SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
รหัสวิชา ค33101
                                                                                วิชา คณิตศาสตร์
                                                                             ชั้น ม. 3 ภาคเรียนที่ 1

1.	 จำนวน	3	ชั่วโมง/สัปดาห์	
2.	 หนังสือที่ใช้ในการเรียน	      	
	     –	 แบบเรียน	                คณิตศาสตร์	เล่ม	1	         	
	     	 ผู้แต่ง	                  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี	(สสวท.)	 	         	
	     	 สำนักพิมพ์	               คุรุสภา	 	
	     –	 หนังสืออ่านประกอบ	       	         	
	     1.	 ผู้แต่ง	                อาจารย์โชคชัย	สิริหาญอุดม	          	 	
	     	 สำนักพิมพ์	               เดอะบุคส์	จำกัด	
	     2.	 ผู้แต่ง	                เลิศ	เกษรคำ	
	     	 สำนักพิมพ์	               บริษัทอักษรเจริญทัศน์	อจท.	จำกัด	
	     3.	 ผู้แต่ง	                รศ.	ดร.	ณรงค์	ปั้นนิ่ม	
	     	 สำนักพิมพ์	               ภูมิบัณฑิต	
	     4.	 ผู้แต่ง	                อาจารย์สุเทพ	จันทร์สมบูรณ์กุล	
	     	 สำนักพิมพ์	               เดอะบุคส์	จำกัด	
	     5.	 ผู้แต่ง	                สุชิน	ทำมาหากิน	
	     	 สำนักพิมพ์	               บริษัทธนรัชการพิมพ์	จำกัด	
	     6.	 ผู้แต่ง	                ไตรภพ	อินทุใส	
	     	 สำนักพิมพ์	               นิพนธ์	
	     7.	 ผู้แต่ง	                กนกวลี	อุษณกรกุล	
	     	 สำนักพิมพ์	               บริษัทอักษรเจริญทัศน์	อจท.	จำกัด	
	     8.	 ผู้แต่ง	                ผู้ช่วยศาสตราจารย์วินิจ	วงศ์รัตนะ	
	     	 สำนักพิมพ์	               ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง	จำกัด	
	     9.	 ผู้แต่ง	                ศาสตราจารย์กิตติคุณ	ยุพิน	พิพิธกุล	
	     	 สำนักพิมพ์	               บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ	(พว.)	จำกัด	
3.	   ผู้เขียนคู่มือ	             	
	     ชื่อ	นางจำเนียร บุตรเล็ก	   ตำแหน่ง	ครู	 	            	       	

     
 
                         E-mail
:
chamnern@kkws.ac.th
 
	     สถานที่ทำงาน	               โรงเรียนวังไกลกังวล	อำเภอหัวหิน		
	     	 	                         จังหวัดประจวบคีรีขันธ์	77110	



                                                      46
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101                                                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่	3	
                                                        

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
พื้นที่ผิวและปริมาตร
       	   1.	 บอกลักษณะของทรงกระบอก	ปริซึม	พีระมิด	กรวย	และทรงกลมได้	 	
       	   2.	 หาปริมาตรของทรงกระบอก	ปริซึม	พีระมิด	กรวย	และทรงกลมได้	 	
       	   3.	 หาพื้นที่ผิวของทรงกระบอก	ปริซึม	 	
       	   4.	 เปรียบเทียบหน่วยความจุหรือหน่วยปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่างระบบได้	           	
       	   5.	 เลือกใช้หน่วยการวัดเกี่ยวกับความจุหรือปริมาตรได้อย่างเหมาะสม	 	
       	   6.	 ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ผิวและปริมาตรแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ	ได้	

กราฟ
       	   7.	 เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้นได้	    	
       	   8.	 เขียนกราฟของอสมการเชิงเส้นได้	     	
       	   9.	 อ่านและแปลความหมายของกราฟที่กำหนดได้	

ระบบสมการเชิงเส้น
       	 10.	 อ่านและแปลความหมายกราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้	                	
       	 11.	 แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้	 	
       	 12.	 นำระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ	ได้	

ความคล้าย
       	 13.	 บอกสมบัติของความคล้ายกันของรูปสามเหลี่ยมได้	          	
       	 14.	 บอกเงื่อนไขที่ทำให้รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกันได้	    	
       	 15.	 ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้	

                                                        




                                                      47
หน่วยการเรียนรู้
                      รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่	3	
                               จำนวน	4	หน่วยการเรียนรู้	เวลา	59	ชั่วโมง	
                                                        

หน่วยการเรียนรู้ที่                            ชื่อหน่วยการเรียนรู้               เวลา (ชั่วโมง)
        1
             ปริมาตรและพื้นที่ผิว                                            20	
                       1.	 การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึม	
                       2.	 การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของทรงกระบอก	
                       3.	 การหาปริมาตรของพีระมิด	กรวย	และทรงกลม	
                       4.	 การเปรียบเทียบหน่วยปริมาตร	
                       5.	 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่ผิวและปริมาตร	
        2
             กราฟ                                                            13	
                       1.	 กราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มี	
                       	 ความสัมพันธ์เชิงเส้น	
                       2.	 กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร	
                       3.	 กราฟกับการนำไปใช้	
        3	             ระบบสมการเชิงเส้น                                               14
                       1.	 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร	
                       2.	 กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร	
                       3.	 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร	
                       4.	 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร	
                       5.	 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร	
        4
             ความคล้าย                                                       12
                       1.	 รูปที่คล้ายกัน	
                       2.	 รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน	
                       3.	 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน	
                       4.	 การนำไปใช้	




                                                       48
กำหนดการสอนรายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม
     รายวิชา	คณิตศาสตร์		รหัสวิชา	ค33101		ชั้นมัธยมศึกษาปีที่	3		ภาคเรียนที่	1		ปีการศึกษา	2554	

 
                
        จำนวน                                      มาตรฐาน            สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง
 ครั้งที่    วัน/เดือน/ปี                             เรื่องที่สอน
                            ชั่วโมง                                  การเรียนรู้ข้อที่ ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน)
	 1	  18	พ.ค.	54	             1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 10.30	-	11.30	น.	          	      	                                  ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	
	 2	  19	พ.ค.	54	             1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 09.30	-	10.30	น.	          	      	                                  ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	
	 3	  24	พ.ค.	54	             1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 08.30	-	09.30	น.	          	      	                                  ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	
	 4	  25	พ.ค.	54	             1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 10.30	-	11.30	น.	          	      	                                  ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	
	 5	  26	พ.ค.	54	             1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 09.30	-	10.30	น.	          	      	                                  ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	
	 6	  31	พ.ค.	54	             1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 08.30	-	09.30	น.	          	      	                                  ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	
	 7	   1	มิ.ย.	54	            1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)	
	 	 10.30	-	11.30	น.	         	       	                                  ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	                  	
	 8	   2	มิ.ย.	54	            1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 09.30	-	10.30	น.	         	       	                                  ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	                 	
	 9	   7	มิ.ย.	54	            1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 08.30	-	09.30	น.	         	       	                                  ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	                 	
	 10	  8	มิ.ย.	54	            1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน	(สสวท.)		
	 	 10.30	-	11.30	น.	         	       	                                  ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	                	
	 11	  9	มิ.ย.	54	            1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 09.30	-	10.30	น.	         	       	                                  ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	                 	
	 12	  14	มิ.ย.	54	           1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 08.30	-	09.30	น.	         	       	                                  ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	                 	
	   13	   15	มิ.ย.	54	        1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	   –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	    	 10.30	-	11.30	น.	       	      	                                  ค	3.1	        –	สมุดบันทึก	 	            	
	   14	   16	มิ.ย.	54	        1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	   –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	    	 09.30	-	10.30	น.	       	      	                                  ค	3.1	        –	สมุดบันทึก	 	

                                                               49
กำหนดการสอนรายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม
     รายวิชา	คณิตศาสตร์		รหัสวิชา	ค33101		ชั้นมัธยมศึกษาปีที่	3		ภาคเรียนที่	1		ปีการศึกษา	2554	

 
                
        จำนวน                                      มาตรฐาน            สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง
 ครั้งที่    วัน/เดือน/ปี                             เรื่องที่สอน
                            ชั่วโมง                                  การเรียนรู้ข้อที่ ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน)
	 15	  21	มิ.ย.	54	           1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 08.30	-	09.30	น.	         	       	                                  ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	                 	
	 16	  22	มิ.ย.	54	           1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 10.30	-	11.30	น.	         	       	                                  ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	
	 17	  23	มิ.ย.	54	           1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 09.30	-	10.30	น.	         	       	                                  ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	                 	
	 18	  28	มิ.ย.	54	           1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 08.30	-	09.30	น.	         	       	                                  ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	                 	
	 19	  29	มิ.ย.	54	           1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 10.30	-	11.30	น.	         	       	                                  ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	                 	
	 20	  30	มิ.ย.	54	           1	      พื้นที่ผิวและปริมาตร	           ค	2.1	-	ค	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 09.30	-	10.30	น.	         	       	                                  ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	                 	
	 21	  5	ก.ค.	54	             1	      กราฟ	                           ค	4.2	(3,	4)	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 08.30	-	09.30	น.	         	       	                                     	       –	สมุดบันทึก	
	 22	  6	ก.ค.	54	             1	      กราฟ	                           ค	4.2	(3,	4)	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 10.30	-	11.30	น.	         	       	                                     	       –	สมุดบันทึก	 	
	 23	  7	ก.ค.	54	             1	      กราฟ	                           ค	4.2	(3,	4)	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 09.30	-	10.30	น.	         	       	                                     	       –	สมุดบันทึก	 	
	 24	  12	ก.ค.	54	            1	      กราฟ	                           ค	4.2	(3,	4)	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 08.30	-	09.30	น.	         	       	                                     	       –	สมุดบันทึก	
	 25	  13	ก.ค.	54	            1	      กราฟ	                           ค	4.2	(3,	4)	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)	
	 	 10.30	-	11.30	น.	         	       	                                     	       –	สมุดบันทึก	 	
	 26	  14	ก.ค.	54	            1	      กราฟ	                           ค	4.2	(3,	4)	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 09.30	-	10.30	น.	         	       	                                     	       –	สมุดบันทึก	
	 27	  19	ก.ค.	54	            1	      กราฟ	                           ค	4.2	(3,	4)	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 08.30	-	09.30	น.	         	       	                                     	       –	สมุดบันทึก	 	
	 28	  20	ก.ค.	54	            1	      กราฟ	                           ค	4.2	(3,	4)	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 10.30	-	11.30	น.	         	       	                                     	       –	สมุดบันทึก	 	

                                                               50
กำหนดการสอนรายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม
     รายวิชา	คณิตศาสตร์		รหัสวิชา	ค33101		ชั้นมัธยมศึกษาปีที่	3		ภาคเรียนที่	1		ปีการศึกษา	2554	

 
                
        จำนวน                                   มาตรฐาน            สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง
 ครั้งที่    วัน/เดือน/ปี                          เรื่องที่สอน
                            ชั่วโมง                               การเรียนรู้ข้อที่ ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน)
	 29	  21	ก.ค.	54	            1	      กราฟ	                        ค	4.2	(3,	4)	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 09.30	-	10.30	น.	          	      	                                  	       –	สมุดบันทึก	
	 30	  26	ก.ค.	54	            1	      กราฟ	                        ค	4.2	(3,	4)	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)	
	 	 08.30	-	09.30	น.	          	      	                                  	       –	สมุดบันทึก	 	
	 31	  27	ก.ค.	54	            1	      กราฟ	                        ค	4.2	(3,	4)	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)	
	 	 10.30	-	11.30	น.	          	      	                                  	       –	สมุดบันทึก	 	
	 32	  28	ก.ค.	54	            1	      กราฟ	                        ค	4.2	(3,	4)	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 09.30	-	10.30	น.	          	      	                                  	       –	สมุดบันทึก	 	
	 33	  2	ส.ค.	54	             1	      กราฟ	                        ค	4.2	(3,	4)	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 08.30	-	09.30	น.	         	       	                                  	       –	สมุดบันทึก	 	
	 34	  3	ส.ค.	54	             1	      ระบบสมการเชิงเส้น	             ค	4.2	(5)	   –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 10.30	-	11.30	น.	          	      	                                  	        –	สมุดบันทึก	 	
	 35	  4	ส.ค.	54	             1	      ระบบสมการเชิงเส้น	             ค	4.2	(5)	   –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 09.30	-	10.30	น.	          	      	                                  	        –	สมุดบันทึก	 	
	 36	  9	ส.ค.	54	             1	      ระบบสมการเชิงเส้น	             ค	4.2	(5)	   –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 08.30	-	09.30	น.	          	      	                                  	        –	สมุดบันทึก	
	 37	 10	ส.ค.	54	             1	      ระบบสมการเชิงเส้น	             ค	4.2	(5)	   –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 10.30	-	11.30	น.	          	      	                                  	        –	สมุดบันทึก	 	
	 38	 11	ส.ค.	54	             1	      ระบบสมการเชิงเส้น	             ค	4.2	(5)	   –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 09.30	-	10.30	น.	          	      	                                  	        –	สมุดบันทึก	 	
	 39	 16	ส.ค.	54	             1	      ระบบสมการเชิงเส้น	             ค	4.2	(5)	   –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 08.30	-	09.30	น.	          	      	                                  	        –	สมุดบันทึก	 	
	 40	 17	ส.ค.	54	             1	      ระบบสมการเชิงเส้น	             ค	4.2	(5)	   –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)	
	 	 10.30	-	11.30	น.	          	      	                                  	        –	สมุดบันทึก	 	
	 41	 18	ส.ค.	54	             1	      ระบบสมการเชิงเส้น	             ค	4.2	(5)	   –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 09.30	-	10.30	น.	          	      	                                  	        –	สมุดบันทึก	 	
	 42	 23	ส.ค.	54	             1	      ระบบสมการเชิงเส้น	             ค	4.2	(5)	   –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 08.30	-	09.30	น.	          	      	                                  	        –	สมุดบันทึก	 	

                                                            51
กำหนดการสอนรายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม
     รายวิชา	คณิตศาสตร์		รหัสวิชา	ค33101		ชั้นมัธยมศึกษาปีที่	3		ภาคเรียนที่	1		ปีการศึกษา	2554	

 
                
        จำนวน                                   มาตรฐาน            สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง
 ครั้งที่    วัน/เดือน/ปี                          เรื่องที่สอน
                            ชั่วโมง                               การเรียนรู้ข้อที่ ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน)
	 43	 24	ส.ค.	54	             1	      ระบบสมการเชิงเส้น	             ค	4.2	(5)	   –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)	
	 	 10.30	-	11.30	น.	         	       	                                  	        –	สมุดบันทึก	 	
	 44	 25	ส.ค.	54	             1	      ระบบสมการเชิงเส้น	             ค	4.2	(5)	   –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)	
	 	 09.30	-10.30	น.	          	       	                                  	        –	สมุดบันทึก	 	
	 45	 30	ส.ค.	54	             1	      ระบบสมการเชิงเส้น	             ค	4.2	(5)	   –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)	
	 	 08.30	-	09.30	น.	         	       	                                  	        –	สมุดบันทึก	 	
	 46	 31	ส.ค.	54	             1	      ระบบสมการเชิงเส้น	             ค	4.2	(5)	   –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 10.30	-	11.30	น.	         	       	                                  	        –	สมุดบันทึก	 	
	 47	  1	ก.ย.	54	             1	      ระบบสมการเชิงเส้น	             ค	4.2	(5)	   –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)	
	 	 09.30	-	10.30	น.	         	       	                                  	        –	สมุดบันทึก	 	
	 48	  6	ก.ย.	54	             1	      ความคล้าย	                    ค	2.1	-	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 08.30	-	09.30	น.	         	       	                               ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	
	 49	  7	ก.ย.	54	             1	      ความคล้าย	                    ค	2.1	-	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 10.30	-	11.30	น.	         	       	                               ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	
	 50	  8	ก.ย.	54	             1	      ความคล้าย	                    ค	2.1	-	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 09.30	-	10.30	น.	         	       	                               ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	
	 51	  13	ก.ย.	54	            1	      ความคล้าย	                    ค	2.1	-	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน	(สสวท.)		
	 	 08.30	-	09.30	น.	         	       	                               ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	
	 52	  14	ก.ย.	54	            1	      ความคล้าย	                    ค	2.1	-	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 10.30	-	11.30	น.	         	       	                               ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	
	 53	  15	ก.ย.	54	            1	      ความคล้าย	                    ค	2.1	-	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)	
	 	 09.30	-	10.30	น.	         	       	                               ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	
	 54	  20	ก.ย.	54	            1	      ความคล้าย	                    ค	2.1	-	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 08.30	-	09.30	น.	         	       	                               ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	 	
	 55	  21	ก.ย.	54	            1	      ความคล้าย	                    ค	2.1	-	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 10.30	-	11.30	น.	         	       	                               ค	3.1		 –	สมุดบันทึก	 	
	 56	  22	ก.ย.	54	            1	      ความคล้าย	                    ค	2.1	-	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 09.30	-	10.30	น.	         	       	                               	ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	

                                                            52
กำหนดการสอนรายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม
     รายวิชา	คณิตศาสตร์		รหัสวิชา	ค33101		ชั้นมัธยมศึกษาปีที่	3		ภาคเรียนที่	1		ปีการศึกษา	2554	

 
                
        จำนวน                                   มาตรฐาน            สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง
 ครั้งที่    วัน/เดือน/ปี                          เรื่องที่สอน
                            ชั่วโมง                               การเรียนรู้ข้อที่ ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน)
	 57	  27	ก.ย.	54	            1	      ความคล้าย	                    ค	2.1	-	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 08.30	-	09.30	น.	         	       	                               	ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	
	 58	  28	ก.ย.	54	            1	      ความคล้าย	                    ค	2.1	-	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 10.30	-	11.30	น.	         	       	                               	ค	3.1	 –	สมุดบันทึก	
	 59	  29	ก.ย.	54	            1	      ความคล้าย	                    ค	2.1	-	2.3	 –	หนังสือแบบเรียน		(สสวท.)		
	 	 09.30	-	10.30	น.	         	       	                               	ค	3.1	 –	สมุดบันทึก






                                                            53
ผังมโนทัศน์
        รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่	3	
                                  
                              หน่วยที่ 1



                                                        ทรงกระบอก	        พีระมิด	

                                ปริซึม	
                                                                                     กรวย	
                                                            ปริมาตร	

                                                                           ทรงกลม	
รูปเรขาคณิตสามมิติ	



                                พื้นที่ผิวและปริมาตร




                                          พื้นที่ผิว	


                      ปริซึม	                                ทรงกระบอก	




                                             54
หน่วยที่ 2




                                                             กราฟของสมการเชิงเส้น	
                             กราฟเส้นตรง	                        สองตัวแปร	



                                      การเขียนกราฟ	
ระหว่างปริมาณสองชุด	
ที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น	

                                                                                การอ่านกราฟและ	
                                                      กราฟ                    แปลความหมายของกราฟ	



                                            กราฟกับการนำไปใช้	




                                                  55
หน่วยที่ 3




ระบบสมการเชิงเส้น	
   สองตัวแปร	


                      ระบบสมการ            การแก้ระบบสมการเชิงเส้น	
                        เชิงเส้น             สองตัวแปรและกราฟ	




                     โจทย์สมการเชิงเส้น	
                        สองตัวแปร	




                                56
หน่วยที่ 4




รูปที่คล้ายกัน	



                         ความคล้าย                รูปสามเหลี่ยม	
                                                    ที่คล้ายกัน	



                                
                          การนำไปใช้	




                                 
                        การแก้โจทย์ปัญหา	
                  เกี่ยวกับความยาวของสิ่งต่างๆ	




                                  57
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
                                 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่	3		ปีการศึกษา	2554	
   หน่วยการเรียนรู้ที่	1		เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร 	มาตรฐานการเรียนรู้ข้อที่	ค	2.1	-	ค	2.3	ค	3.1	


1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
     	   1.	 บอกลักษณะและสมบัติของทรงกระบอก	ปริซึม	พีระมิด	กรวย	และทรงกลมได้	
     	   2.	 หาปริมาตรของทรงกระบอก	ปริซึม	พีระมิด	กรวย	และทรงกลมได้	
     	   3.	 หาพื้นที่ผิวของทรงกระบอก	ปริซึมได้	
     	   4.	 เปรียบเทียบหน่วยความจุหรือหน่วยปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่างระบบได้	

2. สาระการเรียนรู้
     	   1.	 การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึม	
     	   2.	 การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของทรงกระบอก	
     	   3.	 การหาปริมาตรของพีระมิด	
     	   4.	 การหาปริมาตรของกรวย	
     	   5.	 การหาปริมาตรของทรงกลม	
     	   6.	 การเปรียบเทียบหน่วยปริมาตร	
     	   7.	 การเลือกใช้หน่วยปริมาตรและการนำไปใช้	

   3. กระบวนการจัดการเรียนรู้
     	   1.	 สนทนาเกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของปริซึม	พีระมิด	ทรงกระบอก	กรวย	และทรงกลมที่นักเรียนพบเห็น
             ในชีวิตประจำวัน	 	
     	   2.	 ครูอธิบายและยกตัวอย่างเพิ่มเติมโดยใช้รูปเรขาคณิตสามมิติและสื่อทรงสามมิติประกอบและให้นักเรียน
             ช่วยกันอภิปรายสรุป	 	
     	   3.	 ครูยกตัวอย่างพร้อมกับอธิบายการหาพื้นที่ผิวเรียบของปริซึม	และทรงกระบอกของทรงสามมิติ		 	
     	   4.	 นักเรียนฝึกทักษะโดยการทำกิจกรรมที่ครูกำหนดให้ในชั่วโมง	และทำแบบฝึกหัดเป็นการบ้าน	 	
     	   5.	 สนทนา	ซักถาม	ยกตัวอย่างเพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับสูตรการหาปริมาตรของทรงสามมิติ	 (ปริซึม	พีระมิด	
             ทรงกระบอก	กรวย	และทรงกลม)	            	
     	   6.	 ยกตัวอย่างพร้อมกับอธิบายเกี่ยวกับการหาปริมาตรของทรงสามมิติ	 (ปริซึม	พีระมิด	ทรงกระบอก	กรวย	
             และทรงกลม)	          	
     	   7.	 นักเรียนฝึกทักษะโดยการทำกิจกรรมที่ครูกำหนดให้ในชั่วโมง	และทำแบบฝึกหัดเป็นการบ้าน	 	
     
   8.
 ครูยกตัวอย่างพร้อมกับอธิบายการเปรียบเทียบหน่วยปริมาตรและการเปลียนหน่วยปริมาตรและให้นกเรียน
                                                                              ่                     ั
             ทำแบบฝึกหัด	         	


                                                   58
9.	 ครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหา	ให้นักเรียนร่วมวิเคราะห์โจทย์และนำความรู้เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรของรูป
            ทรงสามมิติมาใช้แก้ปัญหา	 	
     	 10.	 นักเรียนทำแบบทดสอบ	

4. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
     	   1.	 ศิลปะ	(วาดรูปทรงสามมิติ)	
     	   2.	 การงานอาชีพและเทคโนโลยี	(การออกแบบ)	
     	   3.	 วิทยาศาสตร์	

5. สื่อการสอน
     	   1.	 สไลด์การสอน	
     	   2.	 รูปทรงเรขาคณิตต่างๆ	(ปริซึม,	พีระมิด,	ทรงกระบอก,	กรวย,	ทรงกลม)	
     	   3.	 ใบงาน	

6. แหล่งการเรียนรู้
     	   1.	 หนังสือแบบเรียน	สสวท.	              	
     	   2.	 ห้องสมุด	CAI	
     	   3.	 สื่ออินเทอร์เน็ต	                   	
     	   4.	 ห้องสมุดโรงเรียนและกลุ่มสาระคณิตศาสตร์	 	

7. การวัดผลประเมินผล
     
   1. ด้านความรู้ (Knowledge)
       
     	     	 –	 แบบทดสอบความรู้	           	
     	     	 –	 ถาม	-	ตอบในชั้นเรียน	
         2. ด้านทักษะกระบวนการ (Process)
         
     	     	 –	 กิจกรรมกลุ่ม	
     	     	 –	 แบบฝึกหัด	
     
   3. ด้านเจตคติ (Attitude)
     	     	 –	 มีความคิดเป็นระบบ	         	
     	     	 –	 มีความรอบคอบ	 	
     	     	 –	 มีความรับผิดชอบ	

                                        _____________________________

     



                                                      59
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
                              ชั้นมัธยมศึกษาปีที่	3		ปีการศึกษา	2554	
                หน่วยการเรียนรู้ที่	2		เรื่อง กราฟ 	มาตรฐานการเรียนรู้ข้อที่	ค	4.2	(3,	4)	
                                                     
1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
     	    1.	 เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้นได้	
     	    2.	 เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นได้	
     	    3.	 อ่านและแปลความหมายของกราฟที่กำหนดได้	

2. สาระการเรียนรู้
     	    1.	 กราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น	
     	    2.	 กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร	
     	    3.	 กราฟกับการนำไปใช้	

3. กระบวนการจัดการเรียนรู้
     	    1.	 ครูยกตัวอย่างสถานการณ์ที่ให้ข้อมูลแสดงถึงความสัมพันธ์ของปริมาณสองชุด	 แล้วให้นักเรียนใช้ความรู้
              เรื่องคู่อันดับนำข้อมูลนั้นมาเขียนกราฟ	 	
     	    2.	 สนทนา	ซักถาม	พร้อมหาข้อสรุปถึงความสัมพันธ์ของปริมาณสองชุดที่มีกราฟอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน	
              ว่าเป็นความสัมพันธ์เชิงเส้น	 	
     	    3.	 ฝึกให้นักเรียนอ่านกราฟที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้นแล้วตอบคำถาม	 	
     	    4.	 ครูอธิบายพร้อมกับยกตัวอย่างสมการเชิงเส้นสองตัวแปร	(Ax	+	By	+	C	=	0	เมื่อ	x,	y	เป็นตัวแปร	A,	B	
              และ	C	เป็นค่าคงตัวที่	A	และ	B	ไม่เท่ากับศูนย์พร้อมกัน)	 	
     	    5.	 นักเรียนฝึกเขียนสมการเชิงเส้นสองตัวแปร	ให้อยู่ในรูป	Ax	+	By	+	C	=	0	พร้อมกับหาค่าของ	A,	B	และ	C		
     	    6.	 ครูอธิบายพร้อมยกตัวอย่างการหาคู่อันดับที่สอดคล้องกับสมการเชิงเส้นสองตัวแปรในกรณีต่างๆ	แล้วนำ
              ไปเขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร	 	
     	    7.	 นักเรียนฝึกเขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปรจากแบบฝึกหัดที่ครูกำหนดให้ในชั่วโมง	 และทำ	
              แบบฝึกหัดในหนังสือแบบเรียนเป็นการบ้าน	 	
     	    8.	 สนทนา	 ซักถาม	 เกี่ยวกับกราฟที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจำวันแล้วนำมาวิเคราะห์ว่าเป็นกราฟ	
              ของสมการเชิงเส้นสองตัวแปรหรือไม่	มีความสัมพันธ์แบบใด	ฝึกอ่านและแปลความหมายกราฟแบบอื่นๆ	
     	    9.	 ครูให้แบบฝึกหัดเพิ่มเติม	        	
     	   10.	 นักเรียนทำแบบทดสอบ	




                                                     60
4. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
     
    –

5. สื่อการสอน
     	   1.	 สไลด์การสอน	
     	   2.	 แบบเรียน,	สมุดกราฟ	

6. แหล่งการเรียนรู้
     	   1.	 ห้องสมุด	CAI	
     	   2.	 สื่ออินเทอร์เน็ต	
     	   4.	 ห้องสมุดโรงเรียนและกลุ่มสาระคณิตศาสตร์	

7. การวัดผลประเมินผล
     
   1. ด้านความรู้ (Knowledge)
       
     	     	 –	 แบบทดสอบความรู้	           	
     	     	 –	 ถาม	-	ตอบในชั้นเรียน	
         2. ด้านทักษะกระบวนการ (Process)
         
     	     	 –	 กิจกรรมกลุ่ม	 	
     	     	 –	 แบบฝึกหัด	
         3. ด้านเจตคติ (Attitude)
     	     	 –	 มีความคิดเป็นระบบ	         	
     	     	 –	 มีความรอบคอบ	 	
     	     	 –	 มีความรับผิดชอบ	

                                        _____________________________

     
     
     




                                                      61
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
                                 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่	3		ปีการศึกษา	2554	
         หน่วยการเรียนรู้ที่	3		เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้น 	มาตรฐานการเรียนรู้ข้อที่	ค	4.2	(5)	
                                                     
1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
     	   1.	 อ่านและแปลความหมายของกราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้	
     	   2.	 แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้	
     	   3.	 นำระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ	ได้	

2. สาระการเรียนรู้
     	   1.	 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร	
     	   2.	 การอ่านและแปลความหมายกราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร	
     	   3.	 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร	
     	   4.	 การนำระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ	

3. กระบวนการจัดการเรียนรู้
     	   1.	 ทบทวนความรู้เกี่ยวกับสมการและการแก้สมการเชิงเส้น	
     	   2.	 ครูยกตัวอย่างการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดยใช้กราฟ	
     	   3.	 ครูใช้การถาม	 -	ตอบ	เพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับการหาคำตอบของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดยใช้
             กราฟ	
     	   4.	 ครูยกโจทย์ตัวอย่างให้นักเรียนศึกษาและหาคำตอบ	
     	   5.	 ครูอธิบายพร้อมยกตัวอย่างการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร	 โดยการแทนค่าแล้วให้นักเรียนฝึก		
             โดยการทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียนและทำเป็นการบ้าน	
     	   6.	 ครูอธิบายพร้อมยกตัวอย่างการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดยการกำจัดตัวแปรแล้วให้นักเรียนฝึก
             โดยการทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียนและทำเป็นการบ้าน	
     	   7.	 ครูยกตัวอย่างโจทย์โดยใช้การถาม	-	ตอบ	ตามลำดับขั้นตอนกระบวนการแก้ปัญหา	พร้อมฝึกให้นักเรียน
             วิเคราะห์โจทย์ปัญหา	เขียนเป็นระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร	และแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร	
     	   8.	 ครูให้โจทย์แบบฝึกหัดเพิ่มเติม	
     	   9.	 นักเรียนทำแบบทดสอบ	

4. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
     
    –




                                                  62
5. สื่อการสอน
     	   1.	 สไลด์การสอน	
     	   2.	 หนังสือแบบเรียน	
     	   3.	 แบบทดสอบ	

6. แหล่งการเรียนรู้
     	   1.	 ห้องสมุด	CAI	
     	   2.	 สื่ออินเทอร์เน็ต	
     	   3.	 ห้องสมุดโรงเรียนและกลุ่มสาระคณิตศาสตร์	

7. การวัดผลประเมินผล
         1. ด้านความรู้ (Knowledge)
       
     	     	 –	 แบบทดสอบความรู้	           	
     	     	 –	 ถาม	-	ตอบในชั้นเรียน	
     
   2. ด้านทักษะกระบวนการ (Process)
         
     	     	 –	 กิจกรรมกลุ่ม	 	
     	     	 –	 แบบฝึกหัด	    	
         3. ด้านเจตคติ (Attitude)
     	     	 –	 มีความคิดเป็นระบบ	         	
     	     	 –	 มีความรอบคอบ	 	
     	     	 –	 มีความรับผิดชอบ	

                                        _____________________________

     

     
     
     
     




                                                      63
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
                                 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่	3		ปีการศึกษา	2554	
         หน่วยการเรียนรู้ที่	4		เรื่อง ความคล้าย 	มาตรฐานการเรียนรู้ข้อที่	ค	2.1	-	ค	2.3	ค	3.1	
                                                     
1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
     	    1.	 บอกสมบัติของความคล้ายกันของรูปสามเหลี่ยมได้	
     	    2.	 บอกเงื่อนไขที่ทำให้รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกันได้	
     	    3.	 ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้	

2. สาระการเรียนรู้
     	    1.	 รูปเรขาคณิตที่คล้ายกัน	
     	    2.	 รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน	
     	    3.	 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน	
     	    4.	 การนำไปใช้	

3. กระบวนการจัดการเรียนรู้
     	    1.	 สนทนา	ซักถาม	นักเรียนถึงความคล้ายของสิ่งต่างๆ	ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจำวัน	 	
     	    2.	 ครูให้นักเรียนดูรูปสิ่งต่างๆ	และรูปเรขาคณิตที่คล้ายกัน	ให้นักเรียนช่วยกันอภิปรายสรุปถึงความคล้ายกัน
              ที่เห็น	      	
     	    3.	 ครูยกตัวอย่างพร้อมอธิบายถึงสมบัติของรูปเรขาคณิตที่คล้ายกัน	แล้วยกตัวอย่างโจทย์ให้นักเรียนฝึกทำ	
     	    4.	 ให้นักเรียนศึกษาบทนิยามของรูปหลายเหลี่ยมที่คล้ายกัน	แล้วฝึกวิเคราะห์รูปหลายเหลี่ยมที่ครูกำหนดให้
              ว่าคล้ายกันหรือไม่	โดยใช้ความรู้จากบทนิยามข้างต้น	        	
     	    5.	 นักเรียนทำแบบฝึกหัดจากโจทย์ในหนังสือแบบเรียนเพิ่มเติม	             	
     	    6.	 ครูอธิบายพร้อมกับสาธิตกิจกรรมรูปเหมือนในหนังสือแบบเรียนในหน้า	160	 แล้วให้นักเรียนไปสร้าง	
              รูปเหมือนจากใบไม้ขนาดจริง	 	
     	    7.	 ให้นักเรียนศึกษาบทนิยามของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน	 แล้วพิจารณารูปสามเหลี่ยมที่ครูกำหนดให้ว่า	
              รูปใดบ้างที่คล้ายกันและอภิปรายสรุปบทนิยาม	 	
     	    8.	 ครูอธิบายพร้อมกับยกตัวอย่างการพิสูจน์รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันโดยใช้บทนิยาม	และทฤษฎีบท		
     	    9.	 ให้นักเรียนหาความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมที่กำหนดให้โดยใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยม	 และทำ
              แบบฝึกหัดเพิ่มเติมในหนังสือแบบเรียน	 	
     	   10.	 ครูกำหนดโจทย์ปัญหาให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์	 และใช้ความรู้เรื่องสามเหลี่ยมคล้ายเป็นแนวทางเพื่อหา
              คำตอบ	        	
     	   11.	 นักเรียนทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติมในหนังสือแบบเรียน	            	
     	   12.	 นักเรียนทำแบบทดสอบ	

                                                      64
4. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
     	     	 ศิลปะ	(การวาดรูปจากโจทย์)	

5. สื่อการสอน
     	   1.	 สไลด์การสอน	
     	   2.	 หนังสือแบบเรียน	
     	   3.	 แบบทดสอบ	

6. แหล่งการเรียนรู้
     	   1.	 ห้องสมุด	CAI	
     	   2.	 สื่ออินเทอร์เน็ต	
     	   3.	 ห้องสมุดโรงเรียนและกลุ่มสาระคณิตศาสตร์	

7. การวัดผลประเมินผล
         1. ด้านความรู้ (Knowledge)
     	     	 –	 แบบทดสอบความรู้	           	
     	     	 –	 ถาม	-	ตอบในชั้นเรียน	
         2. ด้านทักษะกระบวนการ (Process)
         
     	     	 –	 กิจกรรมกลุ่ม	 	
     	     	 –	 แบบฝึกหัด	
     
   3. ด้านเจตคติ (Attitude)
     	     	 –	 มีความคิดเป็นระบบ	         	
     	     	 –	 มีความรอบคอบ	 	
     	     	 –	 มีความรับผิดชอบ	

                                        _____________________________
     
     
     




                                                      65
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1
รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101                                                                                                                 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

1. กรวยอันหนึ่งมีขนาดกว้าง 4 1 เมตร ยาว 10 เมตร และสูง 1 1 เมตร จะใส่ทรายได้กี่ลูกบาศก์เมตร
                             –
                             2                           –
                                                         3
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
2. ถังเก็บน้ำขนาด 1 ลูกบาศก์เมตร จะจุน้ำได้กี่ลิตร
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
3. ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีปริมาตร 306 ลูกบาศก์เซนติเมตร ยาว 8.5 เซนติเมตร จะมีพื้นที่ผิวทั้งหมดเท่าไร
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
4. พีระมิดตรงฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีด้านของฐานยาวด้านละ 10 นิ้ว และมีสันยาว 12 นิ้ว จงหาสูงเอียงและความสูงของ
   พีระมิด
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................



                                                                                         66
5. ทรงกระบอกตรงอันหนึ่งมีพื้นที่ผิวข้าง 880 ตารางเซนติเมตร ถ้าทรงกระบอกนี้สูง 14 เซนติเมตร แล้วจะมีรัศมี
   หน้าตัดยาวกี่เซนติเมตร (กำหนด π = 22 )–
                                         7
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
6. จงหาปริมาตรและพื้นที่ผิวของกรวยซึ่งมีรัศมีของฐานยาว 20 เซนติเมตร สูง 21 เซนติเมตร
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
7. ทรงกลมตันลูกหนึ่งมีเส้นรอบวงยาว 132 เซนติเมตร ปริมาตรของทรงกลมนี้เท่ากับกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................

                                                              _____________________________




                                                                                         67
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101                                                                                   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3


กราฟเส้นตรงกับการนำไปใช้
      การแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดด้วยการเขียนกราฟ เป็นวิธีการแสดงลักษณะของข้อมูลเมื่อ
กำหนดปริมาณหนึ่งมาให้และต้องการทราบอีกปริมาณหนึ่ง จะสามารถอ่านได้อย่างคร่าวๆ และรวดเร็ว
       ตัวอย่างที่ 1 นักเรียนคนหนึงขีจกรยานในระยะทาง 45 กิโลเมตร เริมเดินทาง 11.00 น. ดังกราฟ แสดงการเดินทาง
                                  ่ ่ั                              ่




จากกราฟด้านบน จงตอบคำถามต่อไปนี้
       1. นักเรียนคนนี้ขี่จักรยานถึงปลายทางเวลาเท่าไร...............................................................................................
       2. ในเวลา 3 ชั่วโมงแรกเขาเดินทางได้กี่กิโลเมตร................................................................................................
       3. ในช่วงเวลา 11.00 - 12.00 น. เขาขี่จักรยานด้วยอัตราเร็วเท่าไร.......................................................................




                                                                      68
ตัวอย่างที่ 2 การเดินทางของชายคนหนึ่งด้วยรถยนต์ส่วนตัว เขาขับรถด้วยอัตราเร็ว 30 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ตั้งแต่
              07.00 - 09.00 น. แล้วหยุดพักระหว่างทางเป็นเวลา 20 นาที หลังจากหยุดพักขับรถต่อไปด้วยอัตราเร็ว
              สม่ำเสมอ 75 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เขียนกราฟแสดงการเดินทางของชายคนนี้ได้ดังนี้




จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. เวลา 09.00 น. ชายคนนี้ขับรถได้ระยะทางเท่าไร............................................................................................................
2. เวลา 10.20 น. ชายคนนี้ขับรถได้ระยะทางเท่าไร............................................................................................................
3. ถ้าชายคนนี้ขับรถได้ทาง 250 กิโลเมตร ใช้เวลาขับรถเท่าไร...........................................................................................

ตัวอย่างที่ 3 กำหนดค่าของ x และ y ดังตาราง
                          x             0         150         300         450         600          750         900
                          y          100.0        99.5        99.0        98.5        98.0         97.5        97.0

ให้นักเรียนเขียนกราฟแล้วตอบคำถาม




                                                                           69
1. ถ้า x = 1200 แล้ว y มีค่าเท่ากับเท่าไร
   .......................................................................................................................................................................................
2. ถ้า y = 96 แล้ว x มีค่าเท่าไร
   .......................................................................................................................................................................................
3. ให้นักเรียนหาความสัมพันธ์ระหว่าง x และ y
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
     เมื่อ y = 0 แล้ว x จะมีค่าเท่าไร
     .......................................................................................................................................................................................
4. ถ้า x แทนความสูงเหนือระดับน้ำทะเลหน่วยเป็นเมตร (ระดับที่มีความกดดันของบรรยากาศเท่ากับ 1 บรรยากาศ
   หรือเท่ากับความสูงของปรอท 760 มิลลิลิตร) และ y แทนจุดเดือดของน้ำ หน่วยเป็นองศาเซลเซียส จุดเดือดของน้ำ
   ที่ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 2,100 เมตร เป็นเท่าไร
   .......................................................................................................................................................................................
5. จากข้อ 4 ความสูงเหนือระดับน้ำทะเลที่จุดเดือดของน้ำเป็น 80 องศาเซลเซียส
   .......................................................................................................................................................................................
ตัวอย่างที่ 4               กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลา t กับระยะทาง s




จากกราฟ ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. อัตราเร็วในช่วง 15 วินาทีแรกเป็นเท่าไร.........................................................................................................................
2. อัตราเร็วคงที่ในช่วงใด...................................................................................................................................................
3. อัตราเร็วในช่วงวินาทีที่ 25 และวินาทีที่ 30 เป็นเท่าไร....................................................................................................
4. อัตราเร็วในช่วงวินาทีที่ 30 และวินาทีที่ 40 เป็นเท่าไร....................................................................................................

                                                                                           70
ตัวอย่างที่ 5 เด็กคนหนึ่งขี่จักรยานออกจากที่แห่งหนึ่งเมื่อเวลา 09.00 น. ด้วยอัตราเร็ว 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จนถึง
              เวลา 10.30 น. หยุดพักครึ่งชั่วโมง หลังจากนั้นขี่จักรยานต่อไปด้วยอัตราเร็ว 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
              จนถึงที่หมาย ได้ทางทั้งหมด 40 กิโลเมตร
1. ให้นักเรียนเขียนกราฟแสดงการเดินทางของเด็กคนนี้




2. เวลา 11.00 เด็กคนนี้ขี่จักรยานได้ระยะทางเท่าไร...........................................................................................................
3. ถึงที่หมายเมื่อเวลาประมาณเท่าใด..................................................................................................................................
4. อัตราเร็วเฉลี่ยตลอดการเดินทางเป็นเท่าไร (ประมาณเป็นจำนวนเต็ม)...........................................................................
ตัวอย่างที่ 6 รถยนต์ A และรถยนต์ B ออกจากที่ แ ห่ ง เดี ย วกั น รถยนต์ A ออกวิ่ ง เมื่ อ 08.00 น. ด้ ว ยอั ต ราเร็ ว
              50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง รถยนต์ B ออกวิ่งเมื่อ 09.00 น. ด้วยอัตราเร็ว 75 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
1. ให้นักเรียนเขียนกราฟแสดงการเดินทางของรถยนต์




2. รถยนต์ทั้งสองคันไปทันกันเมื่อเวลาใด..........................................................................................................................
3. ถ้ารถยนต์ทั้งสองคันไปทันกันเมื่อวิ่งไปได้ระยะทางเท่าไร.............................................................................................
4. ถ้ารถยนต์ทั้งสองคันต้องวิ่งได้ระยะทาง 300 กิโลเมตร รถสองคันถึงปลายทางเร็วกว่ากันเท่าไร...................................

                                                                               71
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101                                                                                                                  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

คำชี้แจง : จงแก้ระบสมการดังต่อไปนี้
1. x - 3y = 6              ....................................       ➀
    2x - 6y = 8 ....................................                  ➁
    .......................................................................................................................................................................................
    .......................................................................................................................................................................................
    .......................................................................................................................................................................................
    .......................................................................................................................................................................................
2. 2x - 3y = 14 ....................................                  ➀
    3x + 2y = 8 .................................... ➁
                    

    .......................................................................................................................................................................................
    .......................................................................................................................................................................................
    .......................................................................................................................................................................................
    .......................................................................................................................................................................................
3. 2x + 3y = 16 ....................................                  ➀
    3x - 4y = 41 ....................................                 ➁

    .......................................................................................................................................................................................
    .......................................................................................................................................................................................
    .......................................................................................................................................................................................
    .......................................................................................................................................................................................
    .......................................................................................
4. 2x + y = -3 ....................................                   ➀
    -6x - 3y = 9 ....................................                 ➁
    .......................................................................................................................................................................................
    .......................................................................................................................................................................................
    .......................................................................................................................................................................................
    .......................................................................................................................................................................................

                                                                                          72
โจทย์ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
              ก่อนขึ้นเรื่องการแก้โจทย์ปัญหา ลองเปลี่ยนข้อความให้อยู่ในรูปของสมการ โดยมี x และ y เป็นตัวแปร

1. ครึ่งหนึ่งของจำนวนหนึ่งเป็นห้าเท่าของอีกจำนวนหนึ่ง
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................

2. รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่งมีด้านกว้างสั้นกว่าด้านยาว 5 เมตร
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................

3. จำนวนมังคุดน้อยกว่า 2 ของจำนวนเงาะอยู่ 48
                                        –
                                        3
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................

4. ลวดหนามขดหนึ่งยาว 72 เมตร นำไปล้อมรั้วรอบที่ดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีด้านกว้างสั้นกว่าด้านยาว 8 เมตร ได้พอดี
   จงหาพื้นที่ของที่ดินแปลงนี้
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................

5. จำนวนสองจำนวน จำนวนมากมากกว่าสองเท่าของจำนวนน้อยอยู่ 3 แต่สองเท่าของจำนวนมากมากกว่าจำนวนน้อย
   อยู่ 27 จงหาจำนวนทั้งสองนั้น
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................

                                                                _____________________________

                                                                                           73
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101                                                                                                ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3


1. กำหนดให้ ∆ ABC และ ∆ DBE มีมุม C = มุม D และให้ AB = 2.8, AC = 4 และ DE = 6 หน่วย จงหาความยาว
   ของ BE

                                                      .................................................................................................
                                                      .................................................................................................
                                                      .................................................................................................
                                                      .................................................................................................
                                                      .................................................................................................
                                                      .................................................................................................
                                                      .................................................................................................
                                                      .................................................................................................
                                                      .................................................................................................
                                                      .................................................................................................
                                                               —
2. จากรูป EF // BC และ AF : EF = 3 : 4 ถ้า BC 24 เซนติเมตร AC ยาวกี่เซนติเมตร
                                                                         .................................................................................................
                                                                         .................................................................................................
                                                                         .................................................................................................
                                                                         .................................................................................................
                                                                         .................................................................................................
                                                                         .................................................................................................
                                                                         .................................................................................................
                                                                         .................................................................................................
                                                                         .................................................................................................
                                                                         .................................................................................................




                                                                         74
2
3. บั น ไดยาว 4 เมตร พาดอยู่ กั บ ผนั ง ตึ ก เมื่ อ ช่ า งทาสี ขึ้ น บั น ไดไปได้ – ของบั น ได เขาทำแปรงตก ถ้ า จุ ด ที่ แ ปรง
                                                                                                                   5
   ตกลงมาถูกพื้นดินห่างจากผนังตึก 1.2 เมตร จงหาว่าเชิงบันไดอยู่ห่างจากผนังตึกประมาณเท่าไร
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
4. ชายคนหนึ่งอยู่ห่างจากเสาไฟฟ้า 15 เมตร สังเกตเห็นเงาของตัวเองซึ่งเกิดจากดวงไฟปลายเสาทอดออกไปยาว 3 เมตร
   ถ้าชายคนนี้สูง 1.60 เมตร เสาไฟฟ้าสูงเท่าไร
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................
   .......................................................................................................................................................................................

                                                                _____________________________




                                                                                          75

More Related Content

What's hot

ปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันKatewaree Yosyingyong
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1dnavaroj
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfKatewaree Yosyingyong
 
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดทับทิม เจริญตา
 
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdfแผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdfKatewaree Yosyingyong
 
การแข่งทักษะ
การแข่งทักษะการแข่งทักษะ
การแข่งทักษะnatlada
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง Le futur proche
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง Le futur procheบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง Le futur proche
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง Le futur procheRoongrat Ta-naew
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)Chatwan Wangyai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.Katewaree Yosyingyong
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานทับทิม เจริญตา
 
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ krupornpana55
 
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxSlแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxkrupornpana55
 

What's hot (15)

แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
integer
integerinteger
integer
 
ปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้อง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
 
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
 
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdfแผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
 
การแข่งทักษะ
การแข่งทักษะการแข่งทักษะ
การแข่งทักษะ
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง Le futur proche
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง Le futur procheบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง Le futur proche
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง Le futur proche
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
 
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxSlแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
 

Viewers also liked

ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkanjana2536
 
ใบงานสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
ใบงานสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ใบงานสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
ใบงานสัญกรณ์วิทยาศาสตร์kanjana2536
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นkruthanapornkodnara
 
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตอนุชิต ไชยชมพู
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรJiraprapa Suwannajak
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 

Viewers also liked (10)

ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ใบงานสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
ใบงานสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ใบงานสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
ใบงานสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
 
GSP คณิตศาสตร์ ม.ปลาย ม.4-5-6
GSP คณิตศาสตร์ ม.ปลาย ม.4-5-6GSP คณิตศาสตร์ ม.ปลาย ม.4-5-6
GSP คณิตศาสตร์ ม.ปลาย ม.4-5-6
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 

Similar to 13038713421595

แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอนLampang Rajabhat University
 
13040553796184
1304055379618413040553796184
13040553796184nha2509
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรYui Piyaporn
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึมkrookay2012
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2krurain
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2krurain
 
แผนภูมิวงกลม
แผนภูมิวงกลมแผนภูมิวงกลม
แผนภูมิวงกลมkroojaja
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1kruthailand
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 

Similar to 13038713421595 (20)

Obj 33101
Obj 33101Obj 33101
Obj 33101
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
 
13040553796184
1304055379618413040553796184
13040553796184
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 
1-2
1-21-2
1-2
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
Plan 2
Plan 2Plan 2
Plan 2
 
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
 
แผนภูมิวงกลม
แผนภูมิวงกลมแผนภูมิวงกลม
แผนภูมิวงกลม
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 

More from อนุรักษ์ สาระสิทธิ์ (8)

ม.4 2554 ใหม่เฉลี่ยแล้ว
ม.4 2554 ใหม่เฉลี่ยแล้วม.4 2554 ใหม่เฉลี่ยแล้ว
ม.4 2554 ใหม่เฉลี่ยแล้ว
 
ม.3 2554เฉลี่ยแล้ว
ม.3 2554เฉลี่ยแล้วม.3 2554เฉลี่ยแล้ว
ม.3 2554เฉลี่ยแล้ว
 
ม.2 2554เฉลี่ยแล้ว
ม.2 2554เฉลี่ยแล้วม.2 2554เฉลี่ยแล้ว
ม.2 2554เฉลี่ยแล้ว
 
ม.1 2554เฉลี่ยแล้ว
ม.1 2554เฉลี่ยแล้วม.1 2554เฉลี่ยแล้ว
ม.1 2554เฉลี่ยแล้ว
 
ม.6 2554เฉลี่ยแล้ว
ม.6 2554เฉลี่ยแล้วม.6 2554เฉลี่ยแล้ว
ม.6 2554เฉลี่ยแล้ว
 
Abstrack torkiat
Abstrack torkiatAbstrack torkiat
Abstrack torkiat
 
ม.1 2554เฉลี่ยแล้ว
ม.1 2554เฉลี่ยแล้วม.1 2554เฉลี่ยแล้ว
ม.1 2554เฉลี่ยแล้ว
 
ม.1 2554เฉลี่ยแล้ว
ม.1 2554เฉลี่ยแล้วม.1 2554เฉลี่ยแล้ว
ม.1 2554เฉลี่ยแล้ว
 

13038713421595

  • 1. รหัสวิชา ค33101 วิชา คณิตศาสตร์ ชั้น ม. 3 ภาคเรียนที่ 1 1. จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ 2. หนังสือที่ใช้ในการเรียน – แบบเรียน คณิตศาสตร์ เล่ม 1 ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) สำนักพิมพ์ คุรุสภา – หนังสืออ่านประกอบ 1. ผู้แต่ง อาจารย์โชคชัย สิริหาญอุดม สำนักพิมพ์ เดอะบุคส์ จำกัด 2. ผู้แต่ง เลิศ เกษรคำ สำนักพิมพ์ บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด 3. ผู้แต่ง รศ. ดร. ณรงค์ ปั้นนิ่ม สำนักพิมพ์ ภูมิบัณฑิต 4. ผู้แต่ง อาจารย์สุเทพ จันทร์สมบูรณ์กุล สำนักพิมพ์ เดอะบุคส์ จำกัด 5. ผู้แต่ง สุชิน ทำมาหากิน สำนักพิมพ์ บริษัทธนรัชการพิมพ์ จำกัด 6. ผู้แต่ง ไตรภพ อินทุใส สำนักพิมพ์ นิพนธ์ 7. ผู้แต่ง กนกวลี อุษณกรกุล สำนักพิมพ์ บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด 8. ผู้แต่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์วินิจ วงศ์รัตนะ สำนักพิมพ์ ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง จำกัด 9. ผู้แต่ง ศาสตราจารย์กิตติคุณ ยุพิน พิพิธกุล สำนักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำกัด 3. ผู้เขียนคู่มือ ชื่อ นางจำเนียร บุตรเล็ก ตำแหน่ง ครู E-mail : chamnern@kkws.ac.th สถานที่ทำงาน โรงเรียนวังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77110 46
  • 2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง พื้นที่ผิวและปริมาตร 1. บอกลักษณะของทรงกระบอก ปริซึม พีระมิด กรวย และทรงกลมได้ 2. หาปริมาตรของทรงกระบอก ปริซึม พีระมิด กรวย และทรงกลมได้ 3. หาพื้นที่ผิวของทรงกระบอก ปริซึม 4. เปรียบเทียบหน่วยความจุหรือหน่วยปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่างระบบได้ 5. เลือกใช้หน่วยการวัดเกี่ยวกับความจุหรือปริมาตรได้อย่างเหมาะสม 6. ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ผิวและปริมาตรแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้ กราฟ 7. เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้นได้ 8. เขียนกราฟของอสมการเชิงเส้นได้ 9. อ่านและแปลความหมายของกราฟที่กำหนดได้ ระบบสมการเชิงเส้น 10. อ่านและแปลความหมายกราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้ 11. แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้ 12. นำระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้ ความคล้าย 13. บอกสมบัติของความคล้ายกันของรูปสามเหลี่ยมได้ 14. บอกเงื่อนไขที่ทำให้รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกันได้ 15. ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้ 47
  • 3. หน่วยการเรียนรู้ รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 4 หน่วยการเรียนรู้ เวลา 59 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) 1 ปริมาตรและพื้นที่ผิว 20 1. การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึม 2. การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของทรงกระบอก 3. การหาปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม 4. การเปรียบเทียบหน่วยปริมาตร 5. การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่ผิวและปริมาตร 2 กราฟ 13 1. กราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มี ความสัมพันธ์เชิงเส้น 2. กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 3. กราฟกับการนำไปใช้ 3 ระบบสมการเชิงเส้น 14 1. ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 2. กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 3. ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 4. การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 5. การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 4 ความคล้าย 12 1. รูปที่คล้ายกัน 2. รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 3. สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 4. การนำไปใช้ 48
  • 4. กำหนดการสอนรายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จำนวน มาตรฐาน สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เรื่องที่สอน ชั่วโมง การเรียนรู้ข้อที่ ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 1 18 พ.ค. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 2 19 พ.ค. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 3 24 พ.ค. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 4 25 พ.ค. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 5 26 พ.ค. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 6 31 พ.ค. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 7 1 มิ.ย. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 8 2 มิ.ย. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 9 7 มิ.ย. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 10 8 มิ.ย. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 11 9 มิ.ย. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 12 14 มิ.ย. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 13 15 มิ.ย. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 14 16 มิ.ย. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 49
  • 5. กำหนดการสอนรายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จำนวน มาตรฐาน สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เรื่องที่สอน ชั่วโมง การเรียนรู้ข้อที่ ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 15 21 มิ.ย. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 16 22 มิ.ย. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 17 23 มิ.ย. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 18 28 มิ.ย. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 19 29 มิ.ย. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 20 30 มิ.ย. 54 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร ค 2.1 - ค 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 21 5 ก.ค. 54 1 กราฟ ค 4.2 (3, 4) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. – สมุดบันทึก 22 6 ก.ค. 54 1 กราฟ ค 4.2 (3, 4) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. – สมุดบันทึก 23 7 ก.ค. 54 1 กราฟ ค 4.2 (3, 4) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. – สมุดบันทึก 24 12 ก.ค. 54 1 กราฟ ค 4.2 (3, 4) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. – สมุดบันทึก 25 13 ก.ค. 54 1 กราฟ ค 4.2 (3, 4) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. – สมุดบันทึก 26 14 ก.ค. 54 1 กราฟ ค 4.2 (3, 4) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. – สมุดบันทึก 27 19 ก.ค. 54 1 กราฟ ค 4.2 (3, 4) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. – สมุดบันทึก 28 20 ก.ค. 54 1 กราฟ ค 4.2 (3, 4) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. – สมุดบันทึก 50
  • 6. กำหนดการสอนรายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จำนวน มาตรฐาน สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เรื่องที่สอน ชั่วโมง การเรียนรู้ข้อที่ ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 29 21 ก.ค. 54 1 กราฟ ค 4.2 (3, 4) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. – สมุดบันทึก 30 26 ก.ค. 54 1 กราฟ ค 4.2 (3, 4) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. – สมุดบันทึก 31 27 ก.ค. 54 1 กราฟ ค 4.2 (3, 4) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. – สมุดบันทึก 32 28 ก.ค. 54 1 กราฟ ค 4.2 (3, 4) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. – สมุดบันทึก 33 2 ส.ค. 54 1 กราฟ ค 4.2 (3, 4) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. – สมุดบันทึก 34 3 ส.ค. 54 1 ระบบสมการเชิงเส้น ค 4.2 (5) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. – สมุดบันทึก 35 4 ส.ค. 54 1 ระบบสมการเชิงเส้น ค 4.2 (5) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. – สมุดบันทึก 36 9 ส.ค. 54 1 ระบบสมการเชิงเส้น ค 4.2 (5) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. – สมุดบันทึก 37 10 ส.ค. 54 1 ระบบสมการเชิงเส้น ค 4.2 (5) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. – สมุดบันทึก 38 11 ส.ค. 54 1 ระบบสมการเชิงเส้น ค 4.2 (5) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. – สมุดบันทึก 39 16 ส.ค. 54 1 ระบบสมการเชิงเส้น ค 4.2 (5) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. – สมุดบันทึก 40 17 ส.ค. 54 1 ระบบสมการเชิงเส้น ค 4.2 (5) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. – สมุดบันทึก 41 18 ส.ค. 54 1 ระบบสมการเชิงเส้น ค 4.2 (5) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. – สมุดบันทึก 42 23 ส.ค. 54 1 ระบบสมการเชิงเส้น ค 4.2 (5) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. – สมุดบันทึก 51
  • 7. กำหนดการสอนรายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จำนวน มาตรฐาน สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เรื่องที่สอน ชั่วโมง การเรียนรู้ข้อที่ ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 43 24 ส.ค. 54 1 ระบบสมการเชิงเส้น ค 4.2 (5) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. – สมุดบันทึก 44 25 ส.ค. 54 1 ระบบสมการเชิงเส้น ค 4.2 (5) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 -10.30 น. – สมุดบันทึก 45 30 ส.ค. 54 1 ระบบสมการเชิงเส้น ค 4.2 (5) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. – สมุดบันทึก 46 31 ส.ค. 54 1 ระบบสมการเชิงเส้น ค 4.2 (5) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. – สมุดบันทึก 47 1 ก.ย. 54 1 ระบบสมการเชิงเส้น ค 4.2 (5) – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. – สมุดบันทึก 48 6 ก.ย. 54 1 ความคล้าย ค 2.1 - 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 49 7 ก.ย. 54 1 ความคล้าย ค 2.1 - 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 50 8 ก.ย. 54 1 ความคล้าย ค 2.1 - 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 51 13 ก.ย. 54 1 ความคล้าย ค 2.1 - 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 52 14 ก.ย. 54 1 ความคล้าย ค 2.1 - 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 53 15 ก.ย. 54 1 ความคล้าย ค 2.1 - 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 54 20 ก.ย. 54 1 ความคล้าย ค 2.1 - 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 55 21 ก.ย. 54 1 ความคล้าย ค 2.1 - 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 56 22 ก.ย. 54 1 ความคล้าย ค 2.1 - 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 52
  • 8. กำหนดการสอนรายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จำนวน มาตรฐาน สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เรื่องที่สอน ชั่วโมง การเรียนรู้ข้อที่ ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 57 27 ก.ย. 54 1 ความคล้าย ค 2.1 - 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 08.30 - 09.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 58 28 ก.ย. 54 1 ความคล้าย ค 2.1 - 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 10.30 - 11.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 59 29 ก.ย. 54 1 ความคล้าย ค 2.1 - 2.3 – หนังสือแบบเรียน (สสวท.) 09.30 - 10.30 น. ค 3.1 – สมุดบันทึก 53
  • 9. ผังมโนทัศน์ รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยที่ 1 ทรงกระบอก พีระมิด ปริซึม กรวย ปริมาตร ทรงกลม รูปเรขาคณิตสามมิติ พื้นที่ผิวและปริมาตร พื้นที่ผิว ปริซึม ทรงกระบอก 54
  • 10. หน่วยที่ 2 กราฟของสมการเชิงเส้น กราฟเส้นตรง สองตัวแปร การเขียนกราฟ ระหว่างปริมาณสองชุด ที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น การอ่านกราฟและ กราฟ แปลความหมายของกราฟ กราฟกับการนำไปใช้ 55
  • 11. หน่วยที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น สองตัวแปร ระบบสมการ การแก้ระบบสมการเชิงเส้น เชิงเส้น สองตัวแปรและกราฟ โจทย์สมการเชิงเส้น สองตัวแปร 56
  • 12. หน่วยที่ 4 รูปที่คล้ายกัน ความคล้าย รูปสามเหลี่ยม ที่คล้ายกัน การนำไปใช้ การแก้โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับความยาวของสิ่งต่างๆ 57
  • 13. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2554 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร มาตรฐานการเรียนรู้ข้อที่ ค 2.1 - ค 2.3 ค 3.1 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. บอกลักษณะและสมบัติของทรงกระบอก ปริซึม พีระมิด กรวย และทรงกลมได้ 2. หาปริมาตรของทรงกระบอก ปริซึม พีระมิด กรวย และทรงกลมได้ 3. หาพื้นที่ผิวของทรงกระบอก ปริซึมได้ 4. เปรียบเทียบหน่วยความจุหรือหน่วยปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่างระบบได้ 2. สาระการเรียนรู้ 1. การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึม 2. การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของทรงกระบอก 3. การหาปริมาตรของพีระมิด 4. การหาปริมาตรของกรวย 5. การหาปริมาตรของทรงกลม 6. การเปรียบเทียบหน่วยปริมาตร 7. การเลือกใช้หน่วยปริมาตรและการนำไปใช้ 3. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. สนทนาเกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลมที่นักเรียนพบเห็น ในชีวิตประจำวัน 2. ครูอธิบายและยกตัวอย่างเพิ่มเติมโดยใช้รูปเรขาคณิตสามมิติและสื่อทรงสามมิติประกอบและให้นักเรียน ช่วยกันอภิปรายสรุป 3. ครูยกตัวอย่างพร้อมกับอธิบายการหาพื้นที่ผิวเรียบของปริซึม และทรงกระบอกของทรงสามมิติ 4. นักเรียนฝึกทักษะโดยการทำกิจกรรมที่ครูกำหนดให้ในชั่วโมง และทำแบบฝึกหัดเป็นการบ้าน 5. สนทนา ซักถาม ยกตัวอย่างเพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับสูตรการหาปริมาตรของทรงสามมิติ (ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม) 6. ยกตัวอย่างพร้อมกับอธิบายเกี่ยวกับการหาปริมาตรของทรงสามมิติ (ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม) 7. นักเรียนฝึกทักษะโดยการทำกิจกรรมที่ครูกำหนดให้ในชั่วโมง และทำแบบฝึกหัดเป็นการบ้าน 8. ครูยกตัวอย่างพร้อมกับอธิบายการเปรียบเทียบหน่วยปริมาตรและการเปลียนหน่วยปริมาตรและให้นกเรียน ่ ั ทำแบบฝึกหัด 58
  • 14. 9. ครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหา ให้นักเรียนร่วมวิเคราะห์โจทย์และนำความรู้เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรของรูป ทรงสามมิติมาใช้แก้ปัญหา 10. นักเรียนทำแบบทดสอบ 4. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น 1. ศิลปะ (วาดรูปทรงสามมิติ) 2. การงานอาชีพและเทคโนโลยี (การออกแบบ) 3. วิทยาศาสตร์ 5. สื่อการสอน 1. สไลด์การสอน 2. รูปทรงเรขาคณิตต่างๆ (ปริซึม, พีระมิด, ทรงกระบอก, กรวย, ทรงกลม) 3. ใบงาน 6. แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือแบบเรียน สสวท. 2. ห้องสมุด CAI 3. สื่ออินเทอร์เน็ต 4. ห้องสมุดโรงเรียนและกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ 7. การวัดผลประเมินผล 1. ด้านความรู้ (Knowledge) – แบบทดสอบความรู้ – ถาม - ตอบในชั้นเรียน 2. ด้านทักษะกระบวนการ (Process) – กิจกรรมกลุ่ม – แบบฝึกหัด 3. ด้านเจตคติ (Attitude) – มีความคิดเป็นระบบ – มีความรอบคอบ – มีความรับผิดชอบ _____________________________ 59
  • 15. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2554 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง กราฟ มาตรฐานการเรียนรู้ข้อที่ ค 4.2 (3, 4) 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้นได้ 2. เขียนกราฟของสมการเชิงเส้นได้ 3. อ่านและแปลความหมายของกราฟที่กำหนดได้ 2. สาระการเรียนรู้ 1. กราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น 2. กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 3. กราฟกับการนำไปใช้ 3. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ครูยกตัวอย่างสถานการณ์ที่ให้ข้อมูลแสดงถึงความสัมพันธ์ของปริมาณสองชุด แล้วให้นักเรียนใช้ความรู้ เรื่องคู่อันดับนำข้อมูลนั้นมาเขียนกราฟ 2. สนทนา ซักถาม พร้อมหาข้อสรุปถึงความสัมพันธ์ของปริมาณสองชุดที่มีกราฟอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ว่าเป็นความสัมพันธ์เชิงเส้น 3. ฝึกให้นักเรียนอ่านกราฟที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้นแล้วตอบคำถาม 4. ครูอธิบายพร้อมกับยกตัวอย่างสมการเชิงเส้นสองตัวแปร (Ax + By + C = 0 เมื่อ x, y เป็นตัวแปร A, B และ C เป็นค่าคงตัวที่ A และ B ไม่เท่ากับศูนย์พร้อมกัน) 5. นักเรียนฝึกเขียนสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ให้อยู่ในรูป Ax + By + C = 0 พร้อมกับหาค่าของ A, B และ C 6. ครูอธิบายพร้อมยกตัวอย่างการหาคู่อันดับที่สอดคล้องกับสมการเชิงเส้นสองตัวแปรในกรณีต่างๆ แล้วนำ ไปเขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 7. นักเรียนฝึกเขียนกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปรจากแบบฝึกหัดที่ครูกำหนดให้ในชั่วโมง และทำ แบบฝึกหัดในหนังสือแบบเรียนเป็นการบ้าน 8. สนทนา ซักถาม เกี่ยวกับกราฟที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจำวันแล้วนำมาวิเคราะห์ว่าเป็นกราฟ ของสมการเชิงเส้นสองตัวแปรหรือไม่ มีความสัมพันธ์แบบใด ฝึกอ่านและแปลความหมายกราฟแบบอื่นๆ 9. ครูให้แบบฝึกหัดเพิ่มเติม 10. นักเรียนทำแบบทดสอบ 60
  • 16. 4. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น – 5. สื่อการสอน 1. สไลด์การสอน 2. แบบเรียน, สมุดกราฟ 6. แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องสมุด CAI 2. สื่ออินเทอร์เน็ต 4. ห้องสมุดโรงเรียนและกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ 7. การวัดผลประเมินผล 1. ด้านความรู้ (Knowledge) – แบบทดสอบความรู้ – ถาม - ตอบในชั้นเรียน 2. ด้านทักษะกระบวนการ (Process) – กิจกรรมกลุ่ม – แบบฝึกหัด 3. ด้านเจตคติ (Attitude) – มีความคิดเป็นระบบ – มีความรอบคอบ – มีความรับผิดชอบ _____________________________ 61
  • 17. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2554 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้น มาตรฐานการเรียนรู้ข้อที่ ค 4.2 (5) 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. อ่านและแปลความหมายของกราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้ 2. แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้ 3. นำระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้ 2. สาระการเรียนรู้ 1. ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 2. การอ่านและแปลความหมายกราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 3. การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 4. การนำระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ 3. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ทบทวนความรู้เกี่ยวกับสมการและการแก้สมการเชิงเส้น 2. ครูยกตัวอย่างการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดยใช้กราฟ 3. ครูใช้การถาม - ตอบ เพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับการหาคำตอบของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดยใช้ กราฟ 4. ครูยกโจทย์ตัวอย่างให้นักเรียนศึกษาและหาคำตอบ 5. ครูอธิบายพร้อมยกตัวอย่างการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร โดยการแทนค่าแล้วให้นักเรียนฝึก โดยการทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียนและทำเป็นการบ้าน 6. ครูอธิบายพร้อมยกตัวอย่างการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดยการกำจัดตัวแปรแล้วให้นักเรียนฝึก โดยการทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียนและทำเป็นการบ้าน 7. ครูยกตัวอย่างโจทย์โดยใช้การถาม - ตอบ ตามลำดับขั้นตอนกระบวนการแก้ปัญหา พร้อมฝึกให้นักเรียน วิเคราะห์โจทย์ปัญหา เขียนเป็นระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 8. ครูให้โจทย์แบบฝึกหัดเพิ่มเติม 9. นักเรียนทำแบบทดสอบ 4. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น – 62
  • 18. 5. สื่อการสอน 1. สไลด์การสอน 2. หนังสือแบบเรียน 3. แบบทดสอบ 6. แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องสมุด CAI 2. สื่ออินเทอร์เน็ต 3. ห้องสมุดโรงเรียนและกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ 7. การวัดผลประเมินผล 1. ด้านความรู้ (Knowledge) – แบบทดสอบความรู้ – ถาม - ตอบในชั้นเรียน 2. ด้านทักษะกระบวนการ (Process) – กิจกรรมกลุ่ม – แบบฝึกหัด 3. ด้านเจตคติ (Attitude) – มีความคิดเป็นระบบ – มีความรอบคอบ – มีความรับผิดชอบ _____________________________ 63
  • 19. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2554 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง ความคล้าย มาตรฐานการเรียนรู้ข้อที่ ค 2.1 - ค 2.3 ค 3.1 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. บอกสมบัติของความคล้ายกันของรูปสามเหลี่ยมได้ 2. บอกเงื่อนไขที่ทำให้รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกันได้ 3. ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้ 2. สาระการเรียนรู้ 1. รูปเรขาคณิตที่คล้ายกัน 2. รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 3. สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 4. การนำไปใช้ 3. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. สนทนา ซักถาม นักเรียนถึงความคล้ายของสิ่งต่างๆ ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจำวัน 2. ครูให้นักเรียนดูรูปสิ่งต่างๆ และรูปเรขาคณิตที่คล้ายกัน ให้นักเรียนช่วยกันอภิปรายสรุปถึงความคล้ายกัน ที่เห็น 3. ครูยกตัวอย่างพร้อมอธิบายถึงสมบัติของรูปเรขาคณิตที่คล้ายกัน แล้วยกตัวอย่างโจทย์ให้นักเรียนฝึกทำ 4. ให้นักเรียนศึกษาบทนิยามของรูปหลายเหลี่ยมที่คล้ายกัน แล้วฝึกวิเคราะห์รูปหลายเหลี่ยมที่ครูกำหนดให้ ว่าคล้ายกันหรือไม่ โดยใช้ความรู้จากบทนิยามข้างต้น 5. นักเรียนทำแบบฝึกหัดจากโจทย์ในหนังสือแบบเรียนเพิ่มเติม 6. ครูอธิบายพร้อมกับสาธิตกิจกรรมรูปเหมือนในหนังสือแบบเรียนในหน้า 160 แล้วให้นักเรียนไปสร้าง รูปเหมือนจากใบไม้ขนาดจริง 7. ให้นักเรียนศึกษาบทนิยามของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน แล้วพิจารณารูปสามเหลี่ยมที่ครูกำหนดให้ว่า รูปใดบ้างที่คล้ายกันและอภิปรายสรุปบทนิยาม 8. ครูอธิบายพร้อมกับยกตัวอย่างการพิสูจน์รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันโดยใช้บทนิยาม และทฤษฎีบท 9. ให้นักเรียนหาความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมที่กำหนดให้โดยใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยม และทำ แบบฝึกหัดเพิ่มเติมในหนังสือแบบเรียน 10. ครูกำหนดโจทย์ปัญหาให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ และใช้ความรู้เรื่องสามเหลี่ยมคล้ายเป็นแนวทางเพื่อหา คำตอบ 11. นักเรียนทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติมในหนังสือแบบเรียน 12. นักเรียนทำแบบทดสอบ 64
  • 20. 4. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ศิลปะ (การวาดรูปจากโจทย์) 5. สื่อการสอน 1. สไลด์การสอน 2. หนังสือแบบเรียน 3. แบบทดสอบ 6. แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องสมุด CAI 2. สื่ออินเทอร์เน็ต 3. ห้องสมุดโรงเรียนและกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ 7. การวัดผลประเมินผล 1. ด้านความรู้ (Knowledge) – แบบทดสอบความรู้ – ถาม - ตอบในชั้นเรียน 2. ด้านทักษะกระบวนการ (Process) – กิจกรรมกลุ่ม – แบบฝึกหัด 3. ด้านเจตคติ (Attitude) – มีความคิดเป็นระบบ – มีความรอบคอบ – มีความรับผิดชอบ _____________________________ 65
  • 21. แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1. กรวยอันหนึ่งมีขนาดกว้าง 4 1 เมตร ยาว 10 เมตร และสูง 1 1 เมตร จะใส่ทรายได้กี่ลูกบาศก์เมตร – 2 – 3 ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 2. ถังเก็บน้ำขนาด 1 ลูกบาศก์เมตร จะจุน้ำได้กี่ลิตร ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 3. ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีปริมาตร 306 ลูกบาศก์เซนติเมตร ยาว 8.5 เซนติเมตร จะมีพื้นที่ผิวทั้งหมดเท่าไร ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 4. พีระมิดตรงฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีด้านของฐานยาวด้านละ 10 นิ้ว และมีสันยาว 12 นิ้ว จงหาสูงเอียงและความสูงของ พีระมิด ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 66
  • 22. 5. ทรงกระบอกตรงอันหนึ่งมีพื้นที่ผิวข้าง 880 ตารางเซนติเมตร ถ้าทรงกระบอกนี้สูง 14 เซนติเมตร แล้วจะมีรัศมี หน้าตัดยาวกี่เซนติเมตร (กำหนด π = 22 )– 7 ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 6. จงหาปริมาตรและพื้นที่ผิวของกรวยซึ่งมีรัศมีของฐานยาว 20 เซนติเมตร สูง 21 เซนติเมตร ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 7. ทรงกลมตันลูกหนึ่งมีเส้นรอบวงยาว 132 เซนติเมตร ปริมาตรของทรงกลมนี้เท่ากับกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... _____________________________ 67
  • 23. แบบฝึกหัดหน่วยที่ 2 รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กราฟเส้นตรงกับการนำไปใช้ การแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุดด้วยการเขียนกราฟ เป็นวิธีการแสดงลักษณะของข้อมูลเมื่อ กำหนดปริมาณหนึ่งมาให้และต้องการทราบอีกปริมาณหนึ่ง จะสามารถอ่านได้อย่างคร่าวๆ และรวดเร็ว ตัวอย่างที่ 1 นักเรียนคนหนึงขีจกรยานในระยะทาง 45 กิโลเมตร เริมเดินทาง 11.00 น. ดังกราฟ แสดงการเดินทาง ่ ่ั ่ จากกราฟด้านบน จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. นักเรียนคนนี้ขี่จักรยานถึงปลายทางเวลาเท่าไร............................................................................................... 2. ในเวลา 3 ชั่วโมงแรกเขาเดินทางได้กี่กิโลเมตร................................................................................................ 3. ในช่วงเวลา 11.00 - 12.00 น. เขาขี่จักรยานด้วยอัตราเร็วเท่าไร....................................................................... 68
  • 24. ตัวอย่างที่ 2 การเดินทางของชายคนหนึ่งด้วยรถยนต์ส่วนตัว เขาขับรถด้วยอัตราเร็ว 30 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ตั้งแต่ 07.00 - 09.00 น. แล้วหยุดพักระหว่างทางเป็นเวลา 20 นาที หลังจากหยุดพักขับรถต่อไปด้วยอัตราเร็ว สม่ำเสมอ 75 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เขียนกราฟแสดงการเดินทางของชายคนนี้ได้ดังนี้ จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. เวลา 09.00 น. ชายคนนี้ขับรถได้ระยะทางเท่าไร............................................................................................................ 2. เวลา 10.20 น. ชายคนนี้ขับรถได้ระยะทางเท่าไร............................................................................................................ 3. ถ้าชายคนนี้ขับรถได้ทาง 250 กิโลเมตร ใช้เวลาขับรถเท่าไร........................................................................................... ตัวอย่างที่ 3 กำหนดค่าของ x และ y ดังตาราง x 0 150 300 450 600 750 900 y 100.0 99.5 99.0 98.5 98.0 97.5 97.0 ให้นักเรียนเขียนกราฟแล้วตอบคำถาม 69
  • 25. 1. ถ้า x = 1200 แล้ว y มีค่าเท่ากับเท่าไร ....................................................................................................................................................................................... 2. ถ้า y = 96 แล้ว x มีค่าเท่าไร ....................................................................................................................................................................................... 3. ให้นักเรียนหาความสัมพันธ์ระหว่าง x และ y ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... เมื่อ y = 0 แล้ว x จะมีค่าเท่าไร ....................................................................................................................................................................................... 4. ถ้า x แทนความสูงเหนือระดับน้ำทะเลหน่วยเป็นเมตร (ระดับที่มีความกดดันของบรรยากาศเท่ากับ 1 บรรยากาศ หรือเท่ากับความสูงของปรอท 760 มิลลิลิตร) และ y แทนจุดเดือดของน้ำ หน่วยเป็นองศาเซลเซียส จุดเดือดของน้ำ ที่ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 2,100 เมตร เป็นเท่าไร ....................................................................................................................................................................................... 5. จากข้อ 4 ความสูงเหนือระดับน้ำทะเลที่จุดเดือดของน้ำเป็น 80 องศาเซลเซียส ....................................................................................................................................................................................... ตัวอย่างที่ 4 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลา t กับระยะทาง s จากกราฟ ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. อัตราเร็วในช่วง 15 วินาทีแรกเป็นเท่าไร......................................................................................................................... 2. อัตราเร็วคงที่ในช่วงใด................................................................................................................................................... 3. อัตราเร็วในช่วงวินาทีที่ 25 และวินาทีที่ 30 เป็นเท่าไร.................................................................................................... 4. อัตราเร็วในช่วงวินาทีที่ 30 และวินาทีที่ 40 เป็นเท่าไร.................................................................................................... 70
  • 26. ตัวอย่างที่ 5 เด็กคนหนึ่งขี่จักรยานออกจากที่แห่งหนึ่งเมื่อเวลา 09.00 น. ด้วยอัตราเร็ว 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จนถึง เวลา 10.30 น. หยุดพักครึ่งชั่วโมง หลังจากนั้นขี่จักรยานต่อไปด้วยอัตราเร็ว 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จนถึงที่หมาย ได้ทางทั้งหมด 40 กิโลเมตร 1. ให้นักเรียนเขียนกราฟแสดงการเดินทางของเด็กคนนี้ 2. เวลา 11.00 เด็กคนนี้ขี่จักรยานได้ระยะทางเท่าไร........................................................................................................... 3. ถึงที่หมายเมื่อเวลาประมาณเท่าใด.................................................................................................................................. 4. อัตราเร็วเฉลี่ยตลอดการเดินทางเป็นเท่าไร (ประมาณเป็นจำนวนเต็ม)........................................................................... ตัวอย่างที่ 6 รถยนต์ A และรถยนต์ B ออกจากที่ แ ห่ ง เดี ย วกั น รถยนต์ A ออกวิ่ ง เมื่ อ 08.00 น. ด้ ว ยอั ต ราเร็ ว 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง รถยนต์ B ออกวิ่งเมื่อ 09.00 น. ด้วยอัตราเร็ว 75 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 1. ให้นักเรียนเขียนกราฟแสดงการเดินทางของรถยนต์ 2. รถยนต์ทั้งสองคันไปทันกันเมื่อเวลาใด.......................................................................................................................... 3. ถ้ารถยนต์ทั้งสองคันไปทันกันเมื่อวิ่งไปได้ระยะทางเท่าไร............................................................................................. 4. ถ้ารถยนต์ทั้งสองคันต้องวิ่งได้ระยะทาง 300 กิโลเมตร รถสองคันถึงปลายทางเร็วกว่ากันเท่าไร................................... 71
  • 27. แบบฝึกหัดหน่วยที่ 3 รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 คำชี้แจง : จงแก้ระบสมการดังต่อไปนี้ 1. x - 3y = 6 .................................... ➀ 2x - 6y = 8 .................................... ➁ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 2. 2x - 3y = 14 .................................... ➀ 3x + 2y = 8 .................................... ➁ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 3. 2x + 3y = 16 .................................... ➀ 3x - 4y = 41 .................................... ➁ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................... 4. 2x + y = -3 .................................... ➀ -6x - 3y = 9 .................................... ➁ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 72
  • 28. โจทย์ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ก่อนขึ้นเรื่องการแก้โจทย์ปัญหา ลองเปลี่ยนข้อความให้อยู่ในรูปของสมการ โดยมี x และ y เป็นตัวแปร 1. ครึ่งหนึ่งของจำนวนหนึ่งเป็นห้าเท่าของอีกจำนวนหนึ่ง ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 2. รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่งมีด้านกว้างสั้นกว่าด้านยาว 5 เมตร ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 3. จำนวนมังคุดน้อยกว่า 2 ของจำนวนเงาะอยู่ 48 – 3 ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 4. ลวดหนามขดหนึ่งยาว 72 เมตร นำไปล้อมรั้วรอบที่ดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีด้านกว้างสั้นกว่าด้านยาว 8 เมตร ได้พอดี จงหาพื้นที่ของที่ดินแปลงนี้ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 5. จำนวนสองจำนวน จำนวนมากมากกว่าสองเท่าของจำนวนน้อยอยู่ 3 แต่สองเท่าของจำนวนมากมากกว่าจำนวนน้อย อยู่ 27 จงหาจำนวนทั้งสองนั้น ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... _____________________________ 73
  • 29. แบบฝึกหัดหน่วยที่ 4 รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1. กำหนดให้ ∆ ABC และ ∆ DBE มีมุม C = มุม D และให้ AB = 2.8, AC = 4 และ DE = 6 หน่วย จงหาความยาว ของ BE ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. — 2. จากรูป EF // BC และ AF : EF = 3 : 4 ถ้า BC 24 เซนติเมตร AC ยาวกี่เซนติเมตร ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. 74
  • 30. 2 3. บั น ไดยาว 4 เมตร พาดอยู่ กั บ ผนั ง ตึ ก เมื่ อ ช่ า งทาสี ขึ้ น บั น ไดไปได้ – ของบั น ได เขาทำแปรงตก ถ้ า จุ ด ที่ แ ปรง 5 ตกลงมาถูกพื้นดินห่างจากผนังตึก 1.2 เมตร จงหาว่าเชิงบันไดอยู่ห่างจากผนังตึกประมาณเท่าไร ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 4. ชายคนหนึ่งอยู่ห่างจากเสาไฟฟ้า 15 เมตร สังเกตเห็นเงาของตัวเองซึ่งเกิดจากดวงไฟปลายเสาทอดออกไปยาว 3 เมตร ถ้าชายคนนี้สูง 1.60 เมตร เสาไฟฟ้าสูงเท่าไร ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... _____________________________ 75