SlideShare a Scribd company logo
ั      ่
            รู้กนดีอยูแล้วว่า โรคถุงลมโป่ งพอง เกิดขึ้นเพราะมีสาเหตุสาคัญมาจากการ
สู บบุหรี่ แล้วคุณรู ้จก โรคถุงลมโป่ งพอง ดีแล้วหรื อยัง วันนี้ กระปุกดอทคอม มีขอมูล
                         ั                                                      ้
เรื่ อง โรคถุงลมโป่ งพอง มาฝากกัน
            โรคถุงลมโป่ งพอง เป็ นสาเหตุการเสี ยชีวิตลาดับที่ 6 ของประชากรทัวโลก
                                                                              ่
ในปี ค.ศ.1990 (พ.ศ.2533) และเป็ นลาดับที่ 5 ในปี ค.ศ.2001 (พ.ศ.2544) ซึ่ งองค์การ
อนามัยโลก ประมาณการว่า ทัวโลกมีผป่วยเสี ยชีวตจาก โรคถุงลมโป่ งพอง ประมาณปี
                                 ่        ู้        ิ
                                     ่
ละ 3 ล้านคน และมีการคาดการณ์วา ในปี ค.ศ.2030 (พ.ศ.2573) โรคถุงลมโป่ งพอง จะ
ขยับขึ้นมาเป็ นสาเหตุการเสี ยชีวิตของประชากรโลกในลาดับที่ 4
            สาหรับในประเทศไทย โรคถุงลมโป่ งพอง เป็ นปัญหาสาธารณสุ ขที่เป็ น
สาเหตุการเสี ยชีวตในลาดับต้น ๆ ของคนไทย ประมาณการว่ามีผป่วยเสี ยชีวิตด้วย โรค
                    ิ                                               ู้
ถุงลมโป่ งพอง ประมาณปี ละ 15,000 คน และในจานวนผูสูบบุหรี่ 10 ล้านคน จะมี
                                                            ้
ผูป่วยด้วย โรคถุงลมโป่ งพอง 1 ล้านคน ในจานวนนี้ 3 แสนคน มีอาการชัดเจนที่
   ้
ต้องการความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
สาหรับสาเหตุการเกิด โรคถุงลมโป่ งพอง ร้อยละ 90 มาจาก
การสูบบุหรี่ มีเพียงส่ วนน้อยที่เป็ นความผิดปกติแต่กาเนิดจากการขาด
                                           ู้ ่
เอนไซม์ โดย โรคถุงลมโป่ งพอง นี้ผที่อยูในกลุ่มเสี่ ยงส่ วนใหญ่จะ
เป็ นผูติดบุหรี่ ผูที่สูบบุหรี่ มีโอกาสเป็ น โรคถุงลมโป่ งพอง ได้ทุกคน
       ้           ้
                                ่ ั
ต่างกันที่ชาหรื อเร็ ว ขึ้นอยูกบระยะเวลาในการสูบบุหรี่ และปริ มาณ
            ้
การตอบสนองของร่ างกายต่อควันบุหรี่ และพันธุกรรม เช่น โรคหอบ
                                                ่
หื ด โรคภูมิแพ้ หรื อบิดามารดาเป็ นโรคนี้อยูแล้ว ฯลฯ
่
ผูที่เป็ น โรคถุงลมโป่ งพอง ในขั้นต้นจะไม่คอยปรากฎอาการมากนั้น โดยมีอาการ
  ้
ทัวไปคือ ไอเรื้ อรัง มีเสมหะ เป็ นหวัดง่าย เหนื่อย คออักเสบ หลอดลมอักเสบบ่อย ๆ
    ่
และหายยาก ต่อมาจะหอบเหนื่อย เพราะได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ หายใจมีเสี ยง
หายใจลาบาก เพราะหลอดลมตีบขึ้น อาการจะมากขึ้นตามการเสื่ อมของถุงลมในปอด
               ในรายที่เป็ นมากจะมีอาการหอบเหนื่อยมาก จนไม่สามารถทางาน เดิน หรื อ
ใช้ชีวตประจาวันตามปกติได้ ต้องนอนพักให้ออกซิเจนตลอดเวลา เพราะมีภาวะ
         ิ
ออกซิเจนในเลือดต่า สร้างความทุกข์ทรมานให้ผป่วยเป็ นอย่างยิง รวมทั้งญาติพนอง
                                                   ู้         ่            ่ี ้
                                                          ่
และผูพบเห็นต้องทุกข์ใจเช่นกัน อาการหอบเหนื่อยที่มีอยูตลอดเวลาจะสร้างความ
           ้
ทุกข์ทรมานให้ผป่วยจนกว่าจะเสี ยชีวต และผูป่วย โรคถุงลมโป่ งพอง เหล่านี้จะ
                    ู้                  ิ      ้
เสี ยชีวตจากโรคแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม ภาวะการหายใจวายและภาวะหัวใจวาย
             ิ
ขั้นที่ 1 เป็ นขั้นที่มีปัจจัยเสี่ ยงและเริ่ มมีการอุดกั้นของหลอดลมเล็ก ๆ ซึ่งเป็ นระยะ
ที่ผป่วยยังไม่มีอาการ และพยาธิ สภาพที่เกิดขึ้นในหลอดลมเล็ก ๆ เหล่านั้น สามารถ
    ู้
                       กลับคืนสู่ ปกติได้เมื่อหยุดบุหรี่ สาเร็ จ


 ขั้นที่ 2 มีการอุดกั้นของหลอดลมและความเสื่ อมของถุงลมชัดเจน โดยทราบได้
  จากการตรวจสมรรถภาพปอด ในขั้นนี้ผป่วยจะมีอาการไอและเหนื่อยไม่มาก
                                  ู้
ขั้นที่ 3 ผูป่วยจะมีอาการไอและเหนื่อยมากขึ้น ผลการตรวจสมรรถภาพ
             ้
                          ปอดเสื่ อมลงอีก


ขั้นที่ 4 ผูป่วย โรคถุงลมโป่ งพอง จะมีการเสื่ อมของหลอดลมและถุงลมมาก
            ้
มีภาวะการหายใจวายและหัวใจวายเกิดขึ้น ระยะนี้ผป่วย โรคถุงลมโป่ งพอง
                                             ู้
                    จาเป็ นต้องพึ่งออกซิ เจน
ปั จจุบนยังไม่มีการรักษาใดที่สามารถทาให้ โรคถุงลมโป่ งพอง หายได้ แต่
                ั
การใช้ยาจะช่วยให้ผป่วยมีอาการดีข้ ึนและปอดถูกทาลายช้าลง โดยยาที่รักษา โรคถุง
                    ู้
                                 ลมโป่ งพอง คือ

                              ยาขยายหลอดลม
       มีท้ งชนิดกิน ฉี ด และพ่น ปั จจุบนนิยมใช้ยาพ่นที่ออกฤทธิ์ นาน ส่ วนยาพ่น
            ั                           ั
                 ชนิ ดออกฤทธิ์ เร็ วมักใช้ในกรณี ที่ผป่วยเริ่ มหอบ
                                                     ู้
ยาสเตียรอยด์
        มักใช้ในกรณี ที่ผป่วย โรคถุงลมโป่ งพอง มีอาการรุ นแรง หรื อมีอาการหลอดลม
                         ู้
 อักเสบร่ วมด้วย เพราะยาสเตียรอยด์ออกฤทธิ์ ตานการอักเสบได้ดี แต่ไม่นิยมใช้ต่อเนื่อง
                                             ้
เป็ นเวลานาน เพราะมีผลข้างเคียงมาก ปั จจุบนนิ ยมใช้ยาสเตียรอยด์ชนิ ดพ่นมากกว่าชนิด
                                           ั
                                 รับประทานหรื อฉี ด


                                   ยาปฏิชีวนะ
       จะใช้กรณี พบว่ามีการอักเสบติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ พบการอักเสบ
   ของหลอดลม โดยผูป่วยจะไอมีเสมหะมากขึ้น และเสมหะเปลี่ยนจากสี ขาวเป็ นสี
                    ้
                       เหลือง หรื อสี เขียว หรื อเป็ นหนอง
ยาละลายเสมหะ
      ใช้เมื่อมีเสมหะเหนียว และมีเสมหะมาก ผูป่วยควรทานน้ าให้มากขึ้น เพราะ
                                               ้
                  น้ าเป็ นตัวละลายความเหนียวของเสมหะได้ดีที่สุด




           โรคถุงลมโป่ งพอง สามารถป้ องกันได้ดวยการงดสู บบุหรี่ รวมทั้ง
                                                ้
                                    ่
หลีกเลี่ยงการทางาน และการเข้าไปอยูในบริ เวณที่มีควันพิษ หรื อในที่ที่มีผสูบบุหรี่
                                                                         ู้
         ่
และแม้วา โรคถุงลมโป่ งพอง นี้ จะทาให้เกิดโรคเมื่อมีอายุมากก็ตาม แต่ผที่เสี่ ยงต่อ
                                                                      ู้
การเกิดโรคควรรับการตรวจสมรรถภาพปอด เพราะหากตรวจพบ โรคถุงลมโป่ ง
พอง ในระยะเริ่ มแรกก็อาจหลีกเลี่ยง หรื อป้ องกันได้
องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) และองค์การโรคถุงลมโป่ งพองแห่งโลก
(Global Initiative for Chronic Obstructive Lung Disease-GOLD) ได้ กาหนดให้ มี วัน
รณรงค์ ถุงลมโป่ งพองโลก หรือ World COPD Day ซึ่งตรงกับวันพุธที่ 2 ของเดือน
พฤศจิกายนของทุกปี โดยวันถุงลมโป่ งพองโลก เริ่ มขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ.2002 (พ.ศ.2545)
โดยมีจุดประสงค์ในการกาหนด วันรณรงค์ถุงลมโป่ งพองโลก เพื่อกระตุนเตือนให้บุคลากร
                                                                     ้
ทางการแพทย์ และการสาธารณสุ ขที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักว่า โรคถุงลมโป่ งพอง เป็ นปั ญหา
ทางสาธารณสุ ขของประเทศที่สาคัญโรคหนึ่ง อันเนื่องมาจากการสูบบุหรี่ ผูป่วยด้วย โรคถุง
                                                                       ้
ลมโป่ งพอง นี้ตองทุกข์ทรมานจากอาการไอเรื้ อรัง เหนื่อย และหายใจลาบาก เนื่องจากความ
                 ้
เสื่ อมของถุงลมและปอด ซึ่ งควรจะได้รับการดูแลรักษาเพื่อให้มีคุณภาพ
        นอกจากนี้เป็ นการกระตุนให้ประชาชนตระหนัก และรับรู ้พิษภัยของการสู บบุหรี่ ซึ่ ง
                               ้
เป็ นสาเหตุสาคัญที่ก่อให้เกิด โรคถุงลมโป่ งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง

More Related Content

What's hot

โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551
Utai Sukviwatsirikul
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดWan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
2010_PMC Respiatory Disease
2010_PMC Respiatory Disease2010_PMC Respiatory Disease
2010_PMC Respiatory Disease
Nursing Room By Rangsima
 
Can we offer COPD patients better life?
Can we offer COPD patients better life?Can we offer COPD patients better life?
Can we offer COPD patients better life?Narenthorn EMS Center
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากWan Ngamwongwan
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจWan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
Management of COPD
Management of COPDManagement of COPD
Management of COPD
Utai Sukviwatsirikul
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)Wan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัด
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
2010_PMC Respiatory Disease
2010_PMC Respiatory Disease2010_PMC Respiatory Disease
2010_PMC Respiatory Disease
 
Can we offer COPD patients better life?
Can we offer COPD patients better life?Can we offer COPD patients better life?
Can we offer COPD patients better life?
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปาก
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
Asthma guideline for children
Asthma guideline for childrenAsthma guideline for children
Asthma guideline for children
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
Management of COPD
Management of COPDManagement of COPD
Management of COPD
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
 

Viewers also liked

Catalogo Pneus Inglese
Catalogo Pneus IngleseCatalogo Pneus Inglese
Catalogo Pneus IngleseElla Campione
 
Eli lilly exodus refugee immigration, inc-1458
Eli lilly exodus refugee immigration, inc-1458Eli lilly exodus refugee immigration, inc-1458
Eli lilly exodus refugee immigration, inc-1458SuperServiceChallenge2013
 
Indiana sports corporation indiana sports corporation's geared for health- sp...
Indiana sports corporation indiana sports corporation's geared for health- sp...Indiana sports corporation indiana sports corporation's geared for health- sp...
Indiana sports corporation indiana sports corporation's geared for health- sp...SuperServiceChallenge2013
 
Getting & Maintaining Peak Performance
Getting & Maintaining Peak PerformanceGetting & Maintaining Peak Performance
Getting & Maintaining Peak Performance
Kathi Kroop
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดvalharnvarkiat
 
Juno Health Talk (feb 2017)
Juno Health Talk (feb 2017)Juno Health Talk (feb 2017)
Juno Health Talk (feb 2017)
Peter Chen
 
เรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมเรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมWan Ngamwongwan
 
ศรว 51 By Cmu
ศรว 51 By Cmuศรว 51 By Cmu
ศรว 51 By Cmu
vora kun
 
Nuevo Código de Policía
Nuevo Código de PolicíaNuevo Código de Policía
Nuevo Código de Policía
Carlos Arturo Moreno Alarcón
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
Prachaya Sriswang
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
Prachaya Sriswang
 
Ppt. ปอด
Ppt. ปอดPpt. ปอด
Ppt. ปอด
Prachaya Sriswang
 
โรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.Pptxโรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.PptxWan Ngamwongwan
 
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdfTb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
Utai Sukviwatsirikul
 
UU 4 tahun 2009 (UU Minerba)
UU 4 tahun 2009 (UU Minerba)UU 4 tahun 2009 (UU Minerba)
UU 4 tahun 2009 (UU Minerba)Fikri Irsyad
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
Wan Ngamwongwan
 
Cancer cycle
Cancer cycle Cancer cycle
Cancer cycle
piyarat wongnai
 
Sales Management Strategy Q4 2016 - Q1 2017
Sales Management Strategy Q4 2016 - Q1 2017Sales Management Strategy Q4 2016 - Q1 2017
Sales Management Strategy Q4 2016 - Q1 2017
Julio Sanz Velasco
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
Prachaya Sriswang
 

Viewers also liked (20)

Catalogo Pneus Inglese
Catalogo Pneus IngleseCatalogo Pneus Inglese
Catalogo Pneus Inglese
 
Eli lilly exodus refugee immigration, inc-1458
Eli lilly exodus refugee immigration, inc-1458Eli lilly exodus refugee immigration, inc-1458
Eli lilly exodus refugee immigration, inc-1458
 
Indiana sports corporation indiana sports corporation's geared for health- sp...
Indiana sports corporation indiana sports corporation's geared for health- sp...Indiana sports corporation indiana sports corporation's geared for health- sp...
Indiana sports corporation indiana sports corporation's geared for health- sp...
 
Getting & Maintaining Peak Performance
Getting & Maintaining Peak PerformanceGetting & Maintaining Peak Performance
Getting & Maintaining Peak Performance
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
Juno Health Talk (feb 2017)
Juno Health Talk (feb 2017)Juno Health Talk (feb 2017)
Juno Health Talk (feb 2017)
 
เรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมเรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวม
 
ศรว 51 By Cmu
ศรว 51 By Cmuศรว 51 By Cmu
ศรว 51 By Cmu
 
Nuevo Código de Policía
Nuevo Código de PolicíaNuevo Código de Policía
Nuevo Código de Policía
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อแนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
 
Ppt. ปอด
Ppt. ปอดPpt. ปอด
Ppt. ปอด
 
โรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.Pptxโรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.Pptx
 
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdfTb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
 
UU 4 tahun 2009 (UU Minerba)
UU 4 tahun 2009 (UU Minerba)UU 4 tahun 2009 (UU Minerba)
UU 4 tahun 2009 (UU Minerba)
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
Cancer cycle
Cancer cycle Cancer cycle
Cancer cycle
 
Sales Management Strategy Q4 2016 - Q1 2017
Sales Management Strategy Q4 2016 - Q1 2017Sales Management Strategy Q4 2016 - Q1 2017
Sales Management Strategy Q4 2016 - Q1 2017
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 

Similar to โรคถุงลมโป่งพอง

มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงWan Ngamwongwan
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
Utai Sukviwatsirikul
 
Management of patient with asthma
Management of patient with asthmaManagement of patient with asthma
Management of patient with asthma
Utai Sukviwatsirikul
 
โรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งปอดโรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
งานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืดงานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืดWan Ngamwongwan
 
โรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรีโรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรีWan Ngamwongwan
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
วนิดา
วนิดาวนิดา
วนิดาsupphawan
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
mewsanit
 
URI.pptx
URI.pptxURI.pptx
URI.pptx
KiettisakPadee
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
4LIFEYES
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
สุขภาพกับการป้องกันโรค
สุขภาพกับการป้องกันโรคสุขภาพกับการป้องกันโรค
สุขภาพกับการป้องกันโรค
Sumon Kananit
 
การรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอดการรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอด
โฮลลี่ เมดิคอล
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
60941
 

Similar to โรคถุงลมโป่งพอง (20)

มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียง
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
Management of patient with asthma
Management of patient with asthmaManagement of patient with asthma
Management of patient with asthma
 
โรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งปอดโรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งปอด
 
งานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืดงานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืด
 
โรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรีโรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรี
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
วนิดา
วนิดาวนิดา
วนิดา
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
URI.pptx
URI.pptxURI.pptx
URI.pptx
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
Pneumonia
PneumoniaPneumonia
Pneumonia
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
สุขภาพกับการป้องกันโรค
สุขภาพกับการป้องกันโรคสุขภาพกับการป้องกันโรค
สุขภาพกับการป้องกันโรค
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
การรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอดการรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอด
 
ไซนัส
ไซนัส ไซนัส
ไซนัส
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 

More from Wan Ngamwongwan

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
Wan Ngamwongwan
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
Wan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
Wan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
Wan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
Wan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบโรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบWan Ngamwongwan
 
หลอดลมอักเสบ
หลอดลมอักเสบหลอดลมอักเสบ
หลอดลมอักเสบWan Ngamwongwan
 

More from Wan Ngamwongwan (17)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 
โรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบโรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบ
 
หลอดลมอักเสบ
หลอดลมอักเสบหลอดลมอักเสบ
หลอดลมอักเสบ
 

โรคถุงลมโป่งพอง

  • 1.
  • 2. ่ รู้กนดีอยูแล้วว่า โรคถุงลมโป่ งพอง เกิดขึ้นเพราะมีสาเหตุสาคัญมาจากการ สู บบุหรี่ แล้วคุณรู ้จก โรคถุงลมโป่ งพอง ดีแล้วหรื อยัง วันนี้ กระปุกดอทคอม มีขอมูล ั ้ เรื่ อง โรคถุงลมโป่ งพอง มาฝากกัน โรคถุงลมโป่ งพอง เป็ นสาเหตุการเสี ยชีวิตลาดับที่ 6 ของประชากรทัวโลก ่ ในปี ค.ศ.1990 (พ.ศ.2533) และเป็ นลาดับที่ 5 ในปี ค.ศ.2001 (พ.ศ.2544) ซึ่ งองค์การ อนามัยโลก ประมาณการว่า ทัวโลกมีผป่วยเสี ยชีวตจาก โรคถุงลมโป่ งพอง ประมาณปี ่ ู้ ิ ่ ละ 3 ล้านคน และมีการคาดการณ์วา ในปี ค.ศ.2030 (พ.ศ.2573) โรคถุงลมโป่ งพอง จะ ขยับขึ้นมาเป็ นสาเหตุการเสี ยชีวิตของประชากรโลกในลาดับที่ 4 สาหรับในประเทศไทย โรคถุงลมโป่ งพอง เป็ นปัญหาสาธารณสุ ขที่เป็ น สาเหตุการเสี ยชีวตในลาดับต้น ๆ ของคนไทย ประมาณการว่ามีผป่วยเสี ยชีวิตด้วย โรค ิ ู้ ถุงลมโป่ งพอง ประมาณปี ละ 15,000 คน และในจานวนผูสูบบุหรี่ 10 ล้านคน จะมี ้ ผูป่วยด้วย โรคถุงลมโป่ งพอง 1 ล้านคน ในจานวนนี้ 3 แสนคน มีอาการชัดเจนที่ ้ ต้องการความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
  • 3. สาหรับสาเหตุการเกิด โรคถุงลมโป่ งพอง ร้อยละ 90 มาจาก การสูบบุหรี่ มีเพียงส่ วนน้อยที่เป็ นความผิดปกติแต่กาเนิดจากการขาด ู้ ่ เอนไซม์ โดย โรคถุงลมโป่ งพอง นี้ผที่อยูในกลุ่มเสี่ ยงส่ วนใหญ่จะ เป็ นผูติดบุหรี่ ผูที่สูบบุหรี่ มีโอกาสเป็ น โรคถุงลมโป่ งพอง ได้ทุกคน ้ ้ ่ ั ต่างกันที่ชาหรื อเร็ ว ขึ้นอยูกบระยะเวลาในการสูบบุหรี่ และปริ มาณ ้ การตอบสนองของร่ างกายต่อควันบุหรี่ และพันธุกรรม เช่น โรคหอบ ่ หื ด โรคภูมิแพ้ หรื อบิดามารดาเป็ นโรคนี้อยูแล้ว ฯลฯ
  • 4. ่ ผูที่เป็ น โรคถุงลมโป่ งพอง ในขั้นต้นจะไม่คอยปรากฎอาการมากนั้น โดยมีอาการ ้ ทัวไปคือ ไอเรื้ อรัง มีเสมหะ เป็ นหวัดง่าย เหนื่อย คออักเสบ หลอดลมอักเสบบ่อย ๆ ่ และหายยาก ต่อมาจะหอบเหนื่อย เพราะได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ หายใจมีเสี ยง หายใจลาบาก เพราะหลอดลมตีบขึ้น อาการจะมากขึ้นตามการเสื่ อมของถุงลมในปอด ในรายที่เป็ นมากจะมีอาการหอบเหนื่อยมาก จนไม่สามารถทางาน เดิน หรื อ ใช้ชีวตประจาวันตามปกติได้ ต้องนอนพักให้ออกซิเจนตลอดเวลา เพราะมีภาวะ ิ ออกซิเจนในเลือดต่า สร้างความทุกข์ทรมานให้ผป่วยเป็ นอย่างยิง รวมทั้งญาติพนอง ู้ ่ ่ี ้ ่ และผูพบเห็นต้องทุกข์ใจเช่นกัน อาการหอบเหนื่อยที่มีอยูตลอดเวลาจะสร้างความ ้ ทุกข์ทรมานให้ผป่วยจนกว่าจะเสี ยชีวต และผูป่วย โรคถุงลมโป่ งพอง เหล่านี้จะ ู้ ิ ้ เสี ยชีวตจากโรคแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม ภาวะการหายใจวายและภาวะหัวใจวาย ิ
  • 5. ขั้นที่ 1 เป็ นขั้นที่มีปัจจัยเสี่ ยงและเริ่ มมีการอุดกั้นของหลอดลมเล็ก ๆ ซึ่งเป็ นระยะ ที่ผป่วยยังไม่มีอาการ และพยาธิ สภาพที่เกิดขึ้นในหลอดลมเล็ก ๆ เหล่านั้น สามารถ ู้ กลับคืนสู่ ปกติได้เมื่อหยุดบุหรี่ สาเร็ จ ขั้นที่ 2 มีการอุดกั้นของหลอดลมและความเสื่ อมของถุงลมชัดเจน โดยทราบได้ จากการตรวจสมรรถภาพปอด ในขั้นนี้ผป่วยจะมีอาการไอและเหนื่อยไม่มาก ู้
  • 6. ขั้นที่ 3 ผูป่วยจะมีอาการไอและเหนื่อยมากขึ้น ผลการตรวจสมรรถภาพ ้ ปอดเสื่ อมลงอีก ขั้นที่ 4 ผูป่วย โรคถุงลมโป่ งพอง จะมีการเสื่ อมของหลอดลมและถุงลมมาก ้ มีภาวะการหายใจวายและหัวใจวายเกิดขึ้น ระยะนี้ผป่วย โรคถุงลมโป่ งพอง ู้ จาเป็ นต้องพึ่งออกซิ เจน
  • 7. ปั จจุบนยังไม่มีการรักษาใดที่สามารถทาให้ โรคถุงลมโป่ งพอง หายได้ แต่ ั การใช้ยาจะช่วยให้ผป่วยมีอาการดีข้ ึนและปอดถูกทาลายช้าลง โดยยาที่รักษา โรคถุง ู้ ลมโป่ งพอง คือ ยาขยายหลอดลม มีท้ งชนิดกิน ฉี ด และพ่น ปั จจุบนนิยมใช้ยาพ่นที่ออกฤทธิ์ นาน ส่ วนยาพ่น ั ั ชนิ ดออกฤทธิ์ เร็ วมักใช้ในกรณี ที่ผป่วยเริ่ มหอบ ู้
  • 8. ยาสเตียรอยด์ มักใช้ในกรณี ที่ผป่วย โรคถุงลมโป่ งพอง มีอาการรุ นแรง หรื อมีอาการหลอดลม ู้ อักเสบร่ วมด้วย เพราะยาสเตียรอยด์ออกฤทธิ์ ตานการอักเสบได้ดี แต่ไม่นิยมใช้ต่อเนื่อง ้ เป็ นเวลานาน เพราะมีผลข้างเคียงมาก ปั จจุบนนิ ยมใช้ยาสเตียรอยด์ชนิ ดพ่นมากกว่าชนิด ั รับประทานหรื อฉี ด ยาปฏิชีวนะ จะใช้กรณี พบว่ามีการอักเสบติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ พบการอักเสบ ของหลอดลม โดยผูป่วยจะไอมีเสมหะมากขึ้น และเสมหะเปลี่ยนจากสี ขาวเป็ นสี ้ เหลือง หรื อสี เขียว หรื อเป็ นหนอง
  • 9. ยาละลายเสมหะ ใช้เมื่อมีเสมหะเหนียว และมีเสมหะมาก ผูป่วยควรทานน้ าให้มากขึ้น เพราะ ้ น้ าเป็ นตัวละลายความเหนียวของเสมหะได้ดีที่สุด โรคถุงลมโป่ งพอง สามารถป้ องกันได้ดวยการงดสู บบุหรี่ รวมทั้ง ้ ่ หลีกเลี่ยงการทางาน และการเข้าไปอยูในบริ เวณที่มีควันพิษ หรื อในที่ที่มีผสูบบุหรี่ ู้ ่ และแม้วา โรคถุงลมโป่ งพอง นี้ จะทาให้เกิดโรคเมื่อมีอายุมากก็ตาม แต่ผที่เสี่ ยงต่อ ู้ การเกิดโรคควรรับการตรวจสมรรถภาพปอด เพราะหากตรวจพบ โรคถุงลมโป่ ง พอง ในระยะเริ่ มแรกก็อาจหลีกเลี่ยง หรื อป้ องกันได้
  • 10. องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) และองค์การโรคถุงลมโป่ งพองแห่งโลก (Global Initiative for Chronic Obstructive Lung Disease-GOLD) ได้ กาหนดให้ มี วัน รณรงค์ ถุงลมโป่ งพองโลก หรือ World COPD Day ซึ่งตรงกับวันพุธที่ 2 ของเดือน พฤศจิกายนของทุกปี โดยวันถุงลมโป่ งพองโลก เริ่ มขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ.2002 (พ.ศ.2545) โดยมีจุดประสงค์ในการกาหนด วันรณรงค์ถุงลมโป่ งพองโลก เพื่อกระตุนเตือนให้บุคลากร ้ ทางการแพทย์ และการสาธารณสุ ขที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักว่า โรคถุงลมโป่ งพอง เป็ นปั ญหา ทางสาธารณสุ ขของประเทศที่สาคัญโรคหนึ่ง อันเนื่องมาจากการสูบบุหรี่ ผูป่วยด้วย โรคถุง ้ ลมโป่ งพอง นี้ตองทุกข์ทรมานจากอาการไอเรื้ อรัง เหนื่อย และหายใจลาบาก เนื่องจากความ ้ เสื่ อมของถุงลมและปอด ซึ่ งควรจะได้รับการดูแลรักษาเพื่อให้มีคุณภาพ นอกจากนี้เป็ นการกระตุนให้ประชาชนตระหนัก และรับรู ้พิษภัยของการสู บบุหรี่ ซึ่ ง ้ เป็ นสาเหตุสาคัญที่ก่อให้เกิด โรคถุงลมโป่ งพอง