SlideShare a Scribd company logo
ปรัช ญาการ
   ศึก ษา
ขบเขตของการ
 บรรยาย
1. ความหมายและขอบเขตของ
“ การศึกษา”
2.ความหมายของปรัชญา/ปรัชญา
การศึกษา
3.ความสัมพันธ์ของปรัชญากับการ
ศึกษา
4.แนวทางในการพิจารณาปรัชญา
ขบเขตของการ
 บรรยาย
5. ปรัชญาการศึกษาที่ยึดเนื้อหา
   ปรัชญาทั่วไปเป็นแม่บท
6. ปรัชญาการศึกษาที่ยึดตัวการ
   ศึกษาเป็นแกนกลาง
1. ความหมายและ
ขอบเขตของ “การ
 “ การศึกษา” เป็นกระบวน
ศึก ษา ”
 การสังคมประกิต
 (Socialization Process)
1. ความหมายและ
  ขอบเขตของ “การ
 “ การศึกษา” เป็นสถาบันทาง
  ศึก ษา ”
 สังคม มีหน้าที่ในการส่งเสริม
 การพัฒนาของปัจเจกชน
 พัฒนาความสามารถเฉพาะ
 ทาง นำาการเปลี่ยนแปลง ส่ง
 เสริมการเปลี่ยนฐานะทาง
2. ความหมายของ
ปรัช ญา
ของ “ปรัช ญา -
  Philosophy”
   ความหมายตามรูป
   ศัพ ท์
   “ปรัช ญา - Philosophy”
Philos / Philia รัก ความรัก
Sophia ความรู้ ความปราดเปรือง
                            ่
ความหมายตามรูป
     ศัพ ท์
     “ปรัช ญา - Philosophy”

ความรักในความรู้
ความรักในความปราดเปรือง
                     ่
The love of wisdom.
ความหมายโดยอรรถ
“ปรัช ญา - Philosophy”
เป็นวิธีการมองปัญหาหรือมอง
ความรู้ที่มอยู่
           ี
โดยนัย นี้ ปรัชญาไม่ใช่วิธี
การหาความรู้และไม่ใช่ตัว
ความรู้ แต่เป็นวิธการ / เป็น
                  ี
ลักษณะ
กำา เนิด ของปรัช ญา -
 Philosophy”


กำาเนิดจากการที่มนุษย์มีความ
สงสัยต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัว แล้ว
พยายามขบคิดหาคำาตอบและ
ความสงสัยเหล่านั้น
สาขาของปรัช ญา
1. Metaphysics / Ontology
   (อภิปรัชญา)
   >> ศึกษาปัญหาและ
   ทฤษฎีของความจริง
   เป็นความพยายามที่จะ
   ตอบคำาถาม
สาขาของปรัช ญา
2. Epistemology
    (ทฤษฎีความรู้ /
    ญาณวิทยา)
    >>เป็นความพยายามที่จะ
    ตอบคำาถาม
    และหาความหมายของ
สาขาของปรัช ญา
3. Axiology (คุณวิทยา)
    >>ศึกษาปัญหาและทฤษฎี
    ของค่านิยม เป็นความ
    พยายามที่จะหาความ
    หมาย จุดเริ่มต้น และ
    ความแน่นอนของค่านิยม
    ต่าง ๆ มี 3 สาขา คือ
ประโยชน์/คุณ ค่า ของ
ปรัช ญา
1. สนองความอยากรู้อยากเห็น
      ของมนุษย์
2. หาความหมายของสิ่งต่าง ๆ
      (จักรวาล
   โลก มนุษย์ พฤติกรรม ฯลฯ)
      ทำาให้เข้าใจ
   รู้คณค่า มีความกระจ่างใน
        ุ
ประโยชน์/คุณ ค่า ของ
ปรัช ญา
3. ทำาให้มองเห็นภาพรวมและ
    ความต่อเนื่องของสิ่งต่าง ๆ
    ช่วยให้ทำากิจกรรมต่าง ๆ ได้
    สมบูรณ์ขนึ้
4. ช่วยให้การแก้ปัญหาตรง
    ประเด็น ถูกต้อง เหมาะสม
    สมบูรณ์
ประโยชน์/คุณ ค่า ของ
ปรัช ญาการศึก ษา
1. ช่วยตั้งคำาถามที่ลึกซึ้ง
2. ช่วยให้เกิดความเข้าใจ
3. ขจัดความไม่สอดคล้องต้อง
   กัน
4. ช่วยให้เห็นภาพรวมของ
   การศึกษาทั้งหมด
5. ช่วยเสนอแนวคิดใหม่
3. ความสัม พัน ธ์ข อง
ปรัช ญากับ การศึคราะห์
...ความพยายามทีจะวิเ
               ่     ก ษา
 วิพากษ์วิจารณ์ และพิจารณา
 ดูการศึกษาอย่างละเอียดลึก
 ซึง ให้เข้าใจถึงแนวคิดหลัก
   ้
 ความสำาคัญ และเหตุผลต่าง ๆ
 อย่างชัดเจน มีความต่อเนื่อง
 มีความหมายต่อมนุษย์ สังคม
4. แนวทางในการ
พิจ ารณาปรัช ญาการ
  1. ปรัชญาการศึกษาที่ยึด
ศึกเนื้อหาของปรัชญาทั่วไปเป็น
    ษา
   แม่บท
  2. ปรัชญาการศึกษาที่ยึด
   ตัวการศึกษาเป็นแกนกลาง
  3. ปรัชญาการศึกษาที่มุ่ง
1. จิตนิยม Idealism
2. วัตถุนิยม Realism
3. ประสบการณ์นิยม
     Experimentalism
4. อัตถิภาวนิยม Existentialism
1. กลุ่มจิตนิยม Idealism
     จิต (Mind) เป็นส่วนสำาคัญ
    ที่สุดในชีวิตของคน จักรวาลนี้
    โดยธรรมชาติไม่ใช่วัตถุ แต่
    เป็นเพียงสิ่งจำาลองของสิ่งที่
    มองไม่เห็น สิ่งที่มองเห็นหรือ
    จับต้องได้ยังไม่ใช่ความจริง
    ที่แท้ แต่ความจริงที่แท้อยู่ใน
ร.ร. เป็นสถานที่ส่งเสริมตนิยม
การศึกษาในแนวทางจิ
กิจกรรมทางสติปญญา ส่งเสริม
      Idealism   ั
การพัฒนาทางคุณธรรม ศีล
ธรรม ศิลปะ การวินิจฉัยคุณค่า
ที่แท้จริงของคุณธรรม
จริยธรรมเหล่านี้ ส่งเสริมให้
รู้จกและเข้าใจตนเอง
    ั
2. วัตถุนิยม Realism ให้ความ
     สำาคัญกับสิ่งที่เห็นได้ด้วยตา
     สามารถสัมผัสและจับต้องได้
     วัตถุที่ปรากฏต่อสายตา สิ่งที่
     เราสัมผัสและจับต้องได้เป็นสิ่ง
     ที่เป็นจริงที่สุด ไม่มีความจริง
     ใดจะจริงไปกว่านี้แล้ว
ความรู้ควรจะก่อให้เกิดความมั่นคง
   การศึกษาในแนวทาง
และความสุขในชีวิตได้
  ในกลุ่มถุนิยมตRealism งเหตุผลก็
      วัต ของวั ถุนิยมเชิ
จะเน้นการอยู่ร่วมกันทางศาสนา
เพื่อการเข้าถึงพระเจ้าอีกด้วย
  สาระที่เรียนเป็น เรื่องที่ทำาให้
เข้าใจในธรรมชาติ เช่น วิทย์ คณิต
ฟิสิกส์ เป็นต้น วิชาทางด้าน
สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ก็เน้น
เช่นกัน แต่จะเน้นน้อยกว่า
3. ประสบการณ์นิยม
    Experimentalism ให้ความ
    สำาคัญกับประสบการณ์ การไป
    พิจารณาสิ่งที่อยู่นอกเหนือ
    ประสบการณ์จงเป็นสิงไร้ค่า
                   ึ      ่
    ความจริงเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลง
    ได้และจะมีค่าเมือมนุษย์ได้คน
                     ่
    ได้ให้ความหมายแก่มัน
โรงเรียนควรเสริมสร้าง
การศึกษาในแนวทางเด็กสามารถ
ประสบการณ์ที่ทำาให้
  ประสบการณ์นิยม Experimentalism
ดำารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี
ความสุข
หลักสูตรเน้นตัวเด็กและสังคม ส่ง
เสริมและฝึกฝนประชาธิปไตย และ
พัฒนาทักษะต่าง ๆ อย่างพร้อมมูล
ให้เด็กฝึกฝนและแก้ปัญหาด้วย
ตนเอง ครูเป็นผู้ให้คำาแนะนำา
4. อัตถิภาวนิยม Existentialism
        ให้ความสำาคัญกับ
    ปัจเจกบุคคลอย่างเต็มที่ การ
    เลือกและการตัดสินใจของ
    แต่ละบุคคลสำาคัญที่สุด คน
    ต้องมีเสรีภาพ และใช้เสรีภาพ
    ของตนเองอย่างอิสระโดยไม่
    ถูกกำาหนดโดยสังคม ศีลธรรม
เจตจำานงที่มความหมายต่อการ
             ี
การศึกษาในแนวทางอัตถิภาวนิยม
ดำารงชีวิตด้วยการเปิดโอกาสให้ผู้
    Existentialism
เรียนมีอสระ เลือกสรรคุณธรรม ค่า
         ิ
นิยมได้อย่างเสรี รับผิดชอบต่อ
ตนเอง ต่อข้อผู้พันต่างๆ ที่ตนเองมี
อยู่ หลักสูตรเน้นการปฏิบัติจริง
โดยนักเรียนวางแผนตามความ
สนใจ มีอสระที่จะเรียนคนเดียว
           ิ
หรือเรียนเป็นกลุ่ม
1
1. ปรัชญาสารัตถนิยม
      Essentialism
 ยึดเนื้อหาเป็นหลักสำาคัญของการ
 ศึกษา และเนื้อหาที่สำาคัญเน้น
 เนื้อหาที่ได้มาจากมรดกทาง
 วัฒนธรรมของเรา ความรูใน   ้
 ปัจจุบันได้รับความสำาคัญน้อยเมื่อ
 เปรียบเทียบกับความรู้ในอดีต
1. ปรัชญาสารัตถนิยม
     Essentialism
 จุดมุงหมายของการศึกษา
      ่
 • ให้สาระอันได้มาจากมรดกทาง
 วัฒนธรรม
 • ให้เรียนรู้ความเชื่อ เจตคติ ค่า
 นิยมของสังคมในอดีต
 • ธำารงรักษาสิ่งต่าง ๆ ในอดีตไว้
 • พัฒนาให้ผู้เรียนมีระเบียบวินัย
2. ปรัชญานิรันตรนิยม
    Perennialism
การศึกษาควรจะได้สอนสิ่งซึงเป็น
                             ่
นิรันดร ไม่เปลี่ยนแปลง มีคณค่า
                           ุ
ไม่ว่าจะเป็นยุคสมัยใด ได้แก่
คุณค่าของของเหตุผลและคุณค่า
ของศาสนา เนื้อหาวิชามีความ
สำาคัญแต่ไม่ใช่เนื้อแท้ของการ
ศึกษา แต่เป็นเพียงพาหนะที่จะนำา
2. ปรัชญานิรันตรนิยม
     Perennialism
จุดมุงหมายของการศึกษามุ่งสร้าง
      ่
คนเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
• สร้างให้ผู้เรียนรู้จกและทำาความ
                      ั
เข้าใจตนเองให้มากที่สด โดย
                         ุ
เฉพาะในเรื่องของเหตุผลและสติ
ปัญญา
• มุ่งพัฒนาสติปัญญาและเหตุผล
3. ปรัชญาพิพฒนิยม Progressive
               ั
     Education
 การศึกษาจะต้องพัฒนาเด็กทุก
 ด้านไม่เฉพาะด้านสติปญญาั
 เท่านั้น โรงเรียนมีความสัมพันธ์กับ
 สังคมมากขึ้น เด็กจะต้องพร้อมที่จะ
 อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
 ปรับตัวได้อย่างดี กระบวนการ
 จัดการเรียนรู้มีความสำาคัญพอๆ
3. ปรัชญาพิพฒนิยม Progressive
               ั
     Education
 จุดมุงหมายของการศึกษา
      ่
 • พัฒนาผู้เรียนทุกด้านทั้งด้าน
 ร่างกาย อารมณ์ สังคม อาชีพ และ
 สติปัญญาควบคูกันไป
                 ่
 • ส่งเสริมความถนัด ความสนใจ
 และลักษณะพิเศษของผู้เรียนควบคู่
 กันไปกับการพัฒนาด้านอืน ๆ ่
3. ปรัชญาพิพฒนิยม Progressive
                ั
     Education
 จุดมุงหมายของการศึกษา
      ่
 • ส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย
 ทั้งในและนอกห้องเรียน
 •ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จกตนเองและ
                         ั
 สังคม เพื่อให้สามารถปรับตัวเข้า
 กับสังคมได้ สามารถแก้ปญหาได้
                            ั
4. ปรัชญาปฏิรูปนิยม
   Reconstructionism
การศึกษาควรจะช่วยปรับปรุง
พัฒนาหรือปฏิรูปสังคมโดยมองว่า
สังคมมีปญหามากทั้งด้านเศรษฐกิจ
        ั
สังคม การเมือง จึงต้องหาทางแก้
ปัญหา โดย สร้างค่านิยมและ
แบบแผนของสังคมขึนใหม่้
4. ปรัชญาปฏิรูปนิยม
    Reconstructionism
จุดมุงหมายของการศึกษา
     ่
• ช่วยแก้ปัญหาของสังคมที่เป็นอยู่
• เป็นไปเพื่อส่งเสริม พัฒนาสังคม
โดยตรง
• สร้างระเบียบใหม่ของสังคมจาก
พืนฐานเดิมที่มอยู่ โดย
  ้             ี
กระบวนการประชาธิปไตย
ปรัช ญาการศึก ษา
   ไทย นิยม
• กลุ่มอุดมคติ
•   กลุ่มปัญญานิยม
•   กลุ่มชุมชนนิยม
•   กลุ่มปฏิบัตินิยม
•   กลุ่มเทคโนโลยีนิยม

More Related Content

What's hot

รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
kruwaeo
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
Padvee Academy
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
ธนกร ทองแก้ว
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
ทับทิม เจริญตา
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
พฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมพฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมEye E'mon Rattanasiha
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
Sunisa199444
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนNongruk Srisukha
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
NU
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
DuangdenSandee
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Warodom Techasrisutee
 

What's hot (20)

รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
พฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมพฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยม
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 

Viewers also liked

ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต ค 52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต ค 52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต ค 52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต ค 52juriporn chuchanakij
 
ปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยมปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยม
Somprasong friend Ka Nuamboonlue
 
การออกแบบการสอนโดยใช้ปรัชญา
การออกแบบการสอนโดยใช้ปรัชญาการออกแบบการสอนโดยใช้ปรัชญา
การออกแบบการสอนโดยใช้ปรัชญาKannika Kamma
 
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปแนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปpatthanan18
 
เกณฑ์การตัดสินจริยธรรมกับการก่อการ
เกณฑ์การตัดสินจริยธรรมกับการก่อการเกณฑ์การตัดสินจริยธรรมกับการก่อการ
เกณฑ์การตัดสินจริยธรรมกับการก่อการJieWz Purcell
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
Nut Kung
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
kruskru
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
Padvee Academy
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยnaykulap
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือusaneetoi
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
คน ขี้เล่า
 

Viewers also liked (13)

ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต ค 52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต ค 52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต ค 52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต ค 52
 
ปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยมปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยม
 
การออกแบบการสอนโดยใช้ปรัชญา
การออกแบบการสอนโดยใช้ปรัชญาการออกแบบการสอนโดยใช้ปรัชญา
การออกแบบการสอนโดยใช้ปรัชญา
 
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปแนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
 
เกณฑ์การตัดสินจริยธรรมกับการก่อการ
เกณฑ์การตัดสินจริยธรรมกับการก่อการเกณฑ์การตัดสินจริยธรรมกับการก่อการ
เกณฑ์การตัดสินจริยธรรมกับการก่อการ
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
 
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 

Similar to ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education

Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
Nattayaporn Dokbua
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
juriporn chuchanakij
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการcomputer1437
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
Socratic method
Socratic methodSocratic method
Socratic method
Adun Sailektim
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
นางจำเรียง กอมพนม
 
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอนSarawut Tikummul
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
นวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนนวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนO-mu Aomaam
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 

Similar to ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education (20)

Random 120812202117-phpapp01
Random 120812202117-phpapp01Random 120812202117-phpapp01
Random 120812202117-phpapp01
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการ
 
บริหารกิจการนักเรียน
บริหารกิจการนักเรียนบริหารกิจการนักเรียน
บริหารกิจการนักเรียน
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
Socratic method
Socratic methodSocratic method
Socratic method
 
Socratic method
Socratic methodSocratic method
Socratic method
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
นวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนนวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอน
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 

More from Weerachat Martluplao

โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐโครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
Weerachat Martluplao
 
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
Weerachat Martluplao
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
Weerachat Martluplao
 
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Mediaการพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
Weerachat Martluplao
 
พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย
Weerachat Martluplao
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556Weerachat Martluplao
 
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นการออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
Weerachat Martluplao
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
Weerachat Martluplao
 
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมการจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
Weerachat Martluplao
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
Storyboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationStoryboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ application
Weerachat Martluplao
 
Stem workshop report
Stem workshop reportStem workshop report
Stem workshop report
Weerachat Martluplao
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
Weerachat Martluplao
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills development
Weerachat Martluplao
 
trigonometry
trigonometrytrigonometry
trigonometry
Weerachat Martluplao
 
ประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric charges
Weerachat Martluplao
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
Weerachat Martluplao
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
Weerachat Martluplao
 

More from Weerachat Martluplao (20)

โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐโครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
 
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
 
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Mediaการพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
 
พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556
 
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นการออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
 
Asean curriculum thai
Asean curriculum thaiAsean curriculum thai
Asean curriculum thai
 
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมการจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Storyboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationStoryboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ application
 
Stem workshop report
Stem workshop reportStem workshop report
Stem workshop report
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills development
 
trigonometry
trigonometrytrigonometry
trigonometry
 
ประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric charges
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
 

ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education

  • 1. ปรัช ญาการ ศึก ษา
  • 2. ขบเขตของการ บรรยาย 1. ความหมายและขอบเขตของ “ การศึกษา” 2.ความหมายของปรัชญา/ปรัชญา การศึกษา 3.ความสัมพันธ์ของปรัชญากับการ ศึกษา 4.แนวทางในการพิจารณาปรัชญา
  • 3. ขบเขตของการ บรรยาย 5. ปรัชญาการศึกษาที่ยึดเนื้อหา ปรัชญาทั่วไปเป็นแม่บท 6. ปรัชญาการศึกษาที่ยึดตัวการ ศึกษาเป็นแกนกลาง
  • 4. 1. ความหมายและ ขอบเขตของ “การ  “ การศึกษา” เป็นกระบวน ศึก ษา ” การสังคมประกิต (Socialization Process)
  • 5. 1. ความหมายและ ขอบเขตของ “การ  “ การศึกษา” เป็นสถาบันทาง ศึก ษา ” สังคม มีหน้าที่ในการส่งเสริม การพัฒนาของปัจเจกชน พัฒนาความสามารถเฉพาะ ทาง นำาการเปลี่ยนแปลง ส่ง เสริมการเปลี่ยนฐานะทาง
  • 7. ของ “ปรัช ญา - Philosophy” ความหมายตามรูป ศัพ ท์ “ปรัช ญา - Philosophy” Philos / Philia รัก ความรัก Sophia ความรู้ ความปราดเปรือง ่
  • 8. ความหมายตามรูป ศัพ ท์ “ปรัช ญา - Philosophy” ความรักในความรู้ ความรักในความปราดเปรือง ่ The love of wisdom.
  • 9. ความหมายโดยอรรถ “ปรัช ญา - Philosophy” เป็นวิธีการมองปัญหาหรือมอง ความรู้ที่มอยู่ ี โดยนัย นี้ ปรัชญาไม่ใช่วิธี การหาความรู้และไม่ใช่ตัว ความรู้ แต่เป็นวิธการ / เป็น ี ลักษณะ
  • 10. กำา เนิด ของปรัช ญา - Philosophy” กำาเนิดจากการที่มนุษย์มีความ สงสัยต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัว แล้ว พยายามขบคิดหาคำาตอบและ ความสงสัยเหล่านั้น
  • 11. สาขาของปรัช ญา 1. Metaphysics / Ontology (อภิปรัชญา) >> ศึกษาปัญหาและ ทฤษฎีของความจริง เป็นความพยายามที่จะ ตอบคำาถาม
  • 12. สาขาของปรัช ญา 2. Epistemology (ทฤษฎีความรู้ / ญาณวิทยา) >>เป็นความพยายามที่จะ ตอบคำาถาม และหาความหมายของ
  • 13. สาขาของปรัช ญา 3. Axiology (คุณวิทยา) >>ศึกษาปัญหาและทฤษฎี ของค่านิยม เป็นความ พยายามที่จะหาความ หมาย จุดเริ่มต้น และ ความแน่นอนของค่านิยม ต่าง ๆ มี 3 สาขา คือ
  • 14. ประโยชน์/คุณ ค่า ของ ปรัช ญา 1. สนองความอยากรู้อยากเห็น ของมนุษย์ 2. หาความหมายของสิ่งต่าง ๆ (จักรวาล โลก มนุษย์ พฤติกรรม ฯลฯ) ทำาให้เข้าใจ รู้คณค่า มีความกระจ่างใน ุ
  • 15. ประโยชน์/คุณ ค่า ของ ปรัช ญา 3. ทำาให้มองเห็นภาพรวมและ ความต่อเนื่องของสิ่งต่าง ๆ ช่วยให้ทำากิจกรรมต่าง ๆ ได้ สมบูรณ์ขนึ้ 4. ช่วยให้การแก้ปัญหาตรง ประเด็น ถูกต้อง เหมาะสม สมบูรณ์
  • 16. ประโยชน์/คุณ ค่า ของ ปรัช ญาการศึก ษา 1. ช่วยตั้งคำาถามที่ลึกซึ้ง 2. ช่วยให้เกิดความเข้าใจ 3. ขจัดความไม่สอดคล้องต้อง กัน 4. ช่วยให้เห็นภาพรวมของ การศึกษาทั้งหมด 5. ช่วยเสนอแนวคิดใหม่
  • 17. 3. ความสัม พัน ธ์ข อง ปรัช ญากับ การศึคราะห์ ...ความพยายามทีจะวิเ ่ ก ษา วิพากษ์วิจารณ์ และพิจารณา ดูการศึกษาอย่างละเอียดลึก ซึง ให้เข้าใจถึงแนวคิดหลัก ้ ความสำาคัญ และเหตุผลต่าง ๆ อย่างชัดเจน มีความต่อเนื่อง มีความหมายต่อมนุษย์ สังคม
  • 18. 4. แนวทางในการ พิจ ารณาปรัช ญาการ 1. ปรัชญาการศึกษาที่ยึด ศึกเนื้อหาของปรัชญาทั่วไปเป็น ษา แม่บท 2. ปรัชญาการศึกษาที่ยึด ตัวการศึกษาเป็นแกนกลาง 3. ปรัชญาการศึกษาที่มุ่ง
  • 19. 1. จิตนิยม Idealism 2. วัตถุนิยม Realism 3. ประสบการณ์นิยม Experimentalism 4. อัตถิภาวนิยม Existentialism
  • 20. 1. กลุ่มจิตนิยม Idealism จิต (Mind) เป็นส่วนสำาคัญ ที่สุดในชีวิตของคน จักรวาลนี้ โดยธรรมชาติไม่ใช่วัตถุ แต่ เป็นเพียงสิ่งจำาลองของสิ่งที่ มองไม่เห็น สิ่งที่มองเห็นหรือ จับต้องได้ยังไม่ใช่ความจริง ที่แท้ แต่ความจริงที่แท้อยู่ใน
  • 21. ร.ร. เป็นสถานที่ส่งเสริมตนิยม การศึกษาในแนวทางจิ กิจกรรมทางสติปญญา ส่งเสริม Idealism ั การพัฒนาทางคุณธรรม ศีล ธรรม ศิลปะ การวินิจฉัยคุณค่า ที่แท้จริงของคุณธรรม จริยธรรมเหล่านี้ ส่งเสริมให้ รู้จกและเข้าใจตนเอง ั
  • 22. 2. วัตถุนิยม Realism ให้ความ สำาคัญกับสิ่งที่เห็นได้ด้วยตา สามารถสัมผัสและจับต้องได้ วัตถุที่ปรากฏต่อสายตา สิ่งที่ เราสัมผัสและจับต้องได้เป็นสิ่ง ที่เป็นจริงที่สุด ไม่มีความจริง ใดจะจริงไปกว่านี้แล้ว
  • 23. ความรู้ควรจะก่อให้เกิดความมั่นคง การศึกษาในแนวทาง และความสุขในชีวิตได้ ในกลุ่มถุนิยมตRealism งเหตุผลก็ วัต ของวั ถุนิยมเชิ จะเน้นการอยู่ร่วมกันทางศาสนา เพื่อการเข้าถึงพระเจ้าอีกด้วย สาระที่เรียนเป็น เรื่องที่ทำาให้ เข้าใจในธรรมชาติ เช่น วิทย์ คณิต ฟิสิกส์ เป็นต้น วิชาทางด้าน สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ก็เน้น เช่นกัน แต่จะเน้นน้อยกว่า
  • 24. 3. ประสบการณ์นิยม Experimentalism ให้ความ สำาคัญกับประสบการณ์ การไป พิจารณาสิ่งที่อยู่นอกเหนือ ประสบการณ์จงเป็นสิงไร้ค่า ึ ่ ความจริงเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลง ได้และจะมีค่าเมือมนุษย์ได้คน ่ ได้ให้ความหมายแก่มัน
  • 25. โรงเรียนควรเสริมสร้าง การศึกษาในแนวทางเด็กสามารถ ประสบการณ์ที่ทำาให้ ประสบการณ์นิยม Experimentalism ดำารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสุข หลักสูตรเน้นตัวเด็กและสังคม ส่ง เสริมและฝึกฝนประชาธิปไตย และ พัฒนาทักษะต่าง ๆ อย่างพร้อมมูล ให้เด็กฝึกฝนและแก้ปัญหาด้วย ตนเอง ครูเป็นผู้ให้คำาแนะนำา
  • 26. 4. อัตถิภาวนิยม Existentialism ให้ความสำาคัญกับ ปัจเจกบุคคลอย่างเต็มที่ การ เลือกและการตัดสินใจของ แต่ละบุคคลสำาคัญที่สุด คน ต้องมีเสรีภาพ และใช้เสรีภาพ ของตนเองอย่างอิสระโดยไม่ ถูกกำาหนดโดยสังคม ศีลธรรม
  • 27. เจตจำานงที่มความหมายต่อการ ี การศึกษาในแนวทางอัตถิภาวนิยม ดำารงชีวิตด้วยการเปิดโอกาสให้ผู้ Existentialism เรียนมีอสระ เลือกสรรคุณธรรม ค่า ิ นิยมได้อย่างเสรี รับผิดชอบต่อ ตนเอง ต่อข้อผู้พันต่างๆ ที่ตนเองมี อยู่ หลักสูตรเน้นการปฏิบัติจริง โดยนักเรียนวางแผนตามความ สนใจ มีอสระที่จะเรียนคนเดียว ิ หรือเรียนเป็นกลุ่ม
  • 28. 1
  • 29. 1. ปรัชญาสารัตถนิยม Essentialism ยึดเนื้อหาเป็นหลักสำาคัญของการ ศึกษา และเนื้อหาที่สำาคัญเน้น เนื้อหาที่ได้มาจากมรดกทาง วัฒนธรรมของเรา ความรูใน ้ ปัจจุบันได้รับความสำาคัญน้อยเมื่อ เปรียบเทียบกับความรู้ในอดีต
  • 30. 1. ปรัชญาสารัตถนิยม Essentialism จุดมุงหมายของการศึกษา ่ • ให้สาระอันได้มาจากมรดกทาง วัฒนธรรม • ให้เรียนรู้ความเชื่อ เจตคติ ค่า นิยมของสังคมในอดีต • ธำารงรักษาสิ่งต่าง ๆ ในอดีตไว้ • พัฒนาให้ผู้เรียนมีระเบียบวินัย
  • 31. 2. ปรัชญานิรันตรนิยม Perennialism การศึกษาควรจะได้สอนสิ่งซึงเป็น ่ นิรันดร ไม่เปลี่ยนแปลง มีคณค่า ุ ไม่ว่าจะเป็นยุคสมัยใด ได้แก่ คุณค่าของของเหตุผลและคุณค่า ของศาสนา เนื้อหาวิชามีความ สำาคัญแต่ไม่ใช่เนื้อแท้ของการ ศึกษา แต่เป็นเพียงพาหนะที่จะนำา
  • 32. 2. ปรัชญานิรันตรนิยม Perennialism จุดมุงหมายของการศึกษามุ่งสร้าง ่ คนเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ • สร้างให้ผู้เรียนรู้จกและทำาความ ั เข้าใจตนเองให้มากที่สด โดย ุ เฉพาะในเรื่องของเหตุผลและสติ ปัญญา • มุ่งพัฒนาสติปัญญาและเหตุผล
  • 33. 3. ปรัชญาพิพฒนิยม Progressive ั Education การศึกษาจะต้องพัฒนาเด็กทุก ด้านไม่เฉพาะด้านสติปญญาั เท่านั้น โรงเรียนมีความสัมพันธ์กับ สังคมมากขึ้น เด็กจะต้องพร้อมที่จะ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ปรับตัวได้อย่างดี กระบวนการ จัดการเรียนรู้มีความสำาคัญพอๆ
  • 34. 3. ปรัชญาพิพฒนิยม Progressive ั Education จุดมุงหมายของการศึกษา ่ • พัฒนาผู้เรียนทุกด้านทั้งด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคม อาชีพ และ สติปัญญาควบคูกันไป ่ • ส่งเสริมความถนัด ความสนใจ และลักษณะพิเศษของผู้เรียนควบคู่ กันไปกับการพัฒนาด้านอืน ๆ ่
  • 35. 3. ปรัชญาพิพฒนิยม Progressive ั Education จุดมุงหมายของการศึกษา ่ • ส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย ทั้งในและนอกห้องเรียน •ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จกตนเองและ ั สังคม เพื่อให้สามารถปรับตัวเข้า กับสังคมได้ สามารถแก้ปญหาได้ ั
  • 36. 4. ปรัชญาปฏิรูปนิยม Reconstructionism การศึกษาควรจะช่วยปรับปรุง พัฒนาหรือปฏิรูปสังคมโดยมองว่า สังคมมีปญหามากทั้งด้านเศรษฐกิจ ั สังคม การเมือง จึงต้องหาทางแก้ ปัญหา โดย สร้างค่านิยมและ แบบแผนของสังคมขึนใหม่้
  • 37. 4. ปรัชญาปฏิรูปนิยม Reconstructionism จุดมุงหมายของการศึกษา ่ • ช่วยแก้ปัญหาของสังคมที่เป็นอยู่ • เป็นไปเพื่อส่งเสริม พัฒนาสังคม โดยตรง • สร้างระเบียบใหม่ของสังคมจาก พืนฐานเดิมที่มอยู่ โดย ้ ี กระบวนการประชาธิปไตย
  • 38. ปรัช ญาการศึก ษา ไทย นิยม • กลุ่มอุดมคติ • กลุ่มปัญญานิยม • กลุ่มชุมชนนิยม • กลุ่มปฏิบัตินิยม • กลุ่มเทคโนโลยีนิยม