SlideShare a Scribd company logo
การนำปรัชญาไปใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาเคมี เรื่อง การเกิดปิโตรเลียมและการสำรวจปิโตรเลียม   นางสาวกรรณิกา  คำมา  ครู  โรงเรียนเลยสว่างวิทยาคม
1.  ปิโตรเลียมคืออะไร 2.  การกำเนิดและสะสมตัวของปิโตรเลียม 3.  แหล่งปิโตรเลียม 4.  การสำรวจและพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม การเกิดปิโตรเลียมและการสำรวจปิโตรเลียม จัดกระบวนการเรียนรู้ แบบสืบเสาะ ( 5E )
ขั้นที่  1  สร้างความสนใจ ให้นักเรียนสังเกตภาพที่ครูนำมา แล้วถามนักเรียนว่าภาพที่เห็นคืออะไร  มีประโยชน์อย่างไร  ( ภาพแท่นเจาะปิโตรเลียม ใช้สำหรับขุดเจาะสำรวจปิโตรเลียมบริเวณนั้น ว่าจะได้น้ำมันดิบที่มีคุณภาพหรือไม่ และคุ้มค่าพอที่จะลงทุนหรือไม่ )
ขั้นที่  2  สำรวจและค้นหา ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม  กลุ่มละ  4   คน เรียกว่า  กลุ่มบ้าน   มอบหมายให้สมาชิกกลุ่มบ้านไปศึกษาเนื้อหาคนละ  1  เรื่อง โดยครูจัดเป็น  4   สถานี สถานีละ  1  เรื่อง ดังนี้   -  สถานีที่  1   เรื่อง  ปิโตรเลียมคืออะไร -  สถานี ที่  2   เรื่อง  การกำเนิดและสะสมตัวของปิโตรเลียม -  สถานี ที่  3   เรื่อง  แหล่งปิโตรเลียม -  สถานี ที่  4   เรื่อง  การสำรวจและพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม   สมาชิกกลุ่มบ้านกลับมา อธิบายเรื่องที่ศึกษาให้เพื่อนในกลุ่มบ้านเข้าใจ
สถานีที่  1  ศึกษาเรื่อง  ปิโตรเลียมคืออะไร คำชี้แจง   :  นักเรียนอ่านและวิเคราะห์ข้อมูลจากใบความรู้แล้วข้อมูลไปถ่ายทอดให้เพื่อนๆ  ในกลุ่มเข้าใจ สถานีที่  2   ศึกษาเรื่อง  การกำเนิดและสะสมตัวของปิโตรเลียม คำชี้แจง   :  นักเรียนอ่านและวิเคราะห์ข้อมูลจากใบความรู้แล้วศึกษาวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีทำ  ของแบบจำลองแสดงการเคลื่อนที่ของปิโตรเลียมจากแหล่งกำเนิดไปยังหินกักเก็บ  เพื่อนำไปสร้างแบบจำลองในกลุ่ม เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจและเพื่อให้เห็น ภาพได้ชัดเจน สถานีที่  3   ศึกษาเรื่อง  แหล่งปิโตรเลียม คำชี้แจง   :  นักเรียนอ่านและวิเคราะห์ข้อมูลจากใบความรู้แล้วนำข้อมูลไปถ่ายทอด ให้เพื่อนๆ ในกลุ่มเข้าใจ เพื่อเขียนแสดงตำแหน่งแหล่งปิโตรเลียมของ ประเทศไทยในภูมิภาคต่างๆ สถานีที่  4   ศึกษาเรื่อง  การสำรวจและพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม คำชี้แจง   :  นักเรียนอ่านและวิเคราะห์ข้อมูลจากใบความรู้แล้วนำข้อมูลไปถ่ายทอดให้เพื่อนๆ  ในกลุ่มเข้าใจ
ให้นักเรียนเล่นเกมเศรษฐีปิโตรเลียม ซึ่งมีกติกาดังนี้ คำถามหนึ่งคำถามมีคะแนนเต็ม  10  คะแนน ให้นักเรียนในกลุ่มช่วยกันตอบ  ถ้านักเรียนตอบถูกจะได้  10   คะแนน  ถ้านักเรียนไม่ทราบคำตอบ สามารถขอตัวช่วย โดยขอตัวเลือกสำหรับคำตอบ คะแนนจะลดเหลือ  8  คะแนน  ถ้ายังตอบไม่ได้ สามารถขอตัวช่วยจากกลุ่มอื่น คะแนนก็จะลดเหลือเพียง  6   คะแนน  และกลุ่มที่เป็นตัวช่วยจะได้คะแนนโบนัส  2   คะแนน  ( ถ้าตอบถูก ) แต่ถ้าตอบผิดจะไม่ได้คะแนน เล่นเกมเวียนกันไปกลุ่มละ  2  ข้อ
ขั้นที่  3  อธิบายและลงข้อสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปคำตอบ ของคำถามนั้นๆ ร่วมกัน  พร้อมทั้งอธิบายให้นักเรียนเข้าใจตรงกัน
ขั้นที่  4  ขยายความรู้ นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายในประเด็นที่ว่า “ การใช้ประโยชน์จากปิโตรเลียมมีอะไรบ้าง  มีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมอย่างไร ”   ให้นักเรียนออกมานำเสนอ
ขั้นที่  5  ประเมิน นักเรียนแต่ละกลุ่มประเมินเพื่อนที่ออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน
การนำปรัชญาไปใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน ปฏิบัติงานด้วยความสนใจ สนุกสนาน และทำกิจกรรม ที่เสริมสร้างความสุข มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี  ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น   มีความสามัคคี  จิตนิยม ( Idealism )
ปฏิบัติได้ตามขั้นตอน ( แบบจำลอง )   ตัดสินใจและแก้ปัญหาได้  มีความเข้าใจและสามารถอธิบายได้   การนำปรัชญาไปใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน  ( ต่อ ) เป็นคนมีเหตุผล  สัจจนิยม ( Realism )
การนำปรัชญาไปใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน  ( ต่อ ) มีทักษะเกี่ยวกับ เรื่องที่ศึกษา   มีความรู้จาก การลงมือปฏิบัติ ปฏิบัตินิยม  ( Experimentalism )
การนำปรัชญาไปใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน  ( ต่อ ) มีเอกลักษณ์ เป็นของตนเอง มีความคิด เป็นของตนเอง เชื่อมั่นในตนเองและกล้าแสดงออก สวภาพนิยม  ( Existentialism )
คำแนะนำ 1.  ให้นักเรียนศึกษาวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีทำของแบบจำลองแสดงการเคลื่อนที่ของปิโตรเลียมจาก แหล่งกำเนิดไปยังหินกักเก็บอย่างละเอียด 2.  หลังจากหมดเวลาให้นำอุปกรณ์คนละ 1  ชุด เพื่อนำไปสร้างแบบจำลองในกลุ่มของท่าน วัสดุ อุปกรณ์ น้ำมันพืช  1  ขวด ภาชนะใส  1  ใบ ทราย  1  ถุง กรวด  1  ถุง น้ำ  1  ขวด ช้อนพลาสติก  1  อัน แท่งแก้วคน  1  อัน   ( ใช้ในการรินสาร ) กระดาษชำระ กระดาษหนังสือพิมพ์ แบบจำลองแสดงการเคลื่อนที่ของปิโตรเลียมจากแหล่งกำเนิดไปยังหินกักเก็บ
1.  เทน้ำมันพืชลงในภาชนะใสให้มีความสูงจากพื้น ประมาณ   1.5 cm 2.  ค่อยๆ เททรายลงในภาชนะที่บรรจุน้ำมันพืช  จนระดับของผสมสูงจากพื้นประมาณ   3 cm  3.  เทกรวดลงในภาชนะที่บรรจุของผสม จนกระทั่ง ความสูงของระดับกรวดสูงจากพื้นประมาณ   4 cm 4.  เทน้ำลงในภาชนะที่บรรจุของผสม จนกระทั่ง ความสูงของระดับน้ำสูงจากพื้นประมาณ   5-6 cm 5.  วางตั้งทิ้งไว้   5  นาที สังเกตและบันทึกผลจาก การสังเกต ภาพ แบบจำลองแสดงการเคลื่อนที่ของปิโตรเลียม จากแหล่งกำเนิด ไปยังหินกักเก็บ วิธีทำ ระดับกรวด  ( 4 cm ) ระดับทรายและน้ำมัน  ( 3 cm )
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

What's hot

Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Wichai Likitponrak
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Wichai Likitponrak
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
Sircom Smarnbua
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
Wichai Likitponrak
 
1 ecosystem 2
1 ecosystem 21 ecosystem 2
1 ecosystem 2
Wichai Likitponrak
 
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
Wichai Likitponrak
 
Intro bio5 2560
Intro bio5 2560Intro bio5 2560
Intro bio5 2560
Wichai Likitponrak
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
surapha97
 
656 pre3
656 pre3656 pre3
บท3 พันธุเทคโน
บท3 พันธุเทคโนบท3 พันธุเทคโน
บท3 พันธุเทคโน
Wichai Likitponrak
 
Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
Wichai Likitponrak
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
Wichai Likitponrak
 
Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561
Wichai Likitponrak
 
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantreproLesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
Wichai Likitponrak
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
SAKANAN ANANTASOOK
 
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
riyanma
 
บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อบท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
Wichai Likitponrak
 
Cellres posn 2562_kruwichai
Cellres posn 2562_kruwichaiCellres posn 2562_kruwichai
Cellres posn 2562_kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
 
1 ecosystem 2
1 ecosystem 21 ecosystem 2
1 ecosystem 2
 
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
 
Intro bio5 2560
Intro bio5 2560Intro bio5 2560
Intro bio5 2560
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
 
656 pre3
656 pre3656 pre3
656 pre3
 
บท3 พันธุเทคโน
บท3 พันธุเทคโนบท3 พันธุเทคโน
บท3 พันธุเทคโน
 
Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561
 
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantreproLesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
 
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 
บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อบท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
 
Cellres posn 2562_kruwichai
Cellres posn 2562_kruwichaiCellres posn 2562_kruwichai
Cellres posn 2562_kruwichai
 
Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1
 

Similar to การออกแบบการสอนโดยใช้ปรัชญา

แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์citylong117
 
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียนตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียนทับทิม เจริญตา
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนUraiwan Bunnuang
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4tassanee chaicharoen
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
SAKANAN ANANTASOOK
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งSittikorn Thipnava
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Paranee Srikhampaen
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
คุณครูพี่อั๋น
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
คุณครูพี่อั๋น
 

Similar to การออกแบบการสอนโดยใช้ปรัชญา (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียนตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
Pptวิชาเทคโน
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 

การออกแบบการสอนโดยใช้ปรัชญา

  • 2. 1. ปิโตรเลียมคืออะไร 2. การกำเนิดและสะสมตัวของปิโตรเลียม 3. แหล่งปิโตรเลียม 4. การสำรวจและพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม การเกิดปิโตรเลียมและการสำรวจปิโตรเลียม จัดกระบวนการเรียนรู้ แบบสืบเสาะ ( 5E )
  • 3. ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ ให้นักเรียนสังเกตภาพที่ครูนำมา แล้วถามนักเรียนว่าภาพที่เห็นคืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ( ภาพแท่นเจาะปิโตรเลียม ใช้สำหรับขุดเจาะสำรวจปิโตรเลียมบริเวณนั้น ว่าจะได้น้ำมันดิบที่มีคุณภาพหรือไม่ และคุ้มค่าพอที่จะลงทุนหรือไม่ )
  • 4. ขั้นที่ 2 สำรวจและค้นหา ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน เรียกว่า กลุ่มบ้าน มอบหมายให้สมาชิกกลุ่มบ้านไปศึกษาเนื้อหาคนละ 1 เรื่อง โดยครูจัดเป็น 4 สถานี สถานีละ 1 เรื่อง ดังนี้ - สถานีที่ 1 เรื่อง ปิโตรเลียมคืออะไร - สถานี ที่ 2 เรื่อง การกำเนิดและสะสมตัวของปิโตรเลียม - สถานี ที่ 3 เรื่อง แหล่งปิโตรเลียม - สถานี ที่ 4 เรื่อง การสำรวจและพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม สมาชิกกลุ่มบ้านกลับมา อธิบายเรื่องที่ศึกษาให้เพื่อนในกลุ่มบ้านเข้าใจ
  • 5. สถานีที่ 1 ศึกษาเรื่อง ปิโตรเลียมคืออะไร คำชี้แจง : นักเรียนอ่านและวิเคราะห์ข้อมูลจากใบความรู้แล้วข้อมูลไปถ่ายทอดให้เพื่อนๆ ในกลุ่มเข้าใจ สถานีที่ 2 ศึกษาเรื่อง การกำเนิดและสะสมตัวของปิโตรเลียม คำชี้แจง : นักเรียนอ่านและวิเคราะห์ข้อมูลจากใบความรู้แล้วศึกษาวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีทำ ของแบบจำลองแสดงการเคลื่อนที่ของปิโตรเลียมจากแหล่งกำเนิดไปยังหินกักเก็บ เพื่อนำไปสร้างแบบจำลองในกลุ่ม เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจและเพื่อให้เห็น ภาพได้ชัดเจน สถานีที่ 3 ศึกษาเรื่อง แหล่งปิโตรเลียม คำชี้แจง : นักเรียนอ่านและวิเคราะห์ข้อมูลจากใบความรู้แล้วนำข้อมูลไปถ่ายทอด ให้เพื่อนๆ ในกลุ่มเข้าใจ เพื่อเขียนแสดงตำแหน่งแหล่งปิโตรเลียมของ ประเทศไทยในภูมิภาคต่างๆ สถานีที่ 4 ศึกษาเรื่อง การสำรวจและพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม คำชี้แจง : นักเรียนอ่านและวิเคราะห์ข้อมูลจากใบความรู้แล้วนำข้อมูลไปถ่ายทอดให้เพื่อนๆ ในกลุ่มเข้าใจ
  • 6. ให้นักเรียนเล่นเกมเศรษฐีปิโตรเลียม ซึ่งมีกติกาดังนี้ คำถามหนึ่งคำถามมีคะแนนเต็ม 10 คะแนน ให้นักเรียนในกลุ่มช่วยกันตอบ ถ้านักเรียนตอบถูกจะได้ 10 คะแนน ถ้านักเรียนไม่ทราบคำตอบ สามารถขอตัวช่วย โดยขอตัวเลือกสำหรับคำตอบ คะแนนจะลดเหลือ 8 คะแนน ถ้ายังตอบไม่ได้ สามารถขอตัวช่วยจากกลุ่มอื่น คะแนนก็จะลดเหลือเพียง 6 คะแนน และกลุ่มที่เป็นตัวช่วยจะได้คะแนนโบนัส 2 คะแนน ( ถ้าตอบถูก ) แต่ถ้าตอบผิดจะไม่ได้คะแนน เล่นเกมเวียนกันไปกลุ่มละ 2 ข้อ
  • 7. ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปคำตอบ ของคำถามนั้นๆ ร่วมกัน พร้อมทั้งอธิบายให้นักเรียนเข้าใจตรงกัน
  • 8. ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายในประเด็นที่ว่า “ การใช้ประโยชน์จากปิโตรเลียมมีอะไรบ้าง มีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมอย่างไร ” ให้นักเรียนออกมานำเสนอ
  • 9. ขั้นที่ 5 ประเมิน นักเรียนแต่ละกลุ่มประเมินเพื่อนที่ออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน
  • 10. การนำปรัชญาไปใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน ปฏิบัติงานด้วยความสนใจ สนุกสนาน และทำกิจกรรม ที่เสริมสร้างความสุข มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีความสามัคคี จิตนิยม ( Idealism )
  • 11. ปฏิบัติได้ตามขั้นตอน ( แบบจำลอง ) ตัดสินใจและแก้ปัญหาได้ มีความเข้าใจและสามารถอธิบายได้ การนำปรัชญาไปใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน ( ต่อ ) เป็นคนมีเหตุผล สัจจนิยม ( Realism )
  • 12. การนำปรัชญาไปใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน ( ต่อ ) มีทักษะเกี่ยวกับ เรื่องที่ศึกษา มีความรู้จาก การลงมือปฏิบัติ ปฏิบัตินิยม ( Experimentalism )
  • 13. การนำปรัชญาไปใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน ( ต่อ ) มีเอกลักษณ์ เป็นของตนเอง มีความคิด เป็นของตนเอง เชื่อมั่นในตนเองและกล้าแสดงออก สวภาพนิยม ( Existentialism )
  • 14. คำแนะนำ 1. ให้นักเรียนศึกษาวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีทำของแบบจำลองแสดงการเคลื่อนที่ของปิโตรเลียมจาก แหล่งกำเนิดไปยังหินกักเก็บอย่างละเอียด 2. หลังจากหมดเวลาให้นำอุปกรณ์คนละ 1 ชุด เพื่อนำไปสร้างแบบจำลองในกลุ่มของท่าน วัสดุ อุปกรณ์ น้ำมันพืช 1 ขวด ภาชนะใส 1 ใบ ทราย 1 ถุง กรวด 1 ถุง น้ำ 1 ขวด ช้อนพลาสติก 1 อัน แท่งแก้วคน 1 อัน ( ใช้ในการรินสาร ) กระดาษชำระ กระดาษหนังสือพิมพ์ แบบจำลองแสดงการเคลื่อนที่ของปิโตรเลียมจากแหล่งกำเนิดไปยังหินกักเก็บ
  • 15. 1. เทน้ำมันพืชลงในภาชนะใสให้มีความสูงจากพื้น ประมาณ 1.5 cm 2. ค่อยๆ เททรายลงในภาชนะที่บรรจุน้ำมันพืช จนระดับของผสมสูงจากพื้นประมาณ 3 cm 3. เทกรวดลงในภาชนะที่บรรจุของผสม จนกระทั่ง ความสูงของระดับกรวดสูงจากพื้นประมาณ 4 cm 4. เทน้ำลงในภาชนะที่บรรจุของผสม จนกระทั่ง ความสูงของระดับน้ำสูงจากพื้นประมาณ 5-6 cm 5. วางตั้งทิ้งไว้ 5 นาที สังเกตและบันทึกผลจาก การสังเกต ภาพ แบบจำลองแสดงการเคลื่อนที่ของปิโตรเลียม จากแหล่งกำเนิด ไปยังหินกักเก็บ วิธีทำ ระดับกรวด ( 4 cm ) ระดับทรายและน้ำมัน ( 3 cm )