ซึ่งหลักการเหล่านี้ยงคงใช้อยู่ ั ั ั จนถึงปจจุบน ในบทความนี้ผเขียนจะได้ศกษาวิเคราะห์หลักการทัง ๓ นี้ว่า พระพุทธองค์วาง ู้ ึ ้
  • 2. ๒ หลักการแต่ละอย่างไว้เพื่อเป้าหมายอะไร หลักการไหนควรใช้เมื่อไหร่ และใช้อย่างไร เพราะ เหตุไรพระองค์จงวางหลักเหล่านี้ไว้ หลักทัง ๓ นี้ ถ้าปฏิบตตามแล้วจะได้ผลอย่างไร ึ ้ ั ิ ๒. ความหมายของอธิ ปไตย อธิปไตย หมายถึง ความเป็นใหญ่ มี ๓ อย่างคือ อัตตาธิปไตย ความมีตนเป็ นใหญ่ โลกาธิปไตย ความมีโลกเป็นใหญ่ ธัมมาธิปไตย ความมีธรรมเป็นใหญ่ ๑ 0 อธิปไตย หมายถึง อํานาจที่ม ีผลต่อ การตัดสิน คือ อัตตาธิปไตย หมายถึงการ ตัดสินใจที่ถอความคิดของตนเองเป็ นที่ตง โลกาธิปไตย การถือตามความคิดของคนส่วนมาก ื ั้ เป็นทีตง ธัมมาธิปไตย การถือตามความถูกต้องโดยถือหลักเหตุผลทีเหมาะสม ไม่ถอตามความ ่ ั้ ่ ื ๒ เชืออย่างสุดโต่ง ่ 1 ๓. วิ เคราะห์การบริ หารตามหลักอธิ ปไตย ๓ ในพระพุทธศาสนา อธิปไตย คือความเป็ นใหญ่ในเรื่องเกี่ยวกับการบริหารงานหรือการปกครอง การที่ ครอบครัวและองค์กรจะประสบความสําเร็จเจริญรุ่งเรือง จําต้องมีคณะผูบริหารเป็ นผูขบเคลื่อน ้ ้ ั กิจการของครอบครัวหรือองค์กร หลักการบริหารก็มหลายรูปแบบ บางคนก็ถนัดการทํางานแบบ ี เอาตัวเป็ นศูนย์ก ลาง คือ ตัวเองเป็ นใหญ่ หรือ ภาษาสมัยใหม่เรียกว่า ซีอ ีโ อ CEO (Chief Executive Officer) หมายถึง บุคคลทีมอํานาจและความรับผิดชอบสูงสุดในองค์การหรือบริษท ่ ี ั ๓ 2 บางคนก็ถ นั ด การทํ า งานเป็ น ทีม เอาความคิด เห็ น ของคนส่ ว นใหญ่ เ ป็ น หลัก หรื อ ประชาธิปไตย บางคนก็ถนัดยึดเอาหลักการเป็ นใหญ่ ไม่คํานึงเสียงส่วนมากแต่คํานึงถึงความ ถูก ต้อ งเป็ นใหญ่ ในพระพุทธศาสนามีหลักอธิปไตย ๓ อย่าง คือ อัตตาธิปไตย โลกาธิปไตย และธัมมาธิปไตย ต่อไปนี้จะได้ศกษาวิเคราะห์อธิปไตยแต่ละหัวข้อตามลําดับ ึ ๓.๑ อัตตาธิ ปไตย การบริหารตามหลักอัตตาธิปไตยก็คอการบริหารตามรูปแบบของ ซี อี โอ แนวคิดนี้ ื ่ ่ มีหลักทีสําคัญคือ ประธานหรือหัวหน้าฝายบริหารสูงสุดของบริษทได้รบมอบอํานาจหน้าที่จาก ั ั คณะกรรมการอํานวยการ หรือบอร์ดของบริษทให้มอํานาจในการจัดการ ซึ่งรวมถึงการกําหนด ั ี นโยบาย การตัดสินใจ และการใช้อํานาจจัดการบริษทอย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ๔ หน้าที่สําคัญอีก ั 3 ๑ ท.ี ปา. (ไทย) ๑๑/๓๐๕/๒๗๔, องฺ. ติก. (ไทย) ๒๐/๔๐/๒๐๑, ดูเพมเติมใน พระพระพรหม- ิ่ คุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบบประมวลศพท์, พมพ์ครงท่ี ๑๖, (กรุงเทพมหานคร : ั ั ิ ั้ โรงพมพ์ บรษท สหธรรมก จากด, ๒๕๕๔), หน้า ๔๘๔. ิ ิ ั ิ ํ ั ๒ http://th.wikipedia.org/wiki/อธปไตย (๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๕). ิ ๓ http://blog.eduzones.com/jipatar/ (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕). ๔ http://blog.eduzones.com/jipatar/ (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).
  • 3. ๓ อย่างของ ซีอ ีโอ ก็คอ ควรต้อ งบริหารทรัพยากรบุคคลให้เป็ น สื่อ สารให้เป็ น ไม่เช่นนัน ไม่ ื ้ เพียงแต่จะไม่ประสบความสําเร็จ แต่ยงอาจเกิดแรงสะท้อ นกลับมาในทางลบ เพียงเพราะ ั ประสานงาน และสื่อสารกับคนในองค์กรได้ไม่ชดเจน ๕ ั4 การบริห ารระบบนี้ เ หมาะกับ การบริห ารครอบครัว และองค์ ก รขนาดเล็ก เช่ น บริษทเอกชน หรือการนํ าระบบนี้ไปบริหารองค์การใหญ่ๆ ที่เป็ นของเอกชนก็สามารถประสบ ั ความสําเร็จได้ถ้าผูนําเป็ นคนฉลาด รอบคอบ มีวสยทัศน์ม องการณ์ไกล เช่น ตัวอย่างที่นาย ้ ิ ั ประสิทธิ ์ กาญจนวัฒน์ กล่าวถึงการบริหารงานขององค์การโทรศัพ ท์ว่า องค์การโทรศัพท์ใช้ เวลาติดตังโทรศัพท์ ๔๐ ปี ได้ ๒.๔ ล้านเลขหมาย พอบริษทในเครือ ซี พี คือบริษทเทเลคอม ้ ั ั เอเซีย เข้าไปสัมปทานจากรัฐบาลใช้เวลา ๕ ปี ติดตังโทรศัพท์ให้ประชาชน ได้ ๒ ล้านเลขหมาย ้ ๖ เท่ากันกับทีองค์การโทรศัพท์ทํา ๔๐ ปี ่ 5 จาก ตัวอย่างนี้แสดงให้เห็นว่า การบริหารงานแบบอัตตาธิปไตย หรือแบบเอาผูนํา ้ เป็นทีตงทําให้ประสบความสําเร็จ และมีคุณภาพเหมือนกัน ทังนี้ขนอยู่กบความรู้ ความสามารถ ่ ั้ ้ ้ึ ั ของผูนําด้วย ้ ในทางพระพุทธศาสนาการบริหารแบบอัตตาธิปไตย พระพุทธองค์ทรงใช้เมื่อสมัย ตรัสรูใหม่ๆ สาวกยังมีจํานวนน้อยสามารถดูแลทัวถึงตัวอย่างที่พระองค์ใช้อตตาธิปไตยในการ ้ ่ ั บริห ารคณะสงฆ์ เช่น การที่พ ระองค์อ นุ ญ าตให้กุ ล บุ ตรผู้ม ีค วามประสงค์จะบวชเป็ น ภิก ษุ พระองค์ทรงอนุญาตให้อุปสมบทด้วยการเปล่งพระวาจาว่า เธอจงเป็ นภิกษุมาเถิด หรือเรียกว่า เอหิอุปสัมปทา ๗ อาทิ การประทานการอุปสมบทให้แก่พระอัญญาโกณฑัญญะ เป็ นต้น การ 6 บริหารแบบอัตตาธิปไตยนี้กทําให้การบริหารคณะสงฆ์ของพระองค์เป็ นไปด้วย ความเรียบร้อย ็ ทําให้การเผยแผ่พระธรรมวินยเจริญรุ่งเรืองขึนตามลําดับ แต่พระองค์กไม่ได้ยดเอาหลักการนี้ใช้ ั ้ ็ ึ ในการบริหารตลอดไป เมื่อหมู่สาวกมีจํานวนเพิมมากขึนพระองค์จงเปลียนเป็ นการบริหารแบบ ่ ้ ึ ่ โลกาธิปไตย และธัมมาธิปไตย ๓.๒ การบริ หารงานตามหลักโลกาธิ ปไตย การ บริหารงานตามหลักโลกาธิปไตย คือการบริหารยึดเอาเสียงข้างมากเป็ นเกณฑ์ ั ั ในการตัดสินใจ ในปจจุบนเรียกว่า ระบอบประชาธิปไตย เป็ นระบอบที่ได้รบการยอมรับทั ่วโลก ั เพราะอํานาจบริหารเป็ นของประชาชน แต่เนื่องจากประชาชนมีเป็ นจํานวนมากจึงต้อ งเลือ ก ตัว แทนเข้า ไปบริห าร ระบอบนี้ จึง จัด ให้ ม ีก ารเลือ กตัง ตัว แทนหรือ ผู้แ ทน เช่ น เลือ กตัง ้ ้ ประธานาธิบดี เลือ กตังสมาชิกวุฒสภา เลือ กตังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็ นต้น ข้อ ดีข อง ้ ิ ้ ๕ http://www.classifiedthai.com/content.(๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕). ๖ อภิวฒน์ วรรณกร, ประสิทธ์ ิ กาญจนวฒน์ คิด พด เขียน, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์ ั ั ู สุขภาพใจ, ๒๕๔๐), หน้า ๑๓๘. ๗ ดรายละเอยดใน ว.ิ ม. (ไทย) ๔/๑๘/๒๕. ู ี
  • 4. ๔ ระบอบนี้ค ือ ประชาชนมีสทธิเ์ ลือ กตัวแทนของตนเองด้วยตนเอง ผูแทนเข้าไปบริหารต้องฟ ง ิ ้ ั เสียงของประชาชนด้วย เพราะถ้าบริหารไม่ดีสมัยต่อไป ประชาชนก็ไ ม่เลือ ก ระบอบนี้มการ ี แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ภายใต้กฎหมายรัฐธรรมนู ญ ข้อเสียคือ ทําให้ล่าช้า เพราะต้อ ง ้ ้ ี ั ผ่านกระบวนการหลายขันตอน การเลือ กตังก็มการซื้อสิทธิ ์ขายเสียงกันซึ่งเป็ นปญหาใหญ่ไ ม่ ้ ่ สามารถแก้ไข ได้อย่างถาวรหรือเด็ดขาด เพราะยินยอมกันทังสองฝาย เช่นตัวอย่างที่เกิดขึนใน ้ ประเทศไทย จากเหตุการณ์ทเี กิดขึนกับประเทศไทยนี้แสดงให้เห็นว่าระบอบประชาธิปไตยทีใช้กน ้ ่ ั อยู่น้ีไม่เหมาะกับประเทศไทย สอดคล้อ งกับข้อ มูลที่ สิริอญญา ได้นําเสนอในบทความเรื่อ ง ั “พุทธทาสกับธรรมาธิปไตย” ตอนหนึ่งว่า สํานักวิจยสําคัญของสหรัฐอเมริกาได้แฉโพยกันเอง ั แล้วว่า ระบอบประชาธิปไตย ไม่เหมาะสมกับประเทศในเอเซียและในประเทศไทย เพราะมิได้ คํานึงถึงความแตกต่างระหว่างเมือ งกับชนบท มิไ ด้คํานึงถึงการซื้อ เสียงและการใช้อํานาจ อิทธิพล ตลอดจนการคอร์รปชันซึ่งเป็นด้านหลักทีปกคลุมประเทศในเอเชียอยู่ สํานักวิจยนี้จงได้ ั ่ ่ ั ึ ชีวาประเทศในเอเซียจึงพากันปฏิเสธประชาธิปไตยแบบที่สหรัฐต้องการให้เป็ นแทบจะ สิ้นเชิง ้่ แล้ว แม้กระทังคนซึ่งต่อต้านคอมมิวนิสต์ชนิดหัวเด็ดตีนขาดก็ปฏิเสธประชาธิปไตย แบบ ่ ตะวันตกนันแล้ว ๘ ้ 7 สิริอญญา ได้อ้างถึง พุทธทาสภิก ขุว่า ท่านเจ้าคุณได้อ รรถาธิบายนากาลต่อมาว่า ั สิทธิเสรีภ าพก็มีทงดีและไม่ดี คือมีทงฝ่ายสัม มาและฝ่ายมิจฉา นันคือสิทธิเสรีภ าพที่รบใช้ ั้ ั้ ่ ั ประเทศชาติ รับใช้ประชาชนเพื่อประโยชน์ของประชาชนเป็ นสิทธิเสรีภาพที่เป็ นสัมมา แต่สทธิ ิ เสรีภ าพในการทําลายชาติบ้านเมือ งเป็ นสิทธิเสรีภาพแบบมิจฉา การปกครองไม่ว่าในระบบ ไหนๆ หากไม่ถอธรรมเป็ นใหญ่ ไม่เคารพธรรมและไม่เป็ นธรรมแล้ว การปกครองนันๆ ก็ใช้ ื ้ ไม่ได้ทงสิน เช่นเดียวกับความสามัคคีหรือความสมานฉันท์หรือการปรองดอง หากไม่ตงอยู่ใน ั้ ้ ั้ ๙ ธรรม ไม่เป็นไปโดยธรรมแล้ว ล้วนใช้ไม่ได้ทงสิน ั้ ้ 8 พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ได้แสดงทัศนะว่า โลกาธิปไตย เป็นดาบสองคม มีทงคุณและโทษ กล่าวคือหากเสียงส่วนใหญ่ประกอบด้วยธรรม มาจากผูมคุณธรรม ย่อมให้คุณ ั้ ้ ี แต่หากไม่ประกอบด้วยธรรม มาจากผูขาดธรรมย่อมให้โทษมากกว่าให้คุณ ๑๐ สอดคล้องกับ ้ 9 ทัศนะที่ว่า พระพุทธองค์ได้ตรัสสอนเกี่ยวกับการกระทําของมนุ ษย์ว่าเกิดขึนด้วยอํานาจ แห่ง ้ อธิปไตย ๓ ประการนี้ ประการใดประการหนึ่ง ทังในส่วนที่เป็ นกุศลกรรม และอกุศลกรรม เช่น ้ ๘ สิร ิอ ัญ ญา บทความเรื่อ ง “พุ ท ธทาสกับ ธรรมาธิ ป ไตย, [ออนไลน์ ] แหล่ ง ท่ีม า : http://www.paisalvision.com (๓๑ สงหาคม ๒๕๕๕). ิ ๙ http://www.paisalvision.com/ (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕). ๑๐ พระธรรมกิต ติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙, ราชบณฑต), คาวด, [ออนไลน์ ] แหล่งท่มา : ั ิ ํ ั ี http://www.kalyanamitra.org (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).
  • 5. ๕ คนทําดีเพราะเห็นตามคนส่วนใหญ่ หรือในทางกลับกัน คนทําชัวเพราะเห็นตามคนส่วนใหญ่ ่ ๑๑ โดยไม่พนิจพิจารณาว่าทีคนส่วนใหญ่ทํานันถูกหรือผิด ิ ่ ้ 10 ในพระพุ ท ธศาสนาพระพุ ท ธองค์ ท รงอนุ ญ าตให้ ใ ช้ ก ารบริ ห ารแบบระบอบ โลกาธิปไตยเหมือนกัน เช่น ต่อมามีสาวกเพิมมากขึนพระองค์จงมอบอํานาจการบริหารให้เป็ น ่ ้ ึ หน้ าที่ของคณะสงฆ์ ให้ค ณะสงฆ์เป็ นใหญ่ อาทิ ทรงอนุ ญาตให้ม ีการอุปสมบทด้วยวิธีญัตติ จตุตถกรรมวาจา ๑๒ คือทรงอนุ ญาตให้มพระภิกษุเข้าร่วมสังฆกรรมอย่างน้อย ๕ รูปเป็ นอย่าง 11 ี น้อย เฉพาะในชนบทที่ห่างไกล ส่วนในมัชฌิมประเทศ ทรงอนุ ญาตให้มพระภิกษุเข้าร่วมสังฆ ี ๑๓ ่ กรรมตังแต่ ๑๐ ขึนไป คณะสงฆ์ฝายเถรวาทจึงได้ยดเอาหลักนี้ปฏิบตมาจนถึงทุกวันนี้ ้ ้ 12 ึ ั ิ จากหลักฐานที่ปรากฏในพระไตรปิ ฎกจะเห็นว่าพระพุทธองค์ทรงสรรเสริญระบอบ การบริหารแบบโลกาธิปไตยมาก เช่น การทีพระองค์แนะนํ าให้พระนางปชาบดีโคตมีผเป็ นพระ ่ ู้ มาตุ จ ฉา (น้ า ) ผู้ต้อ งการจะถวายผ้า ไหมเนื้อ ดีท่ีพ ระนางทอเองแก่ พ ระพุ ท ธเจ้าเพื่อ จะได้ อานิสงส์มาก แต่พระองค์แนะนําให้พระนางถวายแก่สงฆ์จะได้อานิสงส์มากกว่า เรื่องนี้ปรากฏใน พระไตรปิ ฎกเล่ม ที่ ๑๒ ชื่อว่า ทัก ขิณ าวิภ ัง คสูต ร ในมัช ฌิม นิก าย อุ ปริปณ ณาสก์ ๑๔ แต่ ั 1 3 โลกาธิปไตยในความหมายนี้พระพุทธองค์หมายถึงเสียงส่วนมากหรือ สงฆ์ท่ทําตามธรรมตาม ี วินย ถ้าผิดธรรมผิดวินยพระองค์กตเิ ตียน ดังพระพุทธพจน์วา “นิคฺคณฺเห นิคฺคหารหํ ติเตียนคน ั ั ็ ่ ทีควรติเตียน” “ปคฺคณฺเห ปคฺคหารหํ ยกย่องคนทีควรยกย่อง” ๑๕ ่ ่ ๓.๓ การบริ หารงานตามหลักธัมมาธิ ปไตย การบริหารงานตามหลักธัมมาธิปไตย คือ การบริหารแบบยึดเอาความถูกต้องเป็ น เกณฑ์ไม่ได้คํานึงเสียงส่วนใหญ่ท่ไ ม่ถูกต้องชอบธรรม มีนักปราชญ์ทางด้านพระพุทธศาสนา ี หลายท่านได้แสดงทัศนะเกียวกับการบริหารงานตามหลักการนี้ไว้ เช่น ่ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต) ได้แสดงทัศนะไว้ในหนังสือเรื่อง “ธรรมาธิปไตย ไม่มา จึงหาประชาธิปไตยไม่เจอ” สรุปใจความได้ว่า ธรรมาธิปไตยไม่ใช่ระบบแยกต่างหาก อีก ระบบจากประชาธิปไตย แต่เป็ นคุณภาพ “เป็ นหลักเกณฑ์ในการตัดสินใจของบุคคลที่อยู่หรือ ร่วมอยู่ในระบบการปกครองนัน” ถ้าการตัดสินใจโดยตรวจสอบเรื่องราว สืบค้นความจริง หา ้ ั ข้อมูลให้ชดเจนถ่องแท้ ใช้ปญญาพิจารณาในการตัดสินใจต่างๆ เช่น ถ้าในระบอบประชาธิปไตย ั ก็เป็ นการตัดสินใจเลือกตัง โดยพิจารณาว่าผูสมัครคนไหนเป็ นคนดี มีความสามารถ มุ่งทํา ้ ้ ประโยชน์ ให้ส่วนรวมจริงๆ ก็ตดสินใจไปตามความดีงามความถูกต้อ งนัน นี้เรียกว่าเป็ น ั ้ ๑๑ http://www.br.ac.th (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕). ๑๒ คอการสวดตงญตตประกาศใหสงฆทราบ ๑ ครง แลวสวดประกาศรบเขาหมู่ ๓ ครง. ื ั้ ั ิ ้ ์ ั้ ้ ั ้ ั้ ๑๓ ดรายละเอยดใน ว.ิ ม. (ไทย) ๕/๒๕๙/๓๙, ๓๘๘/๒๗๖, ๔๕๐/๓๒๘. ู ี ๑๔ ดรายละเอยดใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๓๗๖/๔๒๔-๔๓๒. ู ี ๑๕ ขุ.ชา. (ไทย) ๒๗/๒๔๔๒/๕๓๑.
  • 6. ๖ ธรรมาธิปไตย แต่ถาเลือกโดยเอาผลประโยชน์ของตัวเองเป็ นหลัก นี้เรียกว่าอัตตาธิปไตย หรือ ้ ตัดสินใจเลือกโดยว่าไปตามกระแส ลงคะแนนแบบเฮตามพวกไป นี้เรียกว่าโลกาธิปไตย ๑๖ 15 พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) ได้แสดงทัศนะไว้ในหนังสือเรื่อง “พุทธวิธี บริหาร” ตอนว่าด้วยการบริหารตามหลักธัมมาธิปไตยสรุปใจความได้ว่า การบริหารตามหลัก ้ ั ธัมมาธิปไตย ผูบริหารต้องประกอบด้วยพละ ๔ คือ ปญญาพละ วิรยพละ อนวัชชพละ สังคหพละิ ั ั ปั ญญาพละ กําลังคือปญญา หมายถึง ผูบริหารต้อ งมีปญญา คือ ต้อ งเป็ นผู้ขวนขวายเพื่อให้ ้ ั ั ั เกิดปญญา ๓ ด้าน อาทิ สุตมยปญญา ปญญาเกิดจากการฟง จินตามยปญญา ปญญาเกิดจาก ั ั ั ั ั การคิด ภาวนามยปญญา ปญญาเกิดจากการปฏิบติ หรือการเจริญภาวนา ในที่น้ีท่านอธิบาย ั การรอบรู้ ๓ อย่าง คือ รูจกตน รูคน รู้งาน รู้จกตนเองคือรู้ความสามารถของตน อุปนิสยของ ้ั ้ ั ั ตน รูจกคน คือรูจกคนทีทํางานร่วมกัน หมายความว่า มอบงานให้ถูกกับคน และรู้งาน คือรู้จก ้ั ้ั ่ ั งานที่ร ับผิดชอบ วิ ริ ย พละ พลัง ของความเพีย ร ผู้บ ริห ารต้อ งเป็ นคนขยัน อดทน ต่อ สู้ก ับ อุปสรรคต่างๆ ทีเกิดขึน ไม่ทอดทิ้งธุระกลางครัน ในที่น้ีท่านอธิบายเกี่ยวกับสสังขาริกะ คือ มี ่ ้ ความขยันสูงานเพราะคนอื่นชักชวนแนะนํ า อสังขาริกะ มีความขยันสู้งานด้วยความเพียรของ ้ ตนเอง อนวัชชพละ พลังแห่งการงานทีไม่มโทษ คือประกอบการงานสุจริต ไม่ผดกฎหมายและ ่ ี ิ ศีลธรรม ท่านอธิบายว่า ผูบริหารต้องเว้นอบายมุข อันเป็ นทางแห่งความเสื่อม เช่น ไม่ตดการ ้ ิ พนัน ไม่ตดสุรายาเสพติด ไม่เกียจคร้าน ไม่คบมิตรชัว จากนันให้รกษาศีล ๕ ให้บริสุทธิ ์ สังคหพละ ิ ่ ้ ั คือให้มพรหมวิหาร ๔ ประกอบด้วย เมตตา กรุณา มุทตา อุเบกขา และสังคหพละ พลังแห่งการ ี ิ สงเคราะห์ หมายถึงผูบริหารต้องเป็นคนสงเคราะห์เพื่อนร่วมงานตามสมควรแก่ตําแหน่ งหน้าที่ ้ การสงเคราะห์มหลายวิธี เช่น การให้สงของ การพูดจาด้วยถ้อยคําไพเราะ สุภาพอ่อนโยน การ ี ิ่ ช่วยเหลือการงานบางครังบางคราว และการวางตัวเสมอต้นเสมอปลายหรือการเอาใจเขามาใส่ ้ ๑๗ ใจเรา16 ั จากทัศนะของพระธรรมโกศาจารย์ทนําเอาปญญาพละมาเป็นเครื่องมือในการบริหาร ่ี ตามหลักธัมมาธิปไตยนี้ ผูเ้ ขียนมีความเห็นสอดคล้องกับทัศนะดังกล่าวนี้เพราะพระพุทธองค์ได้ ั ตรัสสรรเสริญปญญาไว้หลายแห่งต่างกาลต่างวาระกัน เช่น ตรัสว่า “ป�ฺญา โลกสฺม ิ ปชฺโชโต ปญญาเป็ นแสงสว่างในโลก” ๑๘ “ป�ฺญา นรานํ รตนํ ปญญา เป็ นรัตนะของนรชน” ๑๙ เป็ นต้น ั ั ๑๖ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต), ธรรมาธิ ปไตยไม่มา จึงหาประชาธิ ปไตยไม่เจอ, ปี ๒๕๔๙), หน้า ๑๓, [ออนไลน์] แหล่งทมา : http://www.nidambe11.net (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕). ่ี ๑๗ พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจตฺโต), พุทธวิ ธีบริ หาร, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมพ์ ิ ิ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙), หน้า ๕๓-๗๘. ๑๘ สํ.ส. (บาลี) ๑๕/๘๐/๓๓. สํ.ส. (ไทย) ๑๕/๘๐/๘๕. ๑๙ สํ.ส. (บาลี) ๑๕/๕๑-๕๒/๒๖, สํ.ส. (ไทย) ๑๕/๕๑/๖๗.
  • 7. ั ั ตามหลักพระพุทธศาสนา มีปจจัยเป็นเครื่องพัฒนาปญญาอยู่ ๒ อย่าง คือ ปรโตโฆสะและโยนิโส มนสิการ ๒๐19 ปรโตโฆสะ แยกออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่เป็ นบุคคลโดยตรง เช่น บิดามารดา ครู อาจารย์ ผูเ้ ป็นกัลยาณมิตร คอยแนะนําตักเตือน ในสิงทีดงามก่อให้เกิดความรูหรือปญญา เรียก ่ ่ ี ้ ั ั อีก อย่างหนึ่งว่า ปจจัยภายนอก ส่วนที่สองได้แก่ คัม ภีร์ต่าง ๆ ที่บนทึก คําสอนของท่านผู้รู้ ั ทังหลาย เช่น ตํารับตํารา หรือหนังสือเรียน เป็ นต้น เป็ นแหล่งความรู้ท่เป็ นประโยชน์เมื่อได้ ้ ี อ่านแล้วจะทําให้เกิดปญญา ั ั โยนิโสมนสิการ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปจจัยภายใน ได้แก่การพิจารณาไตร่ตรอง ใคร่ ค รวญสิ่ ง ที่ ไ ด้ ร ับ ฟ ัง มาจากบิ ด ามารดา ครู อ าจารย์ นั ้น หรื อ ที่ ไ ด้ อ่ า นมานั ้น ตาม ั ั กําลังสติปญญา ก็จะทําให้เกิดปญญาเพิ่มขึ้น เช่น ได้ยนบิดามารดาบอกว่า การดื่มสุราไม่ดี ิ เพราะจะทํ า ให้สูญ เสีย การทรงตัว สติจะอ่อ นกํา ลัง ไม่ ส ามารถควบคุ ม ความคิด หรือ อวัย วะ ั ั ร่างกายของตนให้อยู่ในสภาวะปกติได้ เมื่อได้รบฟงมาอย่างนี้แล้ว ก็นําไปคิดไตร่ตรองต่อว่า เพราะเหตุไร สุราจึงมีฤทธิ ์ทําให้คนทีด่มเป็นอย่างนัน ก็ตองไปศึกษาต่อว่า สุราประกอบด้วยสาร ่ ื ้ ้ อะไรบ้าง หรือว่า สุราทํามาจากอะไร เมื่อคิดพิจารณาอย่างนี้แล้วก็จะทราบข้อเท็จจริงของสุรา ความรูทได้กกลายเป็นปญญา ทีเกิดขึนด้วยโยนิโสมนสิการ ๒๑ ้ ่ี ็ ั ่ ้ 20 จากข้อความทีได้ทําการศึกษามานี้แสดงให้เห็นว่าการบริหารตามหลักธัมมาธิปไตย ่ ้ ั ผูบริหารต้องประกอบด้วยพละ ๔ ประการ คือ ปญญาพละ วิรยพละ อนวัชชพละ และสังคหพละ ิ ดังกล่าวนันจึงจะประสบความสําเร็จในการบริหารตามเป้าหมายทีตงไว้ ้ ่ ั้ เรื่องการรื้อฟื้ นคดีข้นมาตัดสินใหม่ข องเจ้าชายพันธุละมหาอํามาตย์ของพระเจ้า ึ ปเสนทิโกศล เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งทีแสดงให้เห็นว่า เจ้าพันธุละ ได้บริหารตามหลักธัมมาธิปไตย ่ ความย่อว่า เจ้าชายพันธุละ ได้รอฟื้ นคดีความทีคณะผูพพากษาชุดเดิมตัดสินไม่เป็นธรรมขึนมา ้ื ่ ้ ิ ้ พิจารณา ใหม่ แล้วตัดสินให้ผถูก เป็ นฝ่ายชนะ ให้ผผดเป็ นฝ่ายแพ้ ทําให้ประชาชนพอใจการ ู้ ู้ ิ ตัดสินของเจ้าชายพันธุละ พากันส่งเสียงสาธุการ ดังไปถึงพระตําหนักของพระเจ้าปเสนทิโกศล พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงทราบเรื่องจึงแต่งตังให้เสนาบดีพนธุละ เป็นผูพพากษาอีกตําแหน่งหนึ่ง ้ ั ้ ิ ๒๒ 21 ๒๐ องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๑๒๗/๑๑๕, องฺ.ทุก.อ. (ไทย) ๒/๑๒๗/๕๓. ๒๑ พระมหาธานินทร์ อาทตวโร, “การพัฒนาสังขารเพื่อการบรรลธรรมในพระพุทธศาสนาเถร ิ วาท”, วิ ทยานิ พนธ์ พทธศาสตรดษฎีบณฑิต, (บณฑตวทยาลย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ุ ุ ั ั ิ ิ ั ๒๕๕๕), หน้า ๗๐. ๒๒ ดรายละเอยดใน ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๓/๑๙๗. ู ี
  • 8. การทีพระพุทธเจ้าทรงแต่งตังอัครสาวกทังสอง คือพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ ่ ้ ้ ก็ทําตามธัมมาธิปไตย กล่าวคือ พระเถระทังสองรูปนี้เคยได้บําเพ็ญบารมีมาตังแต่อดีตชาติเพื่อ ้ ้ ได้ตําแหน่ งอัครสาวกของพระพุทธเจ้าองค์ใดองค์หนึ่ง ถึงแม้ว่าการแต่งตังครังนันจะมีเสียง ้ ้ ้ คัดค้านจากพระภิกษุเป็นจํานวนมากว่า พระองค์เห็นแก่หน้า เห็นแก่พวกพ้อง เพราะพระเถระ ทังสองรูปนันเพิ่ง จะบวชไม่น าน มีพระเถระที่ม ีพ รรษามากกว่าและเหมาะสมกว่าหลายรู ป ้ ้ ั พระองค์นํ าเรื่องราวในอดีตชาติข องแต่ละรูป มาแสดงให้พ วกภิก ษุ ฟ ง เสียงคัดค้า นจึงเงีย บ หายไปทุกรูปจึงยอมรับการตัดสินพระทัยของพระองค์ ๒๓ 22 ในบรรดาอธิปไตยทัง ๓ นัน ธัมมาธิปไตยนี้พระองค์ให้ความสําคัญมากเห็นได้จาก ้ ้ พระพุทธพจน์ทปรากฏในพระ ไตรปิฎกหลายแห่งทีพระองค์ทรงเตือนให้ภิกษุ ยึดเอาธรรมเป็ น ่ี ่ ใหญ่ ทรงแนะนําให้ภกษุยดเอาพระธรรมเป็นทีพง เช่น พระพุทธพจน์ในมหาปรินิพานสูตร ทีฆ ิ ึ ่ ่ึ นิกาย มหาวรรค ในจักกวัตติสูตร ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค ในโคปกโมคคัลลานสูตร ในอัตตทีป สูตร สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค ในคิลานสูตร สังยุตตนิกาย มหาวารวรรคว่า “ภิกษุทงหลาย เธอทังหลาย จงมีตนเป็นเกาะ มีตนเป็นทีพง ไม่มสงอื่นเป็นทีพง จงมี ั้ ้ ่ ่ึ ี ิ่ ่ ่ึ ๒๔ ธรรมเป็นเกาะ มีธรรมเป็นทีพงไม่มสงอืนเป็นทีพงอยู่เถิด” ่ ่ึ ี ิ่ ่ ่ ่ึ ๔. บทสรุป การบริหารงานตามหลักอธิปไตย ๓ คือการบริหารแบบเอาตัวเป็ นใหญ่ในการตัดสิน สังการโดยไม่ต้องขอความเห็นจากคนอื่น เมื่อสั ่งการไปแล้วผูส ั ่งรับผิดชอบแต่ผเดียว เรียกว่า ่ ้ ู้ อัตตาธิไตย ข้อดีของการบริหารแบบนี้ คือ ทําให้รวดเร็วทันใจ ได้งานมาก ข้อเสีย คือ โอกาสที่ จะผิดพลาดมีสูง และเป็นการปิดกันการแสดงความคิดเห็นของคนอื่น การบริหารแบบเอาเสียง ้ ั ั ้ ส่วนมากเป็ นเกณฑ์ตดสิน หรือการบริหารแบบประชาธิปไตยในปจจุบน ผูเป็ นหัวหน้าต้องฟ ง ั ั เสียงคนอื่นด้วย เมื่อเสียงส่วนมากว่าอย่างไรก็เอาตามนัน เรียกว่า โลกาธิปไตย ข้อดีของการ ้ บริหารแบบนี้ คือ ทุกคนมีส่วนร่วมในการบริหารหรือ แสดงความคิดเห็น การบริหารโปร่งใส เพราะมีระบบการตรวจสอบ ข้อเสียคือ ทําให้ล่าช้าเพราะต้อ งผ่านกระบวนการหลายขันตอน ้ การบริหารแบบเอาความถูกต้องเป็ นหลักโดยไม่คํานึงถึงเสียงส่วนมาก เรียกว่า ธัมมาธิปไตย แต่ถาเสียงส่วนมากถูกก็ถอว่าเป็นธัมมาธิปไตยเหมือนกัน พระพุทธองค์ได้วางหลักการบริหาร ้ ื ทัง ๓ นี้ไว้เพื่อเป็นแนวทางให้สาวกนําไปประยุกต์ใช้ในการบริหารงาน ตามความเหมาะสมแก่ ้ สถานการณ์ดงทีพระองค์ได้ใช้เป็นแบบอย่างมานัน ในบรรดาหลักการบริหารทัง ๓ นี้ พระองค์ ั ่ ้ ้ ๒๓ ดรายละเอยดใน ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑/๕๕. ู ี ๒๔ ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๖๕/๑๑๑, ท.ี ปา. (ไทย) ๑๑/๘๐/๕๙, ม.อุ . (ไทย) ๑๔/๘๐/๘๗, สํ. ขนฺธ. (ไทย) ๑๗/๔๓/๕๙, สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๒๗๕/๒๒๔.
  • 9. ๙ จะให้ความสําคัญกับหลักธัมมาธิปไตยมากกว่า เพราะการยึดธรรมเป็นใหญ่หรือยึดความถูกต้อง เป็นหลักจะนํามาซึ่งความเจริญรุ่งเรืองโดยส่วนเดียว โดยสรุปไม่วาจะบริหารแบบไหน ถ้ายึดความถูกต้องตามธรรมตามระเบียบกฎหมาย ่ และระเบียบขององค์กรนันๆ ก็ถือว่าเป็ นการบริหารตามหลักธัมมาธิปไตยเหมือนกัน เพราะ ้ หลักการบริหารทัง ๓ นี้ไม่สามารถแยกออกจากกันโดยเบ็ดเสร็จเด็ดขาด เหตุท่หลักธรรมใน ้ ี พระพุทธศาสนาสามรถเชือมโยงถึงกันหมดไม่วาจะยกหลักธรรมข้อไหนขึนมาปฏิบตกเ็ ท่ากับได้ ่ ่ ้ ั ิ ปฏิบตตามหลักคําสอนครบทังหมด ั ิ ้ บรรณานุกรม ๑. ภาษาบาลี – ไทย : ก. ข้อมูลปฐมภูมิ
  • 10. ๑๐ มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย . พระไตรปิ ฎกภาษาบาลี ฉบับ มหาจุ ฬ าเตปิ ฏกํ . กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๐๐. __________. พระไตรปิ ฎกภาษาไทย ฉบับ มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ทยาลั ย . กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙. __________. อรรถกถาบาลี ฉบับมหาจุฬาอฏฺฐกถา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์วญญาณ ิ , ๒๔๙๙,๒๕๓๓-๒๕๓๔. มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระไตรปิ ฎกพร้อมอรรถกถาแปล. ชุด ๙๑ เล่ม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหา มกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔. ข. ข้อมูลทุติยภูมิ (๑) หนังสือ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครังที่ ้ ๑๖. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ บริษท สหธรรมิก จํากัด, ๒๕๕๔. ั พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุ กรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิม พ์ค รังที่ ้ ๑๒. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖. พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). พุทธวิ ธีบริ หาร. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙. อภิวฒน์ วรรณกร. ประสิ ทธิ์ กาญจนวัฒน์ คิ ด พูด เขียน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์ ั สุขภาพใจ, ๒๕๔๐. (๒) วิ ทยานิ พนธ์ พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร. “การพัฒนาสังขารเพื่อการบรรลุธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท”. วิ ทยานิ พนธ์ พุทธศาสตรดุษฎีบณฑิ ต. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง ั กรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๕. (๓) สื่ออิ เล็กทรอนิ กส์ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). ธรรมาธิ ปไตยไม่มา จึงหาประชาธิ ปไตยไม่เจอ. (ออนไลน์) แหล่งทีมา : http://www.nidambe11.net (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕). ่ สิ ริ อ ั ญ ญ า บท ค วา ม เรื่ อ ง “พุ ทธ ท า ส กั บ ธรรม า ธิ ป ไต ย , [อ อน ไ ลน์ ] แหล่ ง ที่ ม า : http://www.paisalvision.com (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕). http://www.paisalvision.com/ (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).
  • 11. ๑๑ พระธรรมกิต ติว งศ์ (ทองดี สุร เตโช ป.ธ.๙, ราชบัณฑิต ). คํา วัด. [ออนไลน์ ] แหล่ง ที่ม า : http://www.kalyanamitra.org (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕). http://www.br.ac.th (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕). http://www.classifiedthai.com/content.(๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕). http://th.wikipedia.org/wiki/อธิปไตย (๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๕). http://blog.eduzones.com/jipatar/ (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕). http://blog.eduzones.com/jipatar/ (๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕).