SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
Upper Respiratory
Tract Infections
Common cold
Pharyngitis
Rhinosinusitis
Otitis media
Common cold
Causes
Virus
Respiratory syncytial virus (RSV)
Rhinovirus Coronavirus
Adenovirus Parainfluenza viruses
Causes
Virus
Influenza virus -> Influenza
ไข้สูง 2-4 วัน หนาวๆร้อนๆ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อมาก
เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย (อาจเป็นนาน 1-4 สัปดาห์)
Signs & Symptoms
• น้ามูกไหล ระยะแรกใส และจะข้นขึ้น และน้อยลง
• คัดจมูก จาม ระคายคอ เจ็บคอ ไอ อ่อนเพลีย
• อาจมีไข้ได้ (พบในเด็กมากกว่า)
• ระยะโรคประมาณ 7-14 วัน
Risk factors
• อายุน้อย
• สัมผัสหรือดูแลเด็กวัยเรียน
• อยู่ในที่ชุมชนแออัด ระบายกาศไม่ดี
• สูบบุหรี่หรือใกล้ชิดคนสูบบุหรี่
• ภาวะเครียด
• เดินทางโดยเครื่องบิน
Complications
- Bacterial rhinitis
- Bacterial sinusitis
- Acute otitis media
- Bronchitis
- Bronchiolitis
- Pneumonia
- Asthma exacerbation
Treatment
ใช้ยารักษาตามอาการ
• Analgesic/NSIADs ลดอาการไข้/ปวดศีรษะ
• 1st gen. Antihistamines ลดน้ามูก ลดอาการแพ้
• Decongestants บรรเทาอาการคัดจมูก
• รักษาโรคแทรกซ้อน (ถ้ามี)
Treatment
Decongestant เป็นยาลดอาการคัดจมูกอย่างเดียว
- แบบพ่นจมูก เช่น naphazoline, oxymetazoline, phenylephrine >>
ไม่ควรใช้ติดต่อกัน 3-5 วัน เพราะจะทาให้เกิด rebound congestion
- ยารับประทาน : มีผลทาง systemic มีการกระตุ้น alpha-adrenoceptor
ต้องระวังในผู้ป่วยโรคความดันสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ ต่อมลูกหมากโต
- Pseudoephridine -> วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ประเภท 2
- Phenylephrine (ร้านยาไม่มียาตารับเดี่ยว มีเพียงสูตรผสมกับ CPM)
Pharyngitis
Causes
Virus
50%
Bacteria
20%
Non-infection
30%
•Rhinovirus
•Coronavirus
•Adenovirus
•Influenza virus
•Parainfluenza virus
•Epstein-Barr virus
•Most common
Streptococcus pyogenes
•Group A Streptococcus (GAS)
Signs & Symptoms
• ไข้ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
• เจ็บคอเฉียบพลัน กลืนลาบาก
• คอหอยและทอนซิลบวมแดง อาจพบจุดหนองหรือ
แผ่นเยื่อสีขาวๆ ที่ต่อมทอนซิล
• ต่อมน้าเหลืองที่คอโต กดเจ็บ
Refer!!!
• ปวดบริเวณหน้าอกเวลาหายใจเข้า
• หายใจสั้น และเร็ว
• หายใจออกมีเสียงหวีด (wheeze)
• เสมหะมีเลือดปน
• หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ
• ไอติดต่อกันเป็นเวลานานต่อเนื่องอย่างน้อย 3 สัปดาห์
• ไอเป็นเสียงไอกรน (whooping cough)
DDx
Rapid antigen
detection test
(RADT)
Throat
swab & culture
Gold standard
Clinical scoring
system
Centor or McIsaac score
Clinical scoring system
Mclsaac scoring system คะแนน
มีไข้ (BT>38°C) 1
ไม่ไอ 1
ต่อมน้าเหลืองที่คอโตและกดเจ็บ 1
มีหนองที่ต่อมทอนซิล 1
อายุ
• 3-14 ปี
• 15-44 ปี
• ≥ 45 ปี
1
0
-1
คะแนนรวม แปลผล
-1 ถึง 1 No ATB
2 ถึง 3 ตรวจหาเชื้อก่อนพิจารณา ATB
≥ 4 ให้ ATB
Complications
- Rheumatic fever
- Acute glomerulonephritis
- Peritonsillar abscess
- Retropharyngeal abscess
- Sinusitis
- Otitis media
Treatment
Drug Dosage Duration
Penicillin V Children: 250 mg BID or TID
Adults: 250 mg QID or 500 mg BID
10 d
Amoxicillin 50 mg/kg (max 1 g) OD or
25 mg/kg (max 500 mg) BID
10 d
Benzathine Pen G (IM) Children < 27 kg: 600,000 U
Children ≥ 27 kg & Adults: 1.2 mU
1 does
Cephalexin 20 mg/kg/dose (max 500 mg) BID 10 d
Cefadroxil 30 mg/kg (max 1 g) OD 10 d
Clindamycin 7 mg/kg/dose (max 300 mg) TID 10 d
Azithromycin 12 mg/kg (max 500 mg) OD 5 d
Clarithromycin 7.5 mg/kg/dose (max 250 mg) BID 10 d
Treatment
Drug Dosage Duration
Clindamycin 20–30 mg/kg/d divided to TID (max 300 mg/dose) 10 d
Penicillin V and
rifampin
Penicillin V: 50 mg/kg/d in 4 doses (max 2 g/d)
Rifampin: 20 mg/kg/d (max 600 mg) OD × last 4 d of
treatment
10 d
Amoxicillin–
clavulanic acid
40 mg amoxicillin/kg/d divided to TID (max 2 g of
amoxicillin/d)
10 d
Benzathine
penicillin G (IM)
plus rifampin (PO)
Benzathine pen G: <27 kg: 600,000 U
≥27 kg: 1.2 mU
Rifampin: 20 mg/kg/d divided to BID (max 600 mg/d)
Benzathine
pen G:
1 dose
rifampin:
4 d
ข้อสอบ
กรณีศึกษา 1 MCQ ปี 2556
เด็กหญิงอายุ 10 ปี เจ็บคอเวลากลืนน้าลาย เป็นมา 3 วัน มีไข้ ไม่
ไอ ไม่มีน้ามูก ไม่คัดจมูก ปฏิเสธการแพ้ยาหรือโรคประจาตัว
ปฏิเสธการรักษาตัวในโรงพยาบาลใน 6 เดือน ที่ผ่านมา
1. จากอาการดังกล่าวผู้ป่วยเป็นโรคอะไร ?
ก. Bronchitis
ข. Flu
ค. Pharyngitis
ง. Asthma
จ. Croup
กรณีศึกษา 1 MCQ ปี 2556
เด็กหญิงอายุ 10 ปี เจ็บคอเวลากลืนน้าลาย เป็นมา 3 วัน มีไข้ ไม่
ไอ ไม่มีน้ามูก ไม่คัดจมูก ปฏิเสธการแพ้ยาหรือโรคประจาตัว
ปฏิเสธการรักษาตัวในโรงพยาบาลใน 6 เดือน ที่ผ่านมา
2. เชื้อที่เป็นสาเหตุของอาการดังกล่าวคือ ?
ก. S. aureus
ข. C. difficile
ค. S. pyogenes
ง. S. pneumoniae
กรณีศึกษา 1 MCQ ปี 2556
เด็กหญิงอายุ 10 ปี เจ็บคอเวลากลืนน้าลาย เป็นมา 3 วัน มีไข้ ไม่
ไอ ไม่มีน้ามูก ไม่คัดจมูก ปฏิเสธการแพ้ยาหรือโรคประจาตัว
ปฏิเสธการรักษาตัวในโรงพยาบาลใน 6 เดือน ที่ผ่านมา
3. ยาที่เหมาะสมที่สามารถรักษาอาการดังกล่าวคือ ?
ก. Clindamycin
ข. Metronidazole
ค. Levofloxacin
ง. Penicillin V
จ. Amoxicillin/clavulanic acid
กรณีศึกษา 1 MCQ ปี 2556
เด็กหญิงอายุ 10 ปี เจ็บคอเวลากลืนน้าลาย เป็นมา 3 วัน มีไข้ ไม่
ไอ ไม่มีน้ามูก ไม่คัดจมูก ปฏิเสธการแพ้ยาหรือโรคประจาตัว
ปฏิเสธการรักษาตัวในโรงพยาบาลใน 6 เดือน ที่ผ่านมา
4. หากผู้ป่วยแพ้ยา Amoxicillin แบบ anaphylaxis ควรเลือก
ยาในข้อใด ?
ก. Cefdinir
ข. Cephalexin
ค. Cotrimoxazole
ง. Levofloxacin
จ. Roxithromycin
กรณีศึกษา 2 MCQ ปี 2558
เด็กอายุ 1 ปี น้าหนัก 13 กิโลกรัม มีไข้สูง เจ็บคอ กลืนไม่ได้ ใน
คอมีหนอง
1. ผู้ป่วยเป็นโรคอะไร ?
ก. Sinusitis
ข. Viral infection
ค. Pharyngitis
ง. Bacterial tonsillitis
จ. Herpes simplex
กรณีศึกษา 2 MCQ ปี 2558
เด็กอายุ 1 ปี น้าหนัก 13 กิโลกรัม มีไข้สูง เจ็บคอ กลืนไม่ได้ ใน
คอมีหนอง
2. เชื้อที่เป็นสาเหตุดังกล่าวคือ ?
ก. H. influenza
ข. S. pyogenes
ค. Rhinovirus
ง. MAC
จ. Microsporum
กรณีศึกษา 2 MCQ ปี 2558
เด็กอายุ 1 ปี น้าหนัก 13 กิโลกรัม มีไข้สูง เจ็บคอ กลืนไม่ได้ ใน
คอมีหนอง
3. ควรรักษาอย่างไร ?
ก. Refer
ข. Amoxicillin
ค. Amoxicillin/clavulanic acid
ง. ดื่มน้ามากๆ นอนพักผ่อนเพียงพอ
จ. Acyclovir
Rhinosinusitis
Adults Children
คาจากัดความ
มีอย่างน้อย 2 อาการ
โดยมี 1 อาการในข้อ 1 หรือข้อ 2
1. คัดจมูก/แน่นจมูก
2. น้ามูกไหล/มูกไหลลงคอ
3. ปวดหรือตื้อบริเวณใบหน้า
4. การรับกลิ่นลดลงหรือเสียไป
ร่วมกับการ endoscopy ในโพรง
จมูก
มีอย่างน้อย 2 อาการ
โดยมี 1 อาการในข้อ 1 หรือข้อ 2
1. คัดจมูก/แน่นจมูก
2. น้ามูกไหล/มูกไหลลงคอ
3. ปวดหรือตื้อบริเวณใบหน้า
4. อาการไอ
ร่วมกับการ endoscopy ในโพรง
จมูก
Signs & Symptoms
• ปวดโหนกแก้ม ปวดศีรษะและมีไข้
• ปวดหัวหนัก ๆ กดเจ็บบริเวณที่มีการ
• คัดจมูก พูดเสียงขึ้นจมูก น้ามูกข้นเหลืองหรือเขียว
เจ็บคอหรือมีเสมหะสีเหลืองหรือเขียว ลมหายใจมี
กลิ่นเหม็น
Causes
Virus Bacteria
ในระยะแรกมักเกิดจากการติด
เชื้อไวรัส ซึ่งหายได้เอง แต่หาก
ไม่ได้รักษาจนนานหลายวัน
มีการดาเนินโรคแบบเป็นๆ หายๆ
อาการดีขึ้นแล้วกลับเป็นหนักขึ้น
มักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
เชื้อที่พบบ่อยคือ
S. pneumonia
H. influenza
M. catarrhalis
33
Complications
- Meningitis
- Orbital cellulitis (ethmoid)
- Subdural/Epidural empyema (frontal)
- Brain abscess (frontal)
- Osteomyelitis (frontal)
- Cavernous sinus thrombosis (sphenoid)
- Asthma exacerbation
Treatment (Adults 5-7 d)
Treatment (Children 10-14 d)
Others
Topical/Oral decongestants
- ยังไม่มีการศึกษาประสิทธิภาพ ไม่แนะนาใน Acute bacterial rhinosinusitis
- อาจมีประโยชน์ใน acute viral rhinosinusitis และ Chronic rhinosinusitis
โดยใช้เป็นครั้งคราวเพื่อบรรเทาอาการคัดจมูก
- ไม่ควรใช้ Topical decongestants ติดต่อกันนานเกิน 3 วัน
Antihistamines ไม่แนะนาให้ใช้
- ยกเว้นมีโรคภูมิแพ้ร่วมด้วย ให้ใช้ gen 2nd หรือ gen 3rd แทน เช่น Loratadine,
Cetirizine, Fexofenadine
Mucolytics ยังไม่มีหลักฐาน ไม่แนะนาให้ใช้
ข้อสอบ
1. ผู้ป่วยชายอายุ 36 ปี มาที่ร้านขายยาที่ท่านเป็นเภสัชกร ด้วยอาการ
มีน้ามูกข้นเหนียว คัดจมูก มีเสมหะมากปวด/กดเจ็บบริเวณโหนก
แก้ม จากการซักประวัติเพิ่มเติมทราบว่าผู้ป่วยรายนี้เป็นเรื้อรังมา
นานประมาณ 10 วันแล้ว โดยอาการเริ่มจากมีน้ามูกใส ไอ และมีไข้
ผู้ป่วยรายนี้เป็นโรคอะไร
ก. Influenza
ข. Infectious rhinitis
ค. Sinusitis
ง. Allergic rhinitis
จ. Allergic asthma
1. ผู้ป่วยชายอายุ 36 ปี มาที่ร้านขายยาที่ท่านเป็นเภสัชกร ด้วยอาการ
มีน้ามูกข้นเหนียว คัดจมูก มีเสมหะมากปวด/กดเจ็บบริเวณโหนก
แก้ม จากการซักประวัติเพิ่มเติมทราบว่าผู้ป่วยรายนี้เป็นเรื้อรังมา
นานประมาณ 10 วันแล้ว โดยอาการเริ่มจากมีน้ามูกใส ไอ และมีไข้
ผู้ป่วยรายนี้เป็นโรคอะไร
ก. Influenza
ข. Infectious rhinitis
ค. Sinusitis
ง. Allergic rhinitis
จ. Allergic asthma
2. โรคนี้เกิดจากสาเหตุใด
ก. Bacteria
ข. Virus
ค. Allergic inflammations
ง. ถูกทุกข้อ
Otitis media
Otitis media: การอักเสบของเยื่อบุหูชั้นกลาง
ซึ่งอาจรวมถึงการอักเสบของ Mastoids air
cells และ กระดูกขมับ (Temporal bone)
• เกิดจากการติดเชื้อในหูชั้นกลาง ร่วมกับ
การทางานของ Eustachian tube ผิดปกติ
• พบในเด็กมากกว่าผู้ใหญ่
(เด็กมี Eustachian tube สั้นกว่า + การวาง
แนวขนานกับแนวราบ)
• มักเกิดหลังเป็น URI หรือ มีน้าขังในหูชั้น
กลาง
Causes
Virus
20-30%
Bacteria
50-60%
เชื้อที่พบบ่อยคือ
S. pneumonia
H. influenza
M. catarrhalis
เด็ก < 6 ปี
เด็กโตและผู้ใหญ่
Acute Otitis media • เป็นเฉียบพลัน พบแก้วหูโป่ง แดง ขุ่น อาจเห็นหนองหลังแก้วหู
Otitis media with
effusion
• มีน้าคั่งในหูชั้นกลาง มักมีอาการหูอื้อ ได้ยินไม่ชัด
• ไม่มีอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อแบบเฉียบพลัน
• หายไปเองภายใน 3 เดือน
Chronic Otitis media • ต่อเนื่องมาจากแบบเฉียบพลัน มักมีแก้วหูทะลุ มีของเหลวไหลจาก
หูเป็นๆ หายๆ ส่วนใหญ่เป็นหนอง มักไม่มีอาการปวดหู ไม่มีไข้
Signs & Symptoms
• มีไข้
• ปวดหู แต่จับบริเวณใบหูมักไม่มีอาการเจ็บปวด รู้สึกแน่นๆ ในหู มี
เสียงดังในหู หูอื้อ
• เด็กเล็ก; ร้องงอแง อาจมีดึงใบหูข้างที่ปวด หรือเอานิ้วแหย่ในรูหู n/v
และซักได้
• ถ้ามีน้าหนองไหลออกจากรูหูชั้นกลาง อาการไข้ ปวดหู หูอื้อจะลดลง
ซึ่งรูทะลุสามารถปิดได้เองใน 2-3 สัปดาห์
• ตรวจเยื่อแก้วหูมักมีการอักเสบบวมแดง เห็นเส้นเลือดมาก โป่งนูน
Complications
- Otitis media with effusion
- Tympanic membrane perforation
- Chronic otitis media
- Acute mastoiditis
- Acute labyrinthitis
- Subperiosteal abscess
- Facial nerve paralysis
- Meningitis
- Brain abscess
Treatment
AOM ส่วนใหญ่หายเองได้ใน 2-3 วัน
หากอาการไม่รุนแรง ให้ประเมินอาการก่อน + ให้ supportive Tx
ผู้ป่วยที่ควรเริ่มให้การรักษาด้วย Antibiotics ทันที
1. มีอาการมาก (Severe otalgia > 48 hr, Fever > 39°C)
2. แก้วหูทะลุ มีหนองไหลออกจากหู
3. เคยได้รับ ATB for AOM ในช่วง 3 เดือน
4. ผู้ป่วยอายุ < 6 เดือน
5. ผู้ป่วยอายุ 6 เดือน – 2 ปี ที่เป็น Bilateral AOM
6. ผู้ป่วยที่ไม่สะดวกหรือ F/U case ตามดูอาการหลัง 48-72 hr ได้
ยาบรรเทาอาการปวด ลดไข้
• Paracetamol 10-15 mg/kg/dose prn q 4-6 hr
• Ibuprofen 5-10 mg/kg/dose PO prn q 6-8 hr
Ref : Lieberthal AS, et al. Pediatrics 2013; 131:e964.
Initial antibiotic therapy New antibiotic therapy
Amoxicillin 80-90 mg/kg/day divided 2 doses Amoxicillin-Clavulanate 80-90 mg/kg/day PO
Amoxicillin-Clavulanate
(90 mg/kg/day of Amoxicillin divided 2 doses)
Ceftriaxone 50 mg/kg IM, IV for 3 days
Oral Cephalosporins: (divided 2 doses)
• Cefdinir 14 mg/kg/day
• Cefuroxime 30 mg/kg/day
• Cefpodoxime 10 mg/kg/day
Clindamycin 30-40 mg/kg/day PO divided 3 doses
+
Oral Cephalosporins
Amoxicillin or
Amoxicillin-Clavulanate or
Clindamycin + Oral Cephalosporins
Levofloxacin 10-20 mg/kg/day (Max 500 mg/day) OD
Tympanocentesis for Gram stain & Culture
Treatment เด็ก < 2 ปี: 10-14 d
เด็กโตและผู้ใหญ่: 5-7 d
CREDITS: This presentation template was created by
Slidesgo, including icons by Flaticon, and infographics &
images by Freepik.
Thanks!
Do you have any questions?
Kiettisak.pa.57@ubu.ac.th
+66 88 581 3201
Ubon Ratchathani University

More Related Content

Similar to URI.pptx

โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
เรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมเรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมWan Ngamwongwan
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)chalunthorn teeyamaneerat
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...Loveis1able Khumpuangdee
 
Management of acute pharyngitis
Management of acute pharyngitisManagement of acute pharyngitis
Management of acute pharyngitisHataitap Chonchep
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนWitsalut Saetae
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 

Similar to URI.pptx (20)

โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
Vaccine
VaccineVaccine
Vaccine
 
Common respiratory problems
Common respiratory problemsCommon respiratory problems
Common respiratory problems
 
เรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมเรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวม
 
Vis hib
Vis hibVis hib
Vis hib
 
Vis hib
Vis hibVis hib
Vis hib
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551
 
Management of acute pharyngitis
Management of acute pharyngitisManagement of acute pharyngitis
Management of acute pharyngitis
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชน
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
Pneumonia
PneumoniaPneumonia
Pneumonia
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 

URI.pptx

  • 4. Causes Virus Respiratory syncytial virus (RSV) Rhinovirus Coronavirus Adenovirus Parainfluenza viruses
  • 5. Causes Virus Influenza virus -> Influenza ไข้สูง 2-4 วัน หนาวๆร้อนๆ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อมาก เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย (อาจเป็นนาน 1-4 สัปดาห์)
  • 6. Signs & Symptoms • น้ามูกไหล ระยะแรกใส และจะข้นขึ้น และน้อยลง • คัดจมูก จาม ระคายคอ เจ็บคอ ไอ อ่อนเพลีย • อาจมีไข้ได้ (พบในเด็กมากกว่า) • ระยะโรคประมาณ 7-14 วัน
  • 7. Risk factors • อายุน้อย • สัมผัสหรือดูแลเด็กวัยเรียน • อยู่ในที่ชุมชนแออัด ระบายกาศไม่ดี • สูบบุหรี่หรือใกล้ชิดคนสูบบุหรี่ • ภาวะเครียด • เดินทางโดยเครื่องบิน
  • 8. Complications - Bacterial rhinitis - Bacterial sinusitis - Acute otitis media - Bronchitis - Bronchiolitis - Pneumonia - Asthma exacerbation
  • 9. Treatment ใช้ยารักษาตามอาการ • Analgesic/NSIADs ลดอาการไข้/ปวดศีรษะ • 1st gen. Antihistamines ลดน้ามูก ลดอาการแพ้ • Decongestants บรรเทาอาการคัดจมูก • รักษาโรคแทรกซ้อน (ถ้ามี)
  • 10. Treatment Decongestant เป็นยาลดอาการคัดจมูกอย่างเดียว - แบบพ่นจมูก เช่น naphazoline, oxymetazoline, phenylephrine >> ไม่ควรใช้ติดต่อกัน 3-5 วัน เพราะจะทาให้เกิด rebound congestion - ยารับประทาน : มีผลทาง systemic มีการกระตุ้น alpha-adrenoceptor ต้องระวังในผู้ป่วยโรคความดันสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ ต่อมลูกหมากโต - Pseudoephridine -> วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ประเภท 2 - Phenylephrine (ร้านยาไม่มียาตารับเดี่ยว มีเพียงสูตรผสมกับ CPM)
  • 13. Signs & Symptoms • ไข้ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร • เจ็บคอเฉียบพลัน กลืนลาบาก • คอหอยและทอนซิลบวมแดง อาจพบจุดหนองหรือ แผ่นเยื่อสีขาวๆ ที่ต่อมทอนซิล • ต่อมน้าเหลืองที่คอโต กดเจ็บ
  • 14.
  • 15. Refer!!! • ปวดบริเวณหน้าอกเวลาหายใจเข้า • หายใจสั้น และเร็ว • หายใจออกมีเสียงหวีด (wheeze) • เสมหะมีเลือดปน • หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ • ไอติดต่อกันเป็นเวลานานต่อเนื่องอย่างน้อย 3 สัปดาห์ • ไอเป็นเสียงไอกรน (whooping cough)
  • 16. DDx Rapid antigen detection test (RADT) Throat swab & culture Gold standard Clinical scoring system Centor or McIsaac score
  • 17. Clinical scoring system Mclsaac scoring system คะแนน มีไข้ (BT>38°C) 1 ไม่ไอ 1 ต่อมน้าเหลืองที่คอโตและกดเจ็บ 1 มีหนองที่ต่อมทอนซิล 1 อายุ • 3-14 ปี • 15-44 ปี • ≥ 45 ปี 1 0 -1 คะแนนรวม แปลผล -1 ถึง 1 No ATB 2 ถึง 3 ตรวจหาเชื้อก่อนพิจารณา ATB ≥ 4 ให้ ATB
  • 18. Complications - Rheumatic fever - Acute glomerulonephritis - Peritonsillar abscess - Retropharyngeal abscess - Sinusitis - Otitis media
  • 19. Treatment Drug Dosage Duration Penicillin V Children: 250 mg BID or TID Adults: 250 mg QID or 500 mg BID 10 d Amoxicillin 50 mg/kg (max 1 g) OD or 25 mg/kg (max 500 mg) BID 10 d Benzathine Pen G (IM) Children < 27 kg: 600,000 U Children ≥ 27 kg & Adults: 1.2 mU 1 does Cephalexin 20 mg/kg/dose (max 500 mg) BID 10 d Cefadroxil 30 mg/kg (max 1 g) OD 10 d Clindamycin 7 mg/kg/dose (max 300 mg) TID 10 d Azithromycin 12 mg/kg (max 500 mg) OD 5 d Clarithromycin 7.5 mg/kg/dose (max 250 mg) BID 10 d
  • 20. Treatment Drug Dosage Duration Clindamycin 20–30 mg/kg/d divided to TID (max 300 mg/dose) 10 d Penicillin V and rifampin Penicillin V: 50 mg/kg/d in 4 doses (max 2 g/d) Rifampin: 20 mg/kg/d (max 600 mg) OD × last 4 d of treatment 10 d Amoxicillin– clavulanic acid 40 mg amoxicillin/kg/d divided to TID (max 2 g of amoxicillin/d) 10 d Benzathine penicillin G (IM) plus rifampin (PO) Benzathine pen G: <27 kg: 600,000 U ≥27 kg: 1.2 mU Rifampin: 20 mg/kg/d divided to BID (max 600 mg/d) Benzathine pen G: 1 dose rifampin: 4 d
  • 22. กรณีศึกษา 1 MCQ ปี 2556 เด็กหญิงอายุ 10 ปี เจ็บคอเวลากลืนน้าลาย เป็นมา 3 วัน มีไข้ ไม่ ไอ ไม่มีน้ามูก ไม่คัดจมูก ปฏิเสธการแพ้ยาหรือโรคประจาตัว ปฏิเสธการรักษาตัวในโรงพยาบาลใน 6 เดือน ที่ผ่านมา 1. จากอาการดังกล่าวผู้ป่วยเป็นโรคอะไร ? ก. Bronchitis ข. Flu ค. Pharyngitis ง. Asthma จ. Croup
  • 23. กรณีศึกษา 1 MCQ ปี 2556 เด็กหญิงอายุ 10 ปี เจ็บคอเวลากลืนน้าลาย เป็นมา 3 วัน มีไข้ ไม่ ไอ ไม่มีน้ามูก ไม่คัดจมูก ปฏิเสธการแพ้ยาหรือโรคประจาตัว ปฏิเสธการรักษาตัวในโรงพยาบาลใน 6 เดือน ที่ผ่านมา 2. เชื้อที่เป็นสาเหตุของอาการดังกล่าวคือ ? ก. S. aureus ข. C. difficile ค. S. pyogenes ง. S. pneumoniae
  • 24. กรณีศึกษา 1 MCQ ปี 2556 เด็กหญิงอายุ 10 ปี เจ็บคอเวลากลืนน้าลาย เป็นมา 3 วัน มีไข้ ไม่ ไอ ไม่มีน้ามูก ไม่คัดจมูก ปฏิเสธการแพ้ยาหรือโรคประจาตัว ปฏิเสธการรักษาตัวในโรงพยาบาลใน 6 เดือน ที่ผ่านมา 3. ยาที่เหมาะสมที่สามารถรักษาอาการดังกล่าวคือ ? ก. Clindamycin ข. Metronidazole ค. Levofloxacin ง. Penicillin V จ. Amoxicillin/clavulanic acid
  • 25. กรณีศึกษา 1 MCQ ปี 2556 เด็กหญิงอายุ 10 ปี เจ็บคอเวลากลืนน้าลาย เป็นมา 3 วัน มีไข้ ไม่ ไอ ไม่มีน้ามูก ไม่คัดจมูก ปฏิเสธการแพ้ยาหรือโรคประจาตัว ปฏิเสธการรักษาตัวในโรงพยาบาลใน 6 เดือน ที่ผ่านมา 4. หากผู้ป่วยแพ้ยา Amoxicillin แบบ anaphylaxis ควรเลือก ยาในข้อใด ? ก. Cefdinir ข. Cephalexin ค. Cotrimoxazole ง. Levofloxacin จ. Roxithromycin
  • 26. กรณีศึกษา 2 MCQ ปี 2558 เด็กอายุ 1 ปี น้าหนัก 13 กิโลกรัม มีไข้สูง เจ็บคอ กลืนไม่ได้ ใน คอมีหนอง 1. ผู้ป่วยเป็นโรคอะไร ? ก. Sinusitis ข. Viral infection ค. Pharyngitis ง. Bacterial tonsillitis จ. Herpes simplex
  • 27. กรณีศึกษา 2 MCQ ปี 2558 เด็กอายุ 1 ปี น้าหนัก 13 กิโลกรัม มีไข้สูง เจ็บคอ กลืนไม่ได้ ใน คอมีหนอง 2. เชื้อที่เป็นสาเหตุดังกล่าวคือ ? ก. H. influenza ข. S. pyogenes ค. Rhinovirus ง. MAC จ. Microsporum
  • 28. กรณีศึกษา 2 MCQ ปี 2558 เด็กอายุ 1 ปี น้าหนัก 13 กิโลกรัม มีไข้สูง เจ็บคอ กลืนไม่ได้ ใน คอมีหนอง 3. ควรรักษาอย่างไร ? ก. Refer ข. Amoxicillin ค. Amoxicillin/clavulanic acid ง. ดื่มน้ามากๆ นอนพักผ่อนเพียงพอ จ. Acyclovir
  • 30. Adults Children คาจากัดความ มีอย่างน้อย 2 อาการ โดยมี 1 อาการในข้อ 1 หรือข้อ 2 1. คัดจมูก/แน่นจมูก 2. น้ามูกไหล/มูกไหลลงคอ 3. ปวดหรือตื้อบริเวณใบหน้า 4. การรับกลิ่นลดลงหรือเสียไป ร่วมกับการ endoscopy ในโพรง จมูก มีอย่างน้อย 2 อาการ โดยมี 1 อาการในข้อ 1 หรือข้อ 2 1. คัดจมูก/แน่นจมูก 2. น้ามูกไหล/มูกไหลลงคอ 3. ปวดหรือตื้อบริเวณใบหน้า 4. อาการไอ ร่วมกับการ endoscopy ในโพรง จมูก
  • 31. Signs & Symptoms • ปวดโหนกแก้ม ปวดศีรษะและมีไข้ • ปวดหัวหนัก ๆ กดเจ็บบริเวณที่มีการ • คัดจมูก พูดเสียงขึ้นจมูก น้ามูกข้นเหลืองหรือเขียว เจ็บคอหรือมีเสมหะสีเหลืองหรือเขียว ลมหายใจมี กลิ่นเหม็น
  • 32. Causes Virus Bacteria ในระยะแรกมักเกิดจากการติด เชื้อไวรัส ซึ่งหายได้เอง แต่หาก ไม่ได้รักษาจนนานหลายวัน มีการดาเนินโรคแบบเป็นๆ หายๆ อาการดีขึ้นแล้วกลับเป็นหนักขึ้น มักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อที่พบบ่อยคือ S. pneumonia H. influenza M. catarrhalis
  • 33. 33
  • 34. Complications - Meningitis - Orbital cellulitis (ethmoid) - Subdural/Epidural empyema (frontal) - Brain abscess (frontal) - Osteomyelitis (frontal) - Cavernous sinus thrombosis (sphenoid) - Asthma exacerbation
  • 37. Others Topical/Oral decongestants - ยังไม่มีการศึกษาประสิทธิภาพ ไม่แนะนาใน Acute bacterial rhinosinusitis - อาจมีประโยชน์ใน acute viral rhinosinusitis และ Chronic rhinosinusitis โดยใช้เป็นครั้งคราวเพื่อบรรเทาอาการคัดจมูก - ไม่ควรใช้ Topical decongestants ติดต่อกันนานเกิน 3 วัน Antihistamines ไม่แนะนาให้ใช้ - ยกเว้นมีโรคภูมิแพ้ร่วมด้วย ให้ใช้ gen 2nd หรือ gen 3rd แทน เช่น Loratadine, Cetirizine, Fexofenadine Mucolytics ยังไม่มีหลักฐาน ไม่แนะนาให้ใช้
  • 39. 1. ผู้ป่วยชายอายุ 36 ปี มาที่ร้านขายยาที่ท่านเป็นเภสัชกร ด้วยอาการ มีน้ามูกข้นเหนียว คัดจมูก มีเสมหะมากปวด/กดเจ็บบริเวณโหนก แก้ม จากการซักประวัติเพิ่มเติมทราบว่าผู้ป่วยรายนี้เป็นเรื้อรังมา นานประมาณ 10 วันแล้ว โดยอาการเริ่มจากมีน้ามูกใส ไอ และมีไข้ ผู้ป่วยรายนี้เป็นโรคอะไร ก. Influenza ข. Infectious rhinitis ค. Sinusitis ง. Allergic rhinitis จ. Allergic asthma
  • 40. 1. ผู้ป่วยชายอายุ 36 ปี มาที่ร้านขายยาที่ท่านเป็นเภสัชกร ด้วยอาการ มีน้ามูกข้นเหนียว คัดจมูก มีเสมหะมากปวด/กดเจ็บบริเวณโหนก แก้ม จากการซักประวัติเพิ่มเติมทราบว่าผู้ป่วยรายนี้เป็นเรื้อรังมา นานประมาณ 10 วันแล้ว โดยอาการเริ่มจากมีน้ามูกใส ไอ และมีไข้ ผู้ป่วยรายนี้เป็นโรคอะไร ก. Influenza ข. Infectious rhinitis ค. Sinusitis ง. Allergic rhinitis จ. Allergic asthma
  • 41. 2. โรคนี้เกิดจากสาเหตุใด ก. Bacteria ข. Virus ค. Allergic inflammations ง. ถูกทุกข้อ
  • 43. Otitis media: การอักเสบของเยื่อบุหูชั้นกลาง ซึ่งอาจรวมถึงการอักเสบของ Mastoids air cells และ กระดูกขมับ (Temporal bone) • เกิดจากการติดเชื้อในหูชั้นกลาง ร่วมกับ การทางานของ Eustachian tube ผิดปกติ • พบในเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ (เด็กมี Eustachian tube สั้นกว่า + การวาง แนวขนานกับแนวราบ) • มักเกิดหลังเป็น URI หรือ มีน้าขังในหูชั้น กลาง
  • 44. Causes Virus 20-30% Bacteria 50-60% เชื้อที่พบบ่อยคือ S. pneumonia H. influenza M. catarrhalis เด็ก < 6 ปี เด็กโตและผู้ใหญ่
  • 45. Acute Otitis media • เป็นเฉียบพลัน พบแก้วหูโป่ง แดง ขุ่น อาจเห็นหนองหลังแก้วหู Otitis media with effusion • มีน้าคั่งในหูชั้นกลาง มักมีอาการหูอื้อ ได้ยินไม่ชัด • ไม่มีอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อแบบเฉียบพลัน • หายไปเองภายใน 3 เดือน Chronic Otitis media • ต่อเนื่องมาจากแบบเฉียบพลัน มักมีแก้วหูทะลุ มีของเหลวไหลจาก หูเป็นๆ หายๆ ส่วนใหญ่เป็นหนอง มักไม่มีอาการปวดหู ไม่มีไข้
  • 46. Signs & Symptoms • มีไข้ • ปวดหู แต่จับบริเวณใบหูมักไม่มีอาการเจ็บปวด รู้สึกแน่นๆ ในหู มี เสียงดังในหู หูอื้อ • เด็กเล็ก; ร้องงอแง อาจมีดึงใบหูข้างที่ปวด หรือเอานิ้วแหย่ในรูหู n/v และซักได้ • ถ้ามีน้าหนองไหลออกจากรูหูชั้นกลาง อาการไข้ ปวดหู หูอื้อจะลดลง ซึ่งรูทะลุสามารถปิดได้เองใน 2-3 สัปดาห์ • ตรวจเยื่อแก้วหูมักมีการอักเสบบวมแดง เห็นเส้นเลือดมาก โป่งนูน
  • 47. Complications - Otitis media with effusion - Tympanic membrane perforation - Chronic otitis media - Acute mastoiditis - Acute labyrinthitis - Subperiosteal abscess - Facial nerve paralysis - Meningitis - Brain abscess
  • 48. Treatment AOM ส่วนใหญ่หายเองได้ใน 2-3 วัน หากอาการไม่รุนแรง ให้ประเมินอาการก่อน + ให้ supportive Tx ผู้ป่วยที่ควรเริ่มให้การรักษาด้วย Antibiotics ทันที 1. มีอาการมาก (Severe otalgia > 48 hr, Fever > 39°C) 2. แก้วหูทะลุ มีหนองไหลออกจากหู 3. เคยได้รับ ATB for AOM ในช่วง 3 เดือน 4. ผู้ป่วยอายุ < 6 เดือน 5. ผู้ป่วยอายุ 6 เดือน – 2 ปี ที่เป็น Bilateral AOM 6. ผู้ป่วยที่ไม่สะดวกหรือ F/U case ตามดูอาการหลัง 48-72 hr ได้ ยาบรรเทาอาการปวด ลดไข้ • Paracetamol 10-15 mg/kg/dose prn q 4-6 hr • Ibuprofen 5-10 mg/kg/dose PO prn q 6-8 hr
  • 49. Ref : Lieberthal AS, et al. Pediatrics 2013; 131:e964. Initial antibiotic therapy New antibiotic therapy Amoxicillin 80-90 mg/kg/day divided 2 doses Amoxicillin-Clavulanate 80-90 mg/kg/day PO Amoxicillin-Clavulanate (90 mg/kg/day of Amoxicillin divided 2 doses) Ceftriaxone 50 mg/kg IM, IV for 3 days Oral Cephalosporins: (divided 2 doses) • Cefdinir 14 mg/kg/day • Cefuroxime 30 mg/kg/day • Cefpodoxime 10 mg/kg/day Clindamycin 30-40 mg/kg/day PO divided 3 doses + Oral Cephalosporins Amoxicillin or Amoxicillin-Clavulanate or Clindamycin + Oral Cephalosporins Levofloxacin 10-20 mg/kg/day (Max 500 mg/day) OD Tympanocentesis for Gram stain & Culture Treatment เด็ก < 2 ปี: 10-14 d เด็กโตและผู้ใหญ่: 5-7 d
  • 50. CREDITS: This presentation template was created by Slidesgo, including icons by Flaticon, and infographics & images by Freepik. Thanks! Do you have any questions? Kiettisak.pa.57@ubu.ac.th +66 88 581 3201 Ubon Ratchathani University