SlideShare a Scribd company logo
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมน จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) ที่มีต่อจานวนใบ
ของหม่อนหรือ มัลเบอร์รี (Mulberry)
นาเสนอครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่งครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. นายพิศลย์ จาปาแก้ว เลขที่ 36
2. นายพีรวัส ชัยชนะมงคล เลขที่ 37
3. นายเมธา สุวรรณทิพย์ เลขที่ 40
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
2
บทคัดย่อ
ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน (Gibberellin) เป็นฮอร์โมนพืชที่ควบคุมการเจริญเติบโตและมีอิทธิพลต่อ
กระบวนการทางพัฒนาการรวมทั้งการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออกดอก การแสดงเพศ การชักนา
การสร้างเอนไซม์ รวมทั้งการชราของดอกและผล
จากการค้นคว้าผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน (Gibberellin) ที่มีต่อพืช กลุ่มของพวกเราจีงมีความ
สนใจในการทดลองฮอร์โมนพืชชนิดนี้กับต้นไม้ที่พวกเราสนใจ ซึ่งก็คือต้นหม่อน เพื่อศึกษาการ
เปลี่ยนแปลงของใบหม่อน โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างต้นหม่อนออกเป็นสามกลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม Control คือกลุ่มที่
ใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 0% w/v กลุ่ม High dose คือกลุ่มที่ใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความ
เข้มข้น 2.5% w/v และ กลุ่ม Low dose คือกลุ่มที่ใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 0.5% w/v กลุ่มละ
สามต้น โดยทาการให้ฮอร์โมนและบันทึกผล สัปดาห์ละ 2 วัน คือวันอังคารและวันพฤหัสบดี
จากการทดลองพบว่า ต้นหม่อนกลุ่ม Low dose มีจานวนใบเหลือมากที่สุด รองลงมาคือกลุ่ม
Control และกลุ่ม High dose เนื่องจากกลุ่ม Low dose มีปริมาณของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin) ที่
พอดี ไม่มากเกินไป ลาให้ต้นยืด มีตาแตกใบมากขึ้น ส่วนกลุ่ม High dose มีความเข้มข้นของฮอร์โมนมาก
เกินไป ในช่วงแรกต้นยังยืด แต่พอเวลาผ่านไปใบก็ร่วง
3
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช “จิบเบอเรลลิน” จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือ
จากคุณครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูประจาวิชา ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงานที่
ช่วยให้คาปรึกษาและอานวยความสะดวกในการทดลอง
ขอขอบคุณผู้ปกครอง ครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ และให้กาลังใจ
ตลอดมา
คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
4
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ........................................................................................................................................................2
กิตติกรรมประกาศ .........................................................................................................................................3
สารบัญ............................................................................................................................................................4
บทที่ 1 บทนา..................................................................................................................................................5
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง...............................................................................................................................7
บทที่ 3 การดาเนินงาน...................................................................................................................................15
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง................................................................................17
บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม...................................................................................19
บรรณานุกรม.................................................................................................................................................20
ภาคผนวก......................................................................................................................................................21
5
บทที่ 1 บทนา
ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมน จิบเบอเรลลิน(Gibberellin) ที่มีต่อ จานวนใบ ของต้นหม่อน
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. นายพิศลย์ จาปาแก้ว เลขที่ 36
2. นายพีรวัส ชัยชนะมงคล เลขที่ 37
3. นายเมธา สุวรรณทิพย์ เลขที่ 40
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
อาจารย์ผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจาก หม่อน เป็นพืชอาหารตามธรรมชาติชนิดเดียวของหนอนไหม และเป็นหัวใจสาคัญของ
การประกอบอาชีพการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ปริมาณผลผลิตและคุณภาพรังไหมจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับ
คุณภาพใบหม่อน นอกจากนี้ ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin) เป็นฮอร์โมนที่ควบคุมการเจริญเติบโต
และมีอิทธิพลต่อกระบวนการทางพัฒนาการและสนับสนุนการยืดตัวของข้อและการแผ่ขยายของใบ
คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนจิบ
เบอเรลลิน(Gibberellin) ที่มีต่อใบของต้นหม่อนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของใบหม่อน
จากการให้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin)ที่มีความเข้มข้นแตกต่างกัน คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการ
ทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่ต้องการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ
ผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin)ที่มีต่อพืช ในอนาคตต่อไป
คาถามการทาโครงงาน
สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin)ที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ต้นหม่อนมีใบมากที่สุด
สมมติฐานการทดลอง
ถ้าฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin) ที่ความเข้มข้น 2.5% w/v มีผลต่อใบเจริญดีที่สุด ดังนั้น
สารละลายฮอร์โมน จิบเบอเรลลิน(Gibberellin) ที่ความเข้มข้น 2.5% w/v จะทาให้ใบมีจานวนใบมากที่สุด
6
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของใบหม่อนจากการให้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin)
2. เพื่อเปรียบเทียบจานวนใบหม่อนจากการให้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin)ที่มีความเข้มข้น
แตกต่างกัน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin)ที่มีต่อพืช
2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบจานวนใบหม่อนจากการให้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin)ที่มี
ความเข้มข้นแตกต่างกัน
3. เป็นการส่งเสริมทักษะการสังเกตุ การวิเคราะห์ การทางานเป็นกลุ่ม
ขอบเขตของโครงงาน
การทาโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะจานวนใบของต้นหม่อน
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin)
ตัวแปรตาม คือ จานวนใบ
ตัวแปรควบคุม คือ อายุพืช ปริมาณดิน ปริมาณน้าที่รด อุณหภูมิ
ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน
8 มิถุนายน 2560 - 31 กรกฎาคม 2560
วิธีการเก็บข้อมูล
นับจำนวนใบโดยใช้ปำกกำมำร์คไว้ที่ใบ พร้อมจดบันทึกผลกำรนับลงในตำรำงแบบบันทึกที่ได้
ออกแบบไว้
วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล
การหาความสัมพันธ์ระหว่าง ความเข้มข้นของ ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน (Gibberellin)
กับ จานวนใบของต้นหม่อน ในรูปแบบกราฟแท่งหรือกราฟเส้น
7
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
หม่อน หรือ มัลเบอร์รี (Mulberry)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morus alba L.
วงศ์ : Moraceae
ชื่อสามัญ : Mulberry Tree
ชื่ออื่น : กะตี้น(ปะหล่อง), หม่อน (ทั่วไป), ลาที(ลั้วะ)
เป็นพืชอาหารตามธรรมชาติชนิดเดียวของหนอนไหม และเป็นหัวใจสาคัญของการประกอบอาชีพ
การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ปริมาณผลผลิตและคุณภาพรังไหมจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับคุณภาพใบหม่อน
หม่อนเป็นพืชที่มีอายุนาน 80-100 ปี ถ้าไม่ได้รับความกระทบกระเทือน จากการเก็บเกี่ยวหรือโรค แมลงศัตรู
สามารถเจริญได้ดีตั้งแต่เขตอบอุ่นถึงเขตร้อน หม่อนที่เกิดในเขตอากาศหนาว จะหยุดพักไม่เจริญเติบโต
นับตั้งแต่ปลายฤดูใบไม้ร่วงจนถึงฤดูใบไม้ผลิ ผลหม่อนสามารถรับประทานได้สารสกัดด้วยเมทานอลจาก
กากหม่อนที่เหลือจากการทาน้าผลไม้มีฤทธิ์กาจัดอนุมูลอิสระ
ลักษณะของหม่อน
1) ต้นหม่อน เป็นพืชพื้นเมืองของประเทศจีนตอนใต้แถบเทือกเขาหิมาลัย แต่ภายหลังได้มีกรนาเข้ามา
ปลูกในอินโดจีน ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ ไทย ฯลฯ โดยจัดเป็นไม้พุ่มขนาดกลางหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก มี
ลาต้นตั้งตรง สูงได้ประมาณ 2.5 เมตร บางพันธุ์สูงได้ประมาณ 3-7 เมตร แตกกิ่งก้านไม่มากนัก
เปลือกลาต้นเรียบเป็นสีน้าตาลแดง สีขาวปนสีน้าตาล หรือสีเทาปนขาว ส่วนเปลือกรากเป็นสี
8
น้าตาลแดงหรือสีเหลือแดง มีเส้นร้อยแตกที่เปลือกผิว พบได้ทั่วไปในป่าดิบ ในประเทศไทยปลูก
กันมากทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2) ใบหม่อน ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปไข่ หรือรูปไข่กว้าง ปลายใบแหลม
ยาว โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจหรือค่อนข้างตัด ขอบใบเรียบหรือหยักเว้าเป็นพู (ขึ้นอยู่กับสาพันธุ์ที่
ปลูก) ใบอ่อนขอบใบจักเป็นพูสองข้างไม่เท่ากัน ขอบพูจักเป็นซี่ฟัน ใบมีขนาดกว้างประมาณ 8-14
เซนติเมตร และยาวประมาณ 12-16 เซนติเมตร แผ่นใบเป็นสีเขียวเข้มเรียบเงา ท้องใบเป็นสีเขียว
อ่อน ใบค่อนข้างหนา หลังใบสากระคายมือ เส้นใบมี 3 เส้น ออกจากโคนยาวไปถึงกลางใบ และ
เส้นใบออกจากเส้นกลางใบอีก 4 คู่ เส้นร่างแหเห็ดได้ชัดเจนจากด้านล่าง ก้านใบเรียวเล็ก ยาว
ประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร มีหูใบเป็นรูปแถบแคบปลายแหลม ยาวได้ประมาณ 0.2-0.5 เซนติเมตร
9
3) ดอกหม่อน ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบและปลายยอด ดอกเป็นแบบแยกเพศแต่อยู่บนต้นเดียวกัน
ลักษณะของดอกเป็นรูปทรงกระบอก ช่อดอกเพศผู้และช่อดอกเพศเมียจะอยู่ต่างช่อกัน ดอกย่อยมี
ขนาดเล็ก วงกลีบรวมเป็นสีขาวหม่นหรือเป็นสีขาวแกมสีเขียว ช่อดอกเป็นหางกระรอก ยาวได้
ประมาณ 2 เซนติเมตร ดอกเพศผู้วงกลีบรวมมีแฉก 4 แฉก เกลี้ยง ส่วนดอกเพศเมีย วงกลีบรวมมี
แฉก 4 แฉก เกลี้ยง ขอบมีขน เมื่อเป็นผลจะอวบน้า รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียมี 2 อัน
4) ผลหม่อน เป็นผลที่เกิดจากช่อดอก ผลเป็นผลรวมอยู่ในกระจุกเดียวกัน โดยจะออกตามซอกใบ
ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกระบอก ยาวประมาณ 1-2.5 เซนติเมตร ผลเป็นสีเขียว เมื่อผลสุกแล้วจะ
เปลี่ยนเป็นสีม่วงแดงเข้มหรือสีม่วงดา เกือบดา เนื้อนิ่ม ฉ่าน้า และมีรสหวานอมเปรี้ยว
10
ประโยชน์ของหม่อน
1. ผลสุกมีรสหวานอมเปรี้ยว สามารถนามารับประทานได้
2. ผลหม่อนมีสาร Anthocyanins ในปริมาณมาก (เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดความเสี่ยงต่อการ
เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน โรคมะเร็ง ช่วยต่อต้านอาการขาดเลือดในสมอง ฯลฯ) และยังมี
สารสาคัญอื่น ๆ อีกหลายอย่าง เช่น สาร Deoxynojirimycin (ช่วยลดระดับน้าตาลในเลือด), กาบา
(ช่วยลดความดันโลหิต), สาร Phytosterol (ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอล), สาร Polyphenols (สาร
ต้านอนุมูลอิสระที่มีประโยชน์กับร่างกาย), สารประกอบฟีนอล (สารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยต่อต้าน
อาการอักเสบ อาการเส้นเลือดโป่งพอง ช่วยยับยั้งเชื้อแบคทีเรียและไวรัส), สาร Quercetin และสาร
Kaempferol ซึ่งเป็นสารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ (เป็นสารที่ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ
ความดันโลหิต ป้องกันการเกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือด ช่วยป้องกันการดูดซึมของน้าตาลในลาไส้
เล็ก ช่วยทาให้หลอดเลือดแข็งแรง ทาให้เลือดหมุนเวียนดี ยับยั้งการเกิดสารก่อมะเร็งเม็ดเลือด
มะเร็งเต้านม มะเร็งลาไส้ใหญ่ ช่วยยืดอายุเม็ดเลือดขาว และลดอาการแพ้ต่าง ๆ), และยังมีกรดโฟลิ
กสูง (ช่วยทาให้เซลล์เม็ดเลือดแดงเจริญได้เต็มที่ จึงช่วยป้องกันโรคโลหิตจาง และยังช่วยทาให้
เซลล์ประสาทไขสันหลังและเซลล์สมองเจริญเป็นปกติได้อีกด้วย) นอกจากนี้ยังมีวิตามินและแร่
ธาตุ และกรดอะมิโนอีกหลายชนิดที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น แคลเซียม ธาตุเหล็ก
โพแทสเซียม แมกนีเซียม โซเดียม สังกะสี วิตามินเอ วิตามินบี เป็นต้น (เมื่อผลหม่อนมีระยะสุก
เพิ่มขึ้น ปริมาณของสารออกฤทธิ์ดังกล่าวข้างต้นจะมีปริมาณที่เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย)
3. ใบอ่อนและใบแก่สามารถนามาทาเป็นชาเขียว ชาจีน หรือชาฝรั่งชงกับน้าดื่มได้ โดยมีสรรพคุณ
ช่วยลดระดับน้าตาลในเลือด ลดไขมันในเลือด ลดความดันโลหิตสูงได้เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันได้มี
การแปรรูปใบหม่อนเป็นผลิตภัณฑ์ชา ทั้งชาเขียวและชาดา ที่ใช้ชงกับน้าดื่มเช้าและเย็น
4. ยอดอ่อนใช้รับประทานได้ โดยมักนามาใช้ใส่ในแกงแทนการใช้ผงชูรส หรือใช้รับประทานเป็น
อาหารต่างผัก ส่วนชาวอีสานจะนาไปใส่ต้มยาไก่ ต้มยาเป็ด
5. ผลหม่อนสามารถนาไปแปรรูปเป็นอาหารหรือผลิตภัณฑ์ได้หลายอย่าง เช่น แยม เยลลี่ ข้าวเกรียบ
ขนมพาย ไอศกรีม นามาแช่อิ่ม ทาแห้ง ลูกอมหม่อน ทาน้าหม่อน เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประเภท
ไวน์ หรือไวน์หม่อน เป็นต้น
6. ใบหม่อนเป็นพืชอาหารที่วิเศษสุดสาหรับตัวไหม หนอนไหมที่เจริญเติบโตเต็มที่จะนาโปรตีนที่ได้
จากใบหม่อนไปสร้างเป็นโปรตีนแล้วผลิตเป็นเส้นไหม ซึ่งเส้นไหม จะเป็นวัตถุดิบในการผลิตผ้า
ไหมที่มีความสวยงามได้อีกต่อหนึ่ง โดยใบหม่อนประมาณ 108-120 กิโลกรัม สามารถเปลี่ยนเป็น
11
รังไหมพันธุ์ไทยพื้นบ้านได้ประมาณ 10-12 กิโลกรัม (ใบหม่อนมีโปรตีนประมาณ 18-28.8% ของ
น้าหนักแห้ง, มีคาร์โบไฮเดรต 42.25%, ไขมัน 4.57%, ใยอาหารและเถ้า 24.03%,) นอกจากนี้ใบ
หม่อนยังสามารถนามาใช้เป็นส่วนผสมในอาหารสาหรับสัตว์เอื้องได้บางชนิด และนาไปใช้เลี้ยง
ปลาได้อีกด้วย และวัวควายที่กินใบหม่อนจะทาให้มีน้านมเพิ่มขึ้น
7. เนื้อไม้มีสีเหลือง เนื่องจากมีสาร Morin สามารถนามาใช้ย้อมผ้าไหม ผ้าแพรได้
8. เยื่อจากเปลือกของลาต้นและกิ่งมีเส้นใย สามารถนามาเป็นกระดาษได้สวยงาม เช่นเดียวกับกระดาษ
สา
9. ลาต้นและกิ่ง สามารถนามาใช้เป็นไม้ในการสร้างผลิตภัณฑ์บางชนิดได้
10. นอกจากนี้เรายังสามารถนาต้นหม่อนมาใช้ในการปลูกเพื่อจัดและประดับสวนเพื่อให้มีภูมิทัศน์ที่ดี
ได้เมื่อแตกกิ่งใหม่ กิ่งจะย่อยห้อยลงตามแรงโน้มถ่วง ไม่ได้ตั้งตรงขึ้นไปเช่นพันธุ์ไม้อื่น ทาให้ดู
เป็นพุ่มสวยงาม และต้นหม่อนยังทนต่อการตัดแต่ง หลังการตัดแต่งแล้วจะมีการแตกกิ่งและ
เจริญเติบโตเร็ว
12
จิบเบอเรลลิน (Gibberellin)
จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) เป็นฮอร์โมนพืชที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ ควบคุมการ
เจริญเติบโตและมีอิทธิพลต่อกระบวนการทางพัฒนาการรวมทั้งการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออก
ดอก การแสดงเพศ การชักนาการสร้างเอนไซม์ รวมทั้งการชราของดอกและผล จิบเบอเรลลินถูกค้นพบครั้ง
แรกเมื่อ พ.ศ. 2469 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น Eiichi Kurosawa ผู้ศึกษาโรคบากาเนะในข้าว เริ่มจาก
การศึกษาต้นข้าวที่เป็นโรค Bakanae ซึ่งมีลักษณะสูง ผอม เกิดจากเชื้อรา Gibberella fujikuroi และถูกสกัด
ออกมาเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2478 โดย Teijiro Yabuta จากเชื้อรา G. fujikuroi เมื่อสกัดสารที่เชื้อรานี้สร้าง
ขึ้นไปทดสอบกับพืชชนิดอื่น พบว่าทาให้พืชนั้นๆมีอาการอย่างเดียวกันคือต้นผอม สูง จึงตั้งชื่อสารที่พบนี้ว่า
จิบเบอเรลลิน ต่อมามีการพบอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิกจากราอีกหลายชนิด รวมทั้งในพืช ใน พ.ศ. 2546
พบจิบเบอเรลลินแล้ว 126 ชนิดทั้งที่แยกได้จากพืช รา และแบคทีเรีย
คุณลักษณะทางเคมีและการสังเคราะห์
จิบเบอเรลลินเป็นสารกลุ่มไดเทอร์พีนอยด์ที่สังเคราะหืโดยวิถึเทอร์พีนอยด์ในพลาสติดแล้วจึง
เปลี่ยนรูปในเอนโดพลาสมิก เรกติคิวลัมและไซโตซอลจนได้รูปที่ออกฤทธิ์ในสิ่งมีชีวิตได้จิบเบอเรลลิน
ทั้งหมดมีโครงสร้างหลักเป็น ent-gibberellane ที่สังเคราะห์มาจาก ent-kaurene การสังเคราะห์จิบเบอเรลลิน
ในพืชชั้นสูงเริ่มจากสร้าง Geranylgeranyl diphosphate (GGDP) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นของสารกลุ่มดีเทอร์พี
นอยด์โดยทั่วไป จากนั้นจึงเปลี่ยน GGDP ไปเป็น ent-kaurene แล้วจึงเปลี่ยนเป็น GA12 แล้วจึงเปลี่ยนต่อไป
เป็นจิบเบอเรลลินตัวอื่นๆ จิบเบอเรลลินเป็นอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิก (Gibberellic acid) จัดเป็นสาร
กลุ่มดีเทอร์พีนอยด์ (Diterpenoid) ปัจจุบันพบแล้วมากกว่า 80 ชนิด ดังตัวอย่าง
13
GA1 GA3
ent-Gibberellane
มีจุลินทรีย์หลายชนิดที่สร้างจิบเบอเรลลินได้เช่น แบคทีเรีย ไซยาโนแบคทีเรีย ยีสต์ สาหร่ายสีเขียว
สาหร่ายสีน้าตาลและสาหร่ายสีแดง รวมทั้งไมคอไรซาในรากกล้วยไม้ในรา วิถีการผลิตจิบเบอเรลลินคล้าย
กับพืชชั้นสูง แม้ว่าเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องจะต่างไป ในรากพืชตระกูลถั่วที่เกิดปม มีสารคล้ายจิบเบอเรลลินมา
กกว่ารากข้างเคียงที่ไม่เกิดปม Phaseolus lunatus ที่เติมเชื้อ Bradyrhizobium sp. ที่จาเพาะต่อกัน ส่วนปล้อง
จะยาวกว่าต้นที่ได้รับเชื้อชนิดเดียวกันแต่ไม่จาเพาะ และพบจิบเบอเรลลินหลายตัวในปมที่มีแบคทีเรียที่
กระตุ้นการยืดยาวของปล้องได้
จิบเบอเรลลินสามารถกระตุ้นการเจริญของแบคทีเรีย (เช่น Azotobactor Pseudomonas) ยีสต์และรา
ได้เช่นกัน จิบเบอเรลลินยังสามารถกระตุ้นการตรึงไนโตรเจนและการเจริญเติบโตของ Anabaena ได้ด้วย
การออกฤทธิ์ของจิบเบอเรลลิน
การออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยาที่สาคัญของจิบเบอเรลลินได้แก่
- กระตุ้นการขยายตัวของเซลล์ โดยการเพิ่มความยืดหยุ่นของผนังเซลล์ ทาให้เซลล์มีรูปร่างยืดยาวขึ้น
- กระตุ้นการเจริญของรากโดยเฉพาะการเจริญของรากแรกเกิด (Radicle) รากต้องการจิบเบอเรลลิน
ในปริมาณที่น้อยกว่าลาต้น เช่นรากต้องการ GA3 ในระดับนาโนโมลาร์ แต่ยอดต้องการในระดับไม
โครโมลาร์
14
- จิบเบอเรลลินมีผลต่อพัฒนาการของดอกโดยเฉพาะพัฒนาการของก้านชูเกสรตัวผู้และกลีบดอก
บริเวณที่มีการสร้างจิบเบอเรลลินมากในดอกคือผนังของอับละอองเรณูและในละอองเรณู การสร้าง
จิบเบอเรลลินในอับละอองเรณูนี้จะควบคุมพัฒนาการของดอกทั้งหมด
- กระตุ้นการติดผล ในพืชหลายชนิด เช่น ส้ม มะเขือเทศ องุ่น การได้รับจิบเบอเรลลินช่วยให้เกิดการ
ติดผลโดยไม่ต้องผสมเกสรได้
- กระตุ้นการงอกของเมล็ด แสงสีแดงกระตุ้นการงอกของเมล็ดได้โดยกระตุ้นให้มีการสร้างจิบเบอ
เรลลินมากขึ้น และส่งผลต่อการตอบสนองของเนื้อเยื่อต่อจิบเบอเรลลิน พืชบางชนิดเช่น
Arabidopsis และผักกาดหอมซึ่งต้องการแสงสว่างในการงอก การเพิ่มจิบเบอเรลลินจะส่งผลต่อการ
งอกของพืชเหล่านี้เช่นเดียวกับการได้รับแสงสว่าง
- การเปลี่ยนเพศดอก จิบเบอเรลลินช่วยทาให้พืชตระกูลแตงหรือพืชที่แยกดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย
เกิดดอกตัวผู้มากขึ้นได้ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพันธุ์พืช
- การกระตุ้นการพักตัวของพืช จิบเบอเรลลินช่วยทาลายระยะพักตัวของพืชทั้งการพักตัวของตาและ
เมล็ด โดยข่มฤทธิ์ของ ABA ซึ่งทาให้เกิดระยะพักตัว
- หลังการงอก จิบเบอเรลลินสนับสนุนการยืดตัวของข้อและการแผ่ขยายของใบ
- กระตุ้นการทางานของแคมเบียมในพืชหลายชนิด เช่น แอพริคอด บีโกเนีย และมันฝรั่ง
- ควบคุมให้พืชอยู่ในสภาวะอ่อนวัย เช่นการทาให้ใบของ Hedera helix คงอยู่ในสภาพของใบใน
ระยะอ่อนวัยซึ่งมีความสวยงามกว่าใบในระยะเต็มวัยพร้อมสืบพันธุ์ได้
- กระตุ้นการออกดอก การได้รับจิบเบอเรลลินสามารถทดแทนความต้องการช่วงแสงยาวในช่วง
กลางวันของพืชวันยาว และความต้องการความหนาวเย็นก่อนออกดอกของพืชได้
15
บทที่ 3 การดาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. ต้นหม่อน 9 ต้น
2. ป้ายบอกรายละเอียด 9 ป้าย
3. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน ชนิดเม็ด 1 หลอด 50 มิลลิกรัม
4. กระบอกฉีดสารละลายฮอร์โมน 3 กระบอก
5. ขวดใส่สารละลายฮอร์โมน 2 ขวด
6. ถ้วยตวง 1 ถ้วย
ขั้นตอนการทาโครงงาน
1. ประชุมวางแผนคัดเลือกชนิดต้นไม้, ชนิดฮอร์โมน และส่วนที่ต้องการศึกษาที่สนใจ ซึ่งคือ
การศึกษาผลของฮอร์โมนต่อลักษณะและการเปลี่ยนแปลงของต้นไม้
2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้
2.1. ลักษณะของต้นหม่อน
2.2. การดูแลรักษาต้นหม่อน
2.3. ผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
2.4. ความเข้มข้นสารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่เหมาะสมกับต้นหม่อน
3. เลือกใช้ต้นหม่อนกับฮอร์โมนจิบเบอเรลลินในการทดลองสังเกตจานวนใบของต้นหม่อน
4. วางแผนรายละเอียดการทดลอง เพื่อเปรียบเทียบจานวนใบของต้นไม้อันเนื่องมาจากผลของความ
เข้มข้นของสารละลายฮอร์โมนที่แตกต่างกันโดยแบ่งเป็น 3 ชุดการทดลองดังนี้
4.1. ชุด control ไม่ฉีดสารละลายฮอร์โมน
4.2. ชุด low dose ฉีดสารละลายฮอร์โมนความเข้มข้นต่า 0.5% w/v
4.3 ชุด high dose ฉีดสารละลายฮอร์โมนความเข้มข้นสูง 2.5% w/v
5. จัดทาเค้าโครงโครงงาน เพื่อนาเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อนาไปปรับปรุงและแก้ไข
6. หาสถานที่ที่ใช้ในการทาทดลอง
7. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาการทดลองสังเกตจานวนใบของต้นหม่อน
7.1.1. ต้นหม่อน 9 ต้น
7.1.2. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน ชนิดเม็ด 1 หลอด 50 มิลลิกรัม
7.1.3. ถ้วยตวง 1 ถ้วย
16
7.1.4. น้า
7.1.5. ขวดใส่สารละลายฮอร์โมน 2 ขวด
7.1.6. กระบอกฉีดสารละลายฮอร์โมน 3 กระบอก
7.1.7. ป้ายบอกรายละเอียด 9 ป้าย
7.1.8. กระดาษจดบันทึก
8. ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง
8.1. ตอนที่ 1 การเตรียมสารละลายฮอร์โมน
8.1.1. ใช้ฝาของกระบอกฮอร์โมนชนิดเม็ดซึ่งตวงได้ฝาละ 10 มิลลิกรัมในการตวงฮอร์โมน
เพื่อมาผสมน้าให้กลายเป็นสารละลาย
8.1.2. ตวงฮอร์โมนชนิดเม็ดมา 2.5 มิลลิกรัม ผสมกับน้าจานวน 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร ทา
ให้ได้สารละลายความเข้มข้น 0.5% w/v สาหรับใช้เป็น low dose
8.1.3. ตวงฮอร์โมนชนิดเม็ดมา 12.5 มิลลิกรัม ผสมกับน้าจานวน 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร ทา
ให้ได้สารละลายความเข้มข้น 2.5% w/v สาหรับใช้เป็น high dose
8.1.4. น้าสารละลายทั้ง 2 แยกใส่กระบอกฉีด 2 กระบอก และนาที่เหลือเก็บแยกใส่ขวดไว้
เพื่อใช้เติมในกระบอกฉีดในภายหลัง
8.1.5.นาน้าเปล่าใส่กระบอกฉีดที่เหลือ 1 ขวด
8.2. ตอนที่ 2 ดูแลต้นไม้และติดตามผลหลังจากเริ่มการทดลอง
8.2.1. จัดต้นไม้เป็นกลุ่มการทดลอง 3 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ต้น
8.2.2. ทาการฉีดสารละลายฮอร์โมนและน้าเปล่าสาหรับกลุ่มการทดลองที่แตกต่างกันทั้ง 3
กลุ่ม โดยฉีดเป็นประจาสัปดาห์ละ 2 วัน วันละครั้งในช่วงหลังเลิกเรียน
8.2.3. รดน้าดูแลต้นไม้เป็นประจาทุกวัน
8.2.4. จดบันทึกจานวนใบทุกครั้งในวันที่มีการฉีดฮอร์โมน
9. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา
10. จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มและไฟล์นาเสนอโครงงานให้สมบูรณ์
17
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
วันที่
จานวนใบเฉลี่ยของต้นหม่อนในแต่ละกลุ่ม (ใบ)
หมายเหตุ
High Dose Low Dose Control
ต้นที่ ต้นที่ ต้นที่
1 2 3 เฉลี่ย 1 2 3 เฉลี่ย 1 2 3 เฉลี่ย
8 มิถุนายน 2560 17 16 15 16 16 14 15 15 16 14 18 16 เริ่มต้นการทดลอง
13 มิถุนายน 2560 16 15 14 15 16 14 15 15 16 14 18 16
15 มิถุนายน 2560 16 15 14 15 16 14 15 15 16 14 18 16
20 มิถุนายน 2560 15 14 13 14 17 15 16 16 15 14 16 15
22 มิถุนายน 2560 14 13 12 13 17 15 16 16 15 14 16 15
27 มิถุนายน 2560 13 12 11 12 18 17 16 17 14 13 15 14
29 มิถุนายน 2560 11 12 10 11 18 17 16 17 14 13 15 14
4 กรกฎาคม 2560 10 11 9 10 18 17 16 17 14 13 15 14
6 กรกฎาคม 2560 10 11 9 10 18 17 16 17 14 13 15 14
11 กรกฎาคม 2560 9 9 9 9 19 17 18 18 13 12 14 13
13 กรกฎาคม 2560 9 9 9 9 19 17 18 18 13 12 14 13
17 กรกฎาคม 2560 8 7 9 8 19 17 18 18 13 12 14 13
19 กรกฎาคม 2560 8 7 9 8 20 19 18 19 12 11 13 12
24 กรกฎาคม 2560 7 6 8 7 20 19 18 19 12 11 13 12
27 กรกฎาคม 2560 7 6 8 7 21 20 19 20 12 11 13 12
31 กรกฎาคม 2560 7 6 8 7 21 20 19 20 12 11 13 12 สิ้นสุดการทดลอง
18
กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง
กราฟเส้นแสดงผลการทดลอง
0
5
10
15
20
25
8/6/60 20/6/60 29/6/60 11/7/60 19/7/60 31/7/60
จำนวนใบเฉลี่ย(ใบ)
วันที่ทำกำรบันทึกผล
High Dose Low Dose Control
0
5
10
15
20
25
8/6/60 15/6/60 22/6/60 29/6/60 6/7/60 13/7/60 19/7/60 31/7/60
จำนวนใบเฉลี่ย(ใบ)
วันที่ทำกำรบันทึกผล
High Dose Low Dose Control
19
วิเคราะห์ผลการทดลอง
ต้นหม่อนกลุ่ม High Dose ที่ได้รับฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีความเข้มข้นสูงกว่ากลุ่มอื่น พบว่าใบ
ของต้นหม่อนเริ่มร่วงเร็วกว่ากลุ่มการทดลองอื่นๆ
ต้นหม่อนกลุ่ม Low Dose ได้รับฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีความเข้มข้นในระดับที่พอดี พบว่าใบ
ของต้นหม่อนเริ่มเพิ่มปริมาณขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ต้นหม่อนกลุ่ม Control ที่ไม่ได้รับฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน พบว่าใบร่วงตามปกติ ไม่มีอัตราการเพิ่ม
หรือลดให้เห็นอย่างเด่นชัด
บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
สรุปผลการทดลอง
ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin) มีผลต่อการเจริญของใบในพืช ซึ่ง ต้นหม่อนกลุ่ม Low dose จะ
มีจานวนใบเหลือมากที่สุด รองลงมาคือกลุ่ม Control และกลุ่ม High dose เนื่องจากกลุ่ม Low dose มีปริมาณ
ของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin) ที่พอดี ไม่มากเกินไป ลาให้ต้นยืด มีตาแตกใบมากขึ้น กลุ่ม
Control มีความเข้มข้นของฮอร์โมน 0% w/v ซึ่งเปรียบเสมือนรดนา้้ปกติ จึงมีจานวนใบปานกลาง ส่วน
กลุ่ม High dose มีความเข้มข้นของฮอร์โมนมากเกินไป ในช่วงแรกต้นยังยืด แต่พอเวลาผ่านไปใบก็ร่วง ทา
ให้มีจานวนใบน้อยที่สุด
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
เวลาให้ฮอร์โมนแต่ละกระบอกฉีดซึ่งมีความเข้มข้นต่างกันแก่กลุ่มพืชแต่ละกลุ่มควรฉีดในระยะที่
พอดีไม่ให้ฮอร์โมนที่มีความเข้มข้นหนึ่งไปโดนพืชอีกกลุ่มความเข้มข้นหนึ่ง
20
บรรณานุกรม
นิดดา หงส์วิวัฒน์.หม่อน.2559. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/หม่อน
[ 31 กรกฎาคม 2560 ].
ผศ.ดร.เภสัชกรหญิง สุดารัตน์ หอมหวล.หม่อน.2553. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=125 [ 31 กรกฎาคม 2560 ].
หม่อน สรรพคุณและประโยชน์ของต้นหม่อน ใบหม่อน.2557.[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา
https://medthai.com/หม่อน/ [ 31 กุมภาพันธ์ 2559 ].
สวนพฤกษศาสตร์คลองไผ่.2554. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://www.rspg.or.th/plants_data/kp_bot_garden/kpb_20-3.htm [ 31 กุมภาพันธ์ 2559 ].
สถาพร ดียิ่ง.ฮอร์โมนพืช.2559. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/จิบเบอ
เรลลิน [ 31 กรกฎาคม 2560 ].
วันทนี สว่างอารมณ์.การเจริญและการเติบโตของพืช.2558. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://www.rakbankerd.com/agriculture/page.php?id=8183&s=tblplant [ 31 กรกฎาคม 2560 ].
gibberellins.2557. [ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา
http://www.student.chula.ac.th/~56370053/gibberellins.html [ 31 กุมภาพันธ์ 2559 ].
21
ภาคผนวก
รูปแสดง การปักป้ายรายละเอียดต้นไม้
รูปแสดง การจัดเตรียมสถานที่
รูปแสดง การจัดเตรียมสารละลายสารองไว้
22
รูปแสดง การเตรียมสารละลายฮอร์โมน
รูปแสดง การทาความสะอาดสถานที่
23
รูปแสดง การดูแลรดน้าต้นไม้
รูปแสดง การฉีดสารละลายฮอร์โมน
รูปแสดง การวัดจานวนใบของต้นหม่อน
24
รูปแสดง การบันทึกผลการทดลอง
รูปแสดง การผลการทดลอง
25
รูปแสดง การติดตามผลการดาเนินโครงงานฮอร์โมนครั้งที่ 1
รูปแสดง การติดตามผลการดาเนินโครงงานฮอร์โมนครั้งที่ 2

More Related Content

What's hot

ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกTANIKAN KUNTAWONG
 
แม่แบบโครงงาน 5 บท
แม่แบบโครงงาน 5 บทแม่แบบโครงงาน 5 บท
แม่แบบโครงงาน 5 บท
rathkalanyuwong
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
Oyl Wannapa
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931
Maimai Pudit
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบnokbiology
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมkrudararad
 
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
อนุพงษ์ ทิพโรจน์
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
FURD_RSU
 
วันวิทยาศาสตร์ปี2566
วันวิทยาศาสตร์ปี2566วันวิทยาศาสตร์ปี2566
วันวิทยาศาสตร์ปี2566
daonoi
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาbenzikq
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..Montree Jareeyanuwat
 
Bio3 62 photosyn_2
Bio3 62 photosyn_2Bio3 62 photosyn_2
Bio3 62 photosyn_2
Wichai Likitponrak
 
Годишен отчет на МО на началните учители 2015/2016 година
Годишен отчет на МО на началните учители 2015/2016 годинаГодишен отчет на МО на началните учители 2015/2016 година
Годишен отчет на МО на началните учители 2015/2016 година
Веселин Димитров
 
ชาใบขลู่เพื่อสุขภาพ
ชาใบขลู่เพื่อสุขภาพชาใบขลู่เพื่อสุขภาพ
ชาใบขลู่เพื่อสุขภาพBunnaruenee
 
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่มการทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่มDoz Phatnut
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
Pinutchaya Nakchumroon
 
планините на българия
планините на българияпланините на българия
планините на българияkyuchukova
 
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนเรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนkanjana2536
 

What's hot (20)

ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
 
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
 
แม่แบบโครงงาน 5 บท
แม่แบบโครงงาน 5 บทแม่แบบโครงงาน 5 บท
แม่แบบโครงงาน 5 บท
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
 
วันวิทยาศาสตร์ปี2566
วันวิทยาศาสตร์ปี2566วันวิทยาศาสตร์ปี2566
วันวิทยาศาสตร์ปี2566
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
 
Bio3 62 photosyn_2
Bio3 62 photosyn_2Bio3 62 photosyn_2
Bio3 62 photosyn_2
 
Годишен отчет на МО на началните учители 2015/2016 година
Годишен отчет на МО на началните учители 2015/2016 годинаГодишен отчет на МО на началните учители 2015/2016 година
Годишен отчет на МО на началните учители 2015/2016 година
 
ชาใบขลู่เพื่อสุขภาพ
ชาใบขลู่เพื่อสุขภาพชาใบขลู่เพื่อสุขภาพ
ชาใบขลู่เพื่อสุขภาพ
 
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่มการทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
 
планините на българия
планините на българияпланините на българия
планините на българия
 
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนเรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
 

Similar to M6 125 60_9

M6 126 60_10
M6 126 60_10M6 126 60_10
M6 126 60_10
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_8
M6 126 60_8M6 126 60_8
M6 126 60_8
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_3
M6 126 60_3M6 126 60_3
M6 126 60_3
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
Wichai Likitponrak
 
banana
bananabanana
banana
pan24960
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
Wichai Likitponrak
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ขิง
ขิงขิง
ขิง
Fourt'p Spnk
 
652 pre10
652 pre10652 pre10
Plant hor 1_77_60
Plant hor 1_77_60Plant hor 1_77_60
Plant hor 1_77_60
Wichai Likitponrak
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
Kay Pakham
 
932 pre9
932 pre9932 pre9

Similar to M6 125 60_9 (20)

M6 126 60_10
M6 126 60_10M6 126 60_10
M6 126 60_10
 
M6 126 60_8
M6 126 60_8M6 126 60_8
M6 126 60_8
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
 
M6 126 60_3
M6 126 60_3M6 126 60_3
M6 126 60_3
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
 
M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
banana
bananabanana
banana
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
 
ขิง
ขิงขิง
ขิง
 
652 pre10
652 pre10652 pre10
652 pre10
 
Plant hor 1_77_60
Plant hor 1_77_60Plant hor 1_77_60
Plant hor 1_77_60
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
932 pre9
932 pre9932 pre9
932 pre9
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Recently uploaded

Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
Postharvest Technology Innovation Center
 

Recently uploaded (8)

Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
 

M6 125 60_9

  • 1. โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมน จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) ที่มีต่อจานวนใบ ของหม่อนหรือ มัลเบอร์รี (Mulberry) นาเสนอครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. นายพิศลย์ จาปาแก้ว เลขที่ 36 2. นายพีรวัส ชัยชนะมงคล เลขที่ 37 3. นายเมธา สุวรรณทิพย์ เลขที่ 40 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. 2 บทคัดย่อ ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน (Gibberellin) เป็นฮอร์โมนพืชที่ควบคุมการเจริญเติบโตและมีอิทธิพลต่อ กระบวนการทางพัฒนาการรวมทั้งการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออกดอก การแสดงเพศ การชักนา การสร้างเอนไซม์ รวมทั้งการชราของดอกและผล จากการค้นคว้าผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน (Gibberellin) ที่มีต่อพืช กลุ่มของพวกเราจีงมีความ สนใจในการทดลองฮอร์โมนพืชชนิดนี้กับต้นไม้ที่พวกเราสนใจ ซึ่งก็คือต้นหม่อน เพื่อศึกษาการ เปลี่ยนแปลงของใบหม่อน โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างต้นหม่อนออกเป็นสามกลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม Control คือกลุ่มที่ ใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 0% w/v กลุ่ม High dose คือกลุ่มที่ใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความ เข้มข้น 2.5% w/v และ กลุ่ม Low dose คือกลุ่มที่ใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 0.5% w/v กลุ่มละ สามต้น โดยทาการให้ฮอร์โมนและบันทึกผล สัปดาห์ละ 2 วัน คือวันอังคารและวันพฤหัสบดี จากการทดลองพบว่า ต้นหม่อนกลุ่ม Low dose มีจานวนใบเหลือมากที่สุด รองลงมาคือกลุ่ม Control และกลุ่ม High dose เนื่องจากกลุ่ม Low dose มีปริมาณของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin) ที่ พอดี ไม่มากเกินไป ลาให้ต้นยืด มีตาแตกใบมากขึ้น ส่วนกลุ่ม High dose มีความเข้มข้นของฮอร์โมนมาก เกินไป ในช่วงแรกต้นยังยืด แต่พอเวลาผ่านไปใบก็ร่วง
  • 3. 3 กิตติกรรมประกาศ โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช “จิบเบอเรลลิน” จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือ จากคุณครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูประจาวิชา ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงานที่ ช่วยให้คาปรึกษาและอานวยความสะดวกในการทดลอง ขอขอบคุณผู้ปกครอง ครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ และให้กาลังใจ ตลอดมา คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา
  • 4. 4 สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ........................................................................................................................................................2 กิตติกรรมประกาศ .........................................................................................................................................3 สารบัญ............................................................................................................................................................4 บทที่ 1 บทนา..................................................................................................................................................5 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง...............................................................................................................................7 บทที่ 3 การดาเนินงาน...................................................................................................................................15 บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง................................................................................17 บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม...................................................................................19 บรรณานุกรม.................................................................................................................................................20 ภาคผนวก......................................................................................................................................................21
  • 5. 5 บทที่ 1 บทนา ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมน จิบเบอเรลลิน(Gibberellin) ที่มีต่อ จานวนใบ ของต้นหม่อน สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. นายพิศลย์ จาปาแก้ว เลขที่ 36 2. นายพีรวัส ชัยชนะมงคล เลขที่ 37 3. นายเมธา สุวรรณทิพย์ เลขที่ 40 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อาจารย์ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่มาและความสาคัญ เนื่องจาก หม่อน เป็นพืชอาหารตามธรรมชาติชนิดเดียวของหนอนไหม และเป็นหัวใจสาคัญของ การประกอบอาชีพการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ปริมาณผลผลิตและคุณภาพรังไหมจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับ คุณภาพใบหม่อน นอกจากนี้ ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin) เป็นฮอร์โมนที่ควบคุมการเจริญเติบโต และมีอิทธิพลต่อกระบวนการทางพัฒนาการและสนับสนุนการยืดตัวของข้อและการแผ่ขยายของใบ คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนจิบ เบอเรลลิน(Gibberellin) ที่มีต่อใบของต้นหม่อนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของใบหม่อน จากการให้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin)ที่มีความเข้มข้นแตกต่างกัน คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการ ทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่ต้องการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ ผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin)ที่มีต่อพืช ในอนาคตต่อไป คาถามการทาโครงงาน สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin)ที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ต้นหม่อนมีใบมากที่สุด สมมติฐานการทดลอง ถ้าฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin) ที่ความเข้มข้น 2.5% w/v มีผลต่อใบเจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลายฮอร์โมน จิบเบอเรลลิน(Gibberellin) ที่ความเข้มข้น 2.5% w/v จะทาให้ใบมีจานวนใบมากที่สุด
  • 6. 6 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของใบหม่อนจากการให้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin) 2. เพื่อเปรียบเทียบจานวนใบหม่อนจากการให้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin)ที่มีความเข้มข้น แตกต่างกัน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin)ที่มีต่อพืช 2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบจานวนใบหม่อนจากการให้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin)ที่มี ความเข้มข้นแตกต่างกัน 3. เป็นการส่งเสริมทักษะการสังเกตุ การวิเคราะห์ การทางานเป็นกลุ่ม ขอบเขตของโครงงาน การทาโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะจานวนใบของต้นหม่อน ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin) ตัวแปรตาม คือ จานวนใบ ตัวแปรควบคุม คือ อายุพืช ปริมาณดิน ปริมาณน้าที่รด อุณหภูมิ ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน 8 มิถุนายน 2560 - 31 กรกฎาคม 2560 วิธีการเก็บข้อมูล นับจำนวนใบโดยใช้ปำกกำมำร์คไว้ที่ใบ พร้อมจดบันทึกผลกำรนับลงในตำรำงแบบบันทึกที่ได้ ออกแบบไว้ วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล การหาความสัมพันธ์ระหว่าง ความเข้มข้นของ ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน (Gibberellin) กับ จานวนใบของต้นหม่อน ในรูปแบบกราฟแท่งหรือกราฟเส้น
  • 7. 7 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง หม่อน หรือ มัลเบอร์รี (Mulberry) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morus alba L. วงศ์ : Moraceae ชื่อสามัญ : Mulberry Tree ชื่ออื่น : กะตี้น(ปะหล่อง), หม่อน (ทั่วไป), ลาที(ลั้วะ) เป็นพืชอาหารตามธรรมชาติชนิดเดียวของหนอนไหม และเป็นหัวใจสาคัญของการประกอบอาชีพ การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ปริมาณผลผลิตและคุณภาพรังไหมจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับคุณภาพใบหม่อน หม่อนเป็นพืชที่มีอายุนาน 80-100 ปี ถ้าไม่ได้รับความกระทบกระเทือน จากการเก็บเกี่ยวหรือโรค แมลงศัตรู สามารถเจริญได้ดีตั้งแต่เขตอบอุ่นถึงเขตร้อน หม่อนที่เกิดในเขตอากาศหนาว จะหยุดพักไม่เจริญเติบโต นับตั้งแต่ปลายฤดูใบไม้ร่วงจนถึงฤดูใบไม้ผลิ ผลหม่อนสามารถรับประทานได้สารสกัดด้วยเมทานอลจาก กากหม่อนที่เหลือจากการทาน้าผลไม้มีฤทธิ์กาจัดอนุมูลอิสระ ลักษณะของหม่อน 1) ต้นหม่อน เป็นพืชพื้นเมืองของประเทศจีนตอนใต้แถบเทือกเขาหิมาลัย แต่ภายหลังได้มีกรนาเข้ามา ปลูกในอินโดจีน ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ ไทย ฯลฯ โดยจัดเป็นไม้พุ่มขนาดกลางหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก มี ลาต้นตั้งตรง สูงได้ประมาณ 2.5 เมตร บางพันธุ์สูงได้ประมาณ 3-7 เมตร แตกกิ่งก้านไม่มากนัก เปลือกลาต้นเรียบเป็นสีน้าตาลแดง สีขาวปนสีน้าตาล หรือสีเทาปนขาว ส่วนเปลือกรากเป็นสี
  • 8. 8 น้าตาลแดงหรือสีเหลือแดง มีเส้นร้อยแตกที่เปลือกผิว พบได้ทั่วไปในป่าดิบ ในประเทศไทยปลูก กันมากทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) ใบหม่อน ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปไข่ หรือรูปไข่กว้าง ปลายใบแหลม ยาว โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจหรือค่อนข้างตัด ขอบใบเรียบหรือหยักเว้าเป็นพู (ขึ้นอยู่กับสาพันธุ์ที่ ปลูก) ใบอ่อนขอบใบจักเป็นพูสองข้างไม่เท่ากัน ขอบพูจักเป็นซี่ฟัน ใบมีขนาดกว้างประมาณ 8-14 เซนติเมตร และยาวประมาณ 12-16 เซนติเมตร แผ่นใบเป็นสีเขียวเข้มเรียบเงา ท้องใบเป็นสีเขียว อ่อน ใบค่อนข้างหนา หลังใบสากระคายมือ เส้นใบมี 3 เส้น ออกจากโคนยาวไปถึงกลางใบ และ เส้นใบออกจากเส้นกลางใบอีก 4 คู่ เส้นร่างแหเห็ดได้ชัดเจนจากด้านล่าง ก้านใบเรียวเล็ก ยาว ประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร มีหูใบเป็นรูปแถบแคบปลายแหลม ยาวได้ประมาณ 0.2-0.5 เซนติเมตร
  • 9. 9 3) ดอกหม่อน ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบและปลายยอด ดอกเป็นแบบแยกเพศแต่อยู่บนต้นเดียวกัน ลักษณะของดอกเป็นรูปทรงกระบอก ช่อดอกเพศผู้และช่อดอกเพศเมียจะอยู่ต่างช่อกัน ดอกย่อยมี ขนาดเล็ก วงกลีบรวมเป็นสีขาวหม่นหรือเป็นสีขาวแกมสีเขียว ช่อดอกเป็นหางกระรอก ยาวได้ ประมาณ 2 เซนติเมตร ดอกเพศผู้วงกลีบรวมมีแฉก 4 แฉก เกลี้ยง ส่วนดอกเพศเมีย วงกลีบรวมมี แฉก 4 แฉก เกลี้ยง ขอบมีขน เมื่อเป็นผลจะอวบน้า รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียมี 2 อัน 4) ผลหม่อน เป็นผลที่เกิดจากช่อดอก ผลเป็นผลรวมอยู่ในกระจุกเดียวกัน โดยจะออกตามซอกใบ ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกระบอก ยาวประมาณ 1-2.5 เซนติเมตร ผลเป็นสีเขียว เมื่อผลสุกแล้วจะ เปลี่ยนเป็นสีม่วงแดงเข้มหรือสีม่วงดา เกือบดา เนื้อนิ่ม ฉ่าน้า และมีรสหวานอมเปรี้ยว
  • 10. 10 ประโยชน์ของหม่อน 1. ผลสุกมีรสหวานอมเปรี้ยว สามารถนามารับประทานได้ 2. ผลหม่อนมีสาร Anthocyanins ในปริมาณมาก (เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดความเสี่ยงต่อการ เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน โรคมะเร็ง ช่วยต่อต้านอาการขาดเลือดในสมอง ฯลฯ) และยังมี สารสาคัญอื่น ๆ อีกหลายอย่าง เช่น สาร Deoxynojirimycin (ช่วยลดระดับน้าตาลในเลือด), กาบา (ช่วยลดความดันโลหิต), สาร Phytosterol (ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอล), สาร Polyphenols (สาร ต้านอนุมูลอิสระที่มีประโยชน์กับร่างกาย), สารประกอบฟีนอล (สารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยต่อต้าน อาการอักเสบ อาการเส้นเลือดโป่งพอง ช่วยยับยั้งเชื้อแบคทีเรียและไวรัส), สาร Quercetin และสาร Kaempferol ซึ่งเป็นสารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ (เป็นสารที่ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ ความดันโลหิต ป้องกันการเกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือด ช่วยป้องกันการดูดซึมของน้าตาลในลาไส้ เล็ก ช่วยทาให้หลอดเลือดแข็งแรง ทาให้เลือดหมุนเวียนดี ยับยั้งการเกิดสารก่อมะเร็งเม็ดเลือด มะเร็งเต้านม มะเร็งลาไส้ใหญ่ ช่วยยืดอายุเม็ดเลือดขาว และลดอาการแพ้ต่าง ๆ), และยังมีกรดโฟลิ กสูง (ช่วยทาให้เซลล์เม็ดเลือดแดงเจริญได้เต็มที่ จึงช่วยป้องกันโรคโลหิตจาง และยังช่วยทาให้ เซลล์ประสาทไขสันหลังและเซลล์สมองเจริญเป็นปกติได้อีกด้วย) นอกจากนี้ยังมีวิตามินและแร่ ธาตุ และกรดอะมิโนอีกหลายชนิดที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น แคลเซียม ธาตุเหล็ก โพแทสเซียม แมกนีเซียม โซเดียม สังกะสี วิตามินเอ วิตามินบี เป็นต้น (เมื่อผลหม่อนมีระยะสุก เพิ่มขึ้น ปริมาณของสารออกฤทธิ์ดังกล่าวข้างต้นจะมีปริมาณที่เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย) 3. ใบอ่อนและใบแก่สามารถนามาทาเป็นชาเขียว ชาจีน หรือชาฝรั่งชงกับน้าดื่มได้ โดยมีสรรพคุณ ช่วยลดระดับน้าตาลในเลือด ลดไขมันในเลือด ลดความดันโลหิตสูงได้เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันได้มี การแปรรูปใบหม่อนเป็นผลิตภัณฑ์ชา ทั้งชาเขียวและชาดา ที่ใช้ชงกับน้าดื่มเช้าและเย็น 4. ยอดอ่อนใช้รับประทานได้ โดยมักนามาใช้ใส่ในแกงแทนการใช้ผงชูรส หรือใช้รับประทานเป็น อาหารต่างผัก ส่วนชาวอีสานจะนาไปใส่ต้มยาไก่ ต้มยาเป็ด 5. ผลหม่อนสามารถนาไปแปรรูปเป็นอาหารหรือผลิตภัณฑ์ได้หลายอย่าง เช่น แยม เยลลี่ ข้าวเกรียบ ขนมพาย ไอศกรีม นามาแช่อิ่ม ทาแห้ง ลูกอมหม่อน ทาน้าหม่อน เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประเภท ไวน์ หรือไวน์หม่อน เป็นต้น 6. ใบหม่อนเป็นพืชอาหารที่วิเศษสุดสาหรับตัวไหม หนอนไหมที่เจริญเติบโตเต็มที่จะนาโปรตีนที่ได้ จากใบหม่อนไปสร้างเป็นโปรตีนแล้วผลิตเป็นเส้นไหม ซึ่งเส้นไหม จะเป็นวัตถุดิบในการผลิตผ้า ไหมที่มีความสวยงามได้อีกต่อหนึ่ง โดยใบหม่อนประมาณ 108-120 กิโลกรัม สามารถเปลี่ยนเป็น
  • 11. 11 รังไหมพันธุ์ไทยพื้นบ้านได้ประมาณ 10-12 กิโลกรัม (ใบหม่อนมีโปรตีนประมาณ 18-28.8% ของ น้าหนักแห้ง, มีคาร์โบไฮเดรต 42.25%, ไขมัน 4.57%, ใยอาหารและเถ้า 24.03%,) นอกจากนี้ใบ หม่อนยังสามารถนามาใช้เป็นส่วนผสมในอาหารสาหรับสัตว์เอื้องได้บางชนิด และนาไปใช้เลี้ยง ปลาได้อีกด้วย และวัวควายที่กินใบหม่อนจะทาให้มีน้านมเพิ่มขึ้น 7. เนื้อไม้มีสีเหลือง เนื่องจากมีสาร Morin สามารถนามาใช้ย้อมผ้าไหม ผ้าแพรได้ 8. เยื่อจากเปลือกของลาต้นและกิ่งมีเส้นใย สามารถนามาเป็นกระดาษได้สวยงาม เช่นเดียวกับกระดาษ สา 9. ลาต้นและกิ่ง สามารถนามาใช้เป็นไม้ในการสร้างผลิตภัณฑ์บางชนิดได้ 10. นอกจากนี้เรายังสามารถนาต้นหม่อนมาใช้ในการปลูกเพื่อจัดและประดับสวนเพื่อให้มีภูมิทัศน์ที่ดี ได้เมื่อแตกกิ่งใหม่ กิ่งจะย่อยห้อยลงตามแรงโน้มถ่วง ไม่ได้ตั้งตรงขึ้นไปเช่นพันธุ์ไม้อื่น ทาให้ดู เป็นพุ่มสวยงาม และต้นหม่อนยังทนต่อการตัดแต่ง หลังการตัดแต่งแล้วจะมีการแตกกิ่งและ เจริญเติบโตเร็ว
  • 12. 12 จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) เป็นฮอร์โมนพืชที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ ควบคุมการ เจริญเติบโตและมีอิทธิพลต่อกระบวนการทางพัฒนาการรวมทั้งการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออก ดอก การแสดงเพศ การชักนาการสร้างเอนไซม์ รวมทั้งการชราของดอกและผล จิบเบอเรลลินถูกค้นพบครั้ง แรกเมื่อ พ.ศ. 2469 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น Eiichi Kurosawa ผู้ศึกษาโรคบากาเนะในข้าว เริ่มจาก การศึกษาต้นข้าวที่เป็นโรค Bakanae ซึ่งมีลักษณะสูง ผอม เกิดจากเชื้อรา Gibberella fujikuroi และถูกสกัด ออกมาเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2478 โดย Teijiro Yabuta จากเชื้อรา G. fujikuroi เมื่อสกัดสารที่เชื้อรานี้สร้าง ขึ้นไปทดสอบกับพืชชนิดอื่น พบว่าทาให้พืชนั้นๆมีอาการอย่างเดียวกันคือต้นผอม สูง จึงตั้งชื่อสารที่พบนี้ว่า จิบเบอเรลลิน ต่อมามีการพบอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิกจากราอีกหลายชนิด รวมทั้งในพืช ใน พ.ศ. 2546 พบจิบเบอเรลลินแล้ว 126 ชนิดทั้งที่แยกได้จากพืช รา และแบคทีเรีย คุณลักษณะทางเคมีและการสังเคราะห์ จิบเบอเรลลินเป็นสารกลุ่มไดเทอร์พีนอยด์ที่สังเคราะหืโดยวิถึเทอร์พีนอยด์ในพลาสติดแล้วจึง เปลี่ยนรูปในเอนโดพลาสมิก เรกติคิวลัมและไซโตซอลจนได้รูปที่ออกฤทธิ์ในสิ่งมีชีวิตได้จิบเบอเรลลิน ทั้งหมดมีโครงสร้างหลักเป็น ent-gibberellane ที่สังเคราะห์มาจาก ent-kaurene การสังเคราะห์จิบเบอเรลลิน ในพืชชั้นสูงเริ่มจากสร้าง Geranylgeranyl diphosphate (GGDP) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นของสารกลุ่มดีเทอร์พี นอยด์โดยทั่วไป จากนั้นจึงเปลี่ยน GGDP ไปเป็น ent-kaurene แล้วจึงเปลี่ยนเป็น GA12 แล้วจึงเปลี่ยนต่อไป เป็นจิบเบอเรลลินตัวอื่นๆ จิบเบอเรลลินเป็นอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิก (Gibberellic acid) จัดเป็นสาร กลุ่มดีเทอร์พีนอยด์ (Diterpenoid) ปัจจุบันพบแล้วมากกว่า 80 ชนิด ดังตัวอย่าง
  • 13. 13 GA1 GA3 ent-Gibberellane มีจุลินทรีย์หลายชนิดที่สร้างจิบเบอเรลลินได้เช่น แบคทีเรีย ไซยาโนแบคทีเรีย ยีสต์ สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีน้าตาลและสาหร่ายสีแดง รวมทั้งไมคอไรซาในรากกล้วยไม้ในรา วิถีการผลิตจิบเบอเรลลินคล้าย กับพืชชั้นสูง แม้ว่าเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องจะต่างไป ในรากพืชตระกูลถั่วที่เกิดปม มีสารคล้ายจิบเบอเรลลินมา กกว่ารากข้างเคียงที่ไม่เกิดปม Phaseolus lunatus ที่เติมเชื้อ Bradyrhizobium sp. ที่จาเพาะต่อกัน ส่วนปล้อง จะยาวกว่าต้นที่ได้รับเชื้อชนิดเดียวกันแต่ไม่จาเพาะ และพบจิบเบอเรลลินหลายตัวในปมที่มีแบคทีเรียที่ กระตุ้นการยืดยาวของปล้องได้ จิบเบอเรลลินสามารถกระตุ้นการเจริญของแบคทีเรีย (เช่น Azotobactor Pseudomonas) ยีสต์และรา ได้เช่นกัน จิบเบอเรลลินยังสามารถกระตุ้นการตรึงไนโตรเจนและการเจริญเติบโตของ Anabaena ได้ด้วย การออกฤทธิ์ของจิบเบอเรลลิน การออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยาที่สาคัญของจิบเบอเรลลินได้แก่ - กระตุ้นการขยายตัวของเซลล์ โดยการเพิ่มความยืดหยุ่นของผนังเซลล์ ทาให้เซลล์มีรูปร่างยืดยาวขึ้น - กระตุ้นการเจริญของรากโดยเฉพาะการเจริญของรากแรกเกิด (Radicle) รากต้องการจิบเบอเรลลิน ในปริมาณที่น้อยกว่าลาต้น เช่นรากต้องการ GA3 ในระดับนาโนโมลาร์ แต่ยอดต้องการในระดับไม โครโมลาร์
  • 14. 14 - จิบเบอเรลลินมีผลต่อพัฒนาการของดอกโดยเฉพาะพัฒนาการของก้านชูเกสรตัวผู้และกลีบดอก บริเวณที่มีการสร้างจิบเบอเรลลินมากในดอกคือผนังของอับละอองเรณูและในละอองเรณู การสร้าง จิบเบอเรลลินในอับละอองเรณูนี้จะควบคุมพัฒนาการของดอกทั้งหมด - กระตุ้นการติดผล ในพืชหลายชนิด เช่น ส้ม มะเขือเทศ องุ่น การได้รับจิบเบอเรลลินช่วยให้เกิดการ ติดผลโดยไม่ต้องผสมเกสรได้ - กระตุ้นการงอกของเมล็ด แสงสีแดงกระตุ้นการงอกของเมล็ดได้โดยกระตุ้นให้มีการสร้างจิบเบอ เรลลินมากขึ้น และส่งผลต่อการตอบสนองของเนื้อเยื่อต่อจิบเบอเรลลิน พืชบางชนิดเช่น Arabidopsis และผักกาดหอมซึ่งต้องการแสงสว่างในการงอก การเพิ่มจิบเบอเรลลินจะส่งผลต่อการ งอกของพืชเหล่านี้เช่นเดียวกับการได้รับแสงสว่าง - การเปลี่ยนเพศดอก จิบเบอเรลลินช่วยทาให้พืชตระกูลแตงหรือพืชที่แยกดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย เกิดดอกตัวผู้มากขึ้นได้ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพันธุ์พืช - การกระตุ้นการพักตัวของพืช จิบเบอเรลลินช่วยทาลายระยะพักตัวของพืชทั้งการพักตัวของตาและ เมล็ด โดยข่มฤทธิ์ของ ABA ซึ่งทาให้เกิดระยะพักตัว - หลังการงอก จิบเบอเรลลินสนับสนุนการยืดตัวของข้อและการแผ่ขยายของใบ - กระตุ้นการทางานของแคมเบียมในพืชหลายชนิด เช่น แอพริคอด บีโกเนีย และมันฝรั่ง - ควบคุมให้พืชอยู่ในสภาวะอ่อนวัย เช่นการทาให้ใบของ Hedera helix คงอยู่ในสภาพของใบใน ระยะอ่อนวัยซึ่งมีความสวยงามกว่าใบในระยะเต็มวัยพร้อมสืบพันธุ์ได้ - กระตุ้นการออกดอก การได้รับจิบเบอเรลลินสามารถทดแทนความต้องการช่วงแสงยาวในช่วง กลางวันของพืชวันยาว และความต้องการความหนาวเย็นก่อนออกดอกของพืชได้
  • 15. 15 บทที่ 3 การดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. ต้นหม่อน 9 ต้น 2. ป้ายบอกรายละเอียด 9 ป้าย 3. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน ชนิดเม็ด 1 หลอด 50 มิลลิกรัม 4. กระบอกฉีดสารละลายฮอร์โมน 3 กระบอก 5. ขวดใส่สารละลายฮอร์โมน 2 ขวด 6. ถ้วยตวง 1 ถ้วย ขั้นตอนการทาโครงงาน 1. ประชุมวางแผนคัดเลือกชนิดต้นไม้, ชนิดฮอร์โมน และส่วนที่ต้องการศึกษาที่สนใจ ซึ่งคือ การศึกษาผลของฮอร์โมนต่อลักษณะและการเปลี่ยนแปลงของต้นไม้ 2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้ 2.1. ลักษณะของต้นหม่อน 2.2. การดูแลรักษาต้นหม่อน 2.3. ผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 2.4. ความเข้มข้นสารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่เหมาะสมกับต้นหม่อน 3. เลือกใช้ต้นหม่อนกับฮอร์โมนจิบเบอเรลลินในการทดลองสังเกตจานวนใบของต้นหม่อน 4. วางแผนรายละเอียดการทดลอง เพื่อเปรียบเทียบจานวนใบของต้นไม้อันเนื่องมาจากผลของความ เข้มข้นของสารละลายฮอร์โมนที่แตกต่างกันโดยแบ่งเป็น 3 ชุดการทดลองดังนี้ 4.1. ชุด control ไม่ฉีดสารละลายฮอร์โมน 4.2. ชุด low dose ฉีดสารละลายฮอร์โมนความเข้มข้นต่า 0.5% w/v 4.3 ชุด high dose ฉีดสารละลายฮอร์โมนความเข้มข้นสูง 2.5% w/v 5. จัดทาเค้าโครงโครงงาน เพื่อนาเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อนาไปปรับปรุงและแก้ไข 6. หาสถานที่ที่ใช้ในการทาทดลอง 7. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาการทดลองสังเกตจานวนใบของต้นหม่อน 7.1.1. ต้นหม่อน 9 ต้น 7.1.2. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน ชนิดเม็ด 1 หลอด 50 มิลลิกรัม 7.1.3. ถ้วยตวง 1 ถ้วย
  • 16. 16 7.1.4. น้า 7.1.5. ขวดใส่สารละลายฮอร์โมน 2 ขวด 7.1.6. กระบอกฉีดสารละลายฮอร์โมน 3 กระบอก 7.1.7. ป้ายบอกรายละเอียด 9 ป้าย 7.1.8. กระดาษจดบันทึก 8. ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง 8.1. ตอนที่ 1 การเตรียมสารละลายฮอร์โมน 8.1.1. ใช้ฝาของกระบอกฮอร์โมนชนิดเม็ดซึ่งตวงได้ฝาละ 10 มิลลิกรัมในการตวงฮอร์โมน เพื่อมาผสมน้าให้กลายเป็นสารละลาย 8.1.2. ตวงฮอร์โมนชนิดเม็ดมา 2.5 มิลลิกรัม ผสมกับน้าจานวน 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร ทา ให้ได้สารละลายความเข้มข้น 0.5% w/v สาหรับใช้เป็น low dose 8.1.3. ตวงฮอร์โมนชนิดเม็ดมา 12.5 มิลลิกรัม ผสมกับน้าจานวน 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร ทา ให้ได้สารละลายความเข้มข้น 2.5% w/v สาหรับใช้เป็น high dose 8.1.4. น้าสารละลายทั้ง 2 แยกใส่กระบอกฉีด 2 กระบอก และนาที่เหลือเก็บแยกใส่ขวดไว้ เพื่อใช้เติมในกระบอกฉีดในภายหลัง 8.1.5.นาน้าเปล่าใส่กระบอกฉีดที่เหลือ 1 ขวด 8.2. ตอนที่ 2 ดูแลต้นไม้และติดตามผลหลังจากเริ่มการทดลอง 8.2.1. จัดต้นไม้เป็นกลุ่มการทดลอง 3 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ต้น 8.2.2. ทาการฉีดสารละลายฮอร์โมนและน้าเปล่าสาหรับกลุ่มการทดลองที่แตกต่างกันทั้ง 3 กลุ่ม โดยฉีดเป็นประจาสัปดาห์ละ 2 วัน วันละครั้งในช่วงหลังเลิกเรียน 8.2.3. รดน้าดูแลต้นไม้เป็นประจาทุกวัน 8.2.4. จดบันทึกจานวนใบทุกครั้งในวันที่มีการฉีดฮอร์โมน 9. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา 10. จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มและไฟล์นาเสนอโครงงานให้สมบูรณ์
  • 17. 17 บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง วันที่ จานวนใบเฉลี่ยของต้นหม่อนในแต่ละกลุ่ม (ใบ) หมายเหตุ High Dose Low Dose Control ต้นที่ ต้นที่ ต้นที่ 1 2 3 เฉลี่ย 1 2 3 เฉลี่ย 1 2 3 เฉลี่ย 8 มิถุนายน 2560 17 16 15 16 16 14 15 15 16 14 18 16 เริ่มต้นการทดลอง 13 มิถุนายน 2560 16 15 14 15 16 14 15 15 16 14 18 16 15 มิถุนายน 2560 16 15 14 15 16 14 15 15 16 14 18 16 20 มิถุนายน 2560 15 14 13 14 17 15 16 16 15 14 16 15 22 มิถุนายน 2560 14 13 12 13 17 15 16 16 15 14 16 15 27 มิถุนายน 2560 13 12 11 12 18 17 16 17 14 13 15 14 29 มิถุนายน 2560 11 12 10 11 18 17 16 17 14 13 15 14 4 กรกฎาคม 2560 10 11 9 10 18 17 16 17 14 13 15 14 6 กรกฎาคม 2560 10 11 9 10 18 17 16 17 14 13 15 14 11 กรกฎาคม 2560 9 9 9 9 19 17 18 18 13 12 14 13 13 กรกฎาคม 2560 9 9 9 9 19 17 18 18 13 12 14 13 17 กรกฎาคม 2560 8 7 9 8 19 17 18 18 13 12 14 13 19 กรกฎาคม 2560 8 7 9 8 20 19 18 19 12 11 13 12 24 กรกฎาคม 2560 7 6 8 7 20 19 18 19 12 11 13 12 27 กรกฎาคม 2560 7 6 8 7 21 20 19 20 12 11 13 12 31 กรกฎาคม 2560 7 6 8 7 21 20 19 20 12 11 13 12 สิ้นสุดการทดลอง
  • 18. 18 กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง กราฟเส้นแสดงผลการทดลอง 0 5 10 15 20 25 8/6/60 20/6/60 29/6/60 11/7/60 19/7/60 31/7/60 จำนวนใบเฉลี่ย(ใบ) วันที่ทำกำรบันทึกผล High Dose Low Dose Control 0 5 10 15 20 25 8/6/60 15/6/60 22/6/60 29/6/60 6/7/60 13/7/60 19/7/60 31/7/60 จำนวนใบเฉลี่ย(ใบ) วันที่ทำกำรบันทึกผล High Dose Low Dose Control
  • 19. 19 วิเคราะห์ผลการทดลอง ต้นหม่อนกลุ่ม High Dose ที่ได้รับฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีความเข้มข้นสูงกว่ากลุ่มอื่น พบว่าใบ ของต้นหม่อนเริ่มร่วงเร็วกว่ากลุ่มการทดลองอื่นๆ ต้นหม่อนกลุ่ม Low Dose ได้รับฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีความเข้มข้นในระดับที่พอดี พบว่าใบ ของต้นหม่อนเริ่มเพิ่มปริมาณขึ้นอย่างต่อเนื่อง ต้นหม่อนกลุ่ม Control ที่ไม่ได้รับฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน พบว่าใบร่วงตามปกติ ไม่มีอัตราการเพิ่ม หรือลดให้เห็นอย่างเด่นชัด บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สรุปผลการทดลอง ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin) มีผลต่อการเจริญของใบในพืช ซึ่ง ต้นหม่อนกลุ่ม Low dose จะ มีจานวนใบเหลือมากที่สุด รองลงมาคือกลุ่ม Control และกลุ่ม High dose เนื่องจากกลุ่ม Low dose มีปริมาณ ของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin) ที่พอดี ไม่มากเกินไป ลาให้ต้นยืด มีตาแตกใบมากขึ้น กลุ่ม Control มีความเข้มข้นของฮอร์โมน 0% w/v ซึ่งเปรียบเสมือนรดนา้้ปกติ จึงมีจานวนใบปานกลาง ส่วน กลุ่ม High dose มีความเข้มข้นของฮอร์โมนมากเกินไป ในช่วงแรกต้นยังยืด แต่พอเวลาผ่านไปใบก็ร่วง ทา ให้มีจานวนใบน้อยที่สุด ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เวลาให้ฮอร์โมนแต่ละกระบอกฉีดซึ่งมีความเข้มข้นต่างกันแก่กลุ่มพืชแต่ละกลุ่มควรฉีดในระยะที่ พอดีไม่ให้ฮอร์โมนที่มีความเข้มข้นหนึ่งไปโดนพืชอีกกลุ่มความเข้มข้นหนึ่ง
  • 20. 20 บรรณานุกรม นิดดา หงส์วิวัฒน์.หม่อน.2559. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/หม่อน [ 31 กรกฎาคม 2560 ]. ผศ.ดร.เภสัชกรหญิง สุดารัตน์ หอมหวล.หม่อน.2553. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=125 [ 31 กรกฎาคม 2560 ]. หม่อน สรรพคุณและประโยชน์ของต้นหม่อน ใบหม่อน.2557.[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา https://medthai.com/หม่อน/ [ 31 กุมภาพันธ์ 2559 ]. สวนพฤกษศาสตร์คลองไผ่.2554. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.rspg.or.th/plants_data/kp_bot_garden/kpb_20-3.htm [ 31 กุมภาพันธ์ 2559 ]. สถาพร ดียิ่ง.ฮอร์โมนพืช.2559. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/จิบเบอ เรลลิน [ 31 กรกฎาคม 2560 ]. วันทนี สว่างอารมณ์.การเจริญและการเติบโตของพืช.2558. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.rakbankerd.com/agriculture/page.php?id=8183&s=tblplant [ 31 กรกฎาคม 2560 ]. gibberellins.2557. [ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา http://www.student.chula.ac.th/~56370053/gibberellins.html [ 31 กุมภาพันธ์ 2559 ].
  • 25. 25 รูปแสดง การติดตามผลการดาเนินโครงงานฮอร์โมนครั้งที่ 1 รูปแสดง การติดตามผลการดาเนินโครงงานฮอร์โมนครั้งที่ 2