SlideShare a Scribd company logo
หน่วยที่ 2
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ประพจน์
ประพจน์ คือ ประโยคหรือข้อความที่เป็นจริงหรือเท็จ อย่างใด
อย่างหนึ่งเท่านั้น ประโยคหรือข้อความที่มีลักษณะดังกล่าว จะอยู่
ในรูปบอกเล่าหรือปฏิเสธก็ได้
ตัวอย่าง จงพิจารณาประโคต่อไปนี้ว่าเป็นประพจน์หรือไม่
1. c  {a , b , c}
2. 5 + 3  8
3. 2 เป็นคาตอบของสมการ 2y = 4
4. อย่าเดินลัดสนาม
5. { 2 , 3 } = { a , b }
เป็นประพจน์
เป็นประพจน์
เป็นประพจน์
ไม่เป็นประพจน์
เป็นประพจน์
6.   { 1 , 2 , 3 }
7. 3 เป็นตัวประกอบของ 25
8. -2 เป็นคาตอบของสมการ 2x+1 = 9 หรือไม่
9. กรุณาเปิดหน้าต่างด้วย
10. ฝนตกหรือเปล่า
เป็นประพจน์
เป็นประพจน์
ไม่เป็นประพจน์
ไม่เป็นประพจน์
ไม่เป็นประพจน์
การเชื่อมประพจน์
ในวิชาคณิตศาสตร์หรือในชีวิตประจาวัน จะพบประโยค
ที่ได้จากการเชื่อมประโยคอื่น ๆ ด้วยคาว่า “และ” “ หรือ ”
“ ถ้า ... แล้ว ... ” “ก็ต่อเมื่อ” หรือพบประโยคซึ่งเปลี่ยนแปลง
จากประโยคเดิมโดยเติมคาว่า “ไม่” คาเหล่านี้เรียกว่า ตัวเชื่อม
เพื่อสะดวกในการศึกษาเกี่ยวกับการเชื่อมประพจน์ จะใช้
อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก เช่น p , q , r , s , … แทน
ประพจน์ที่นามาเชื่อมกัน ค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อม
ย่อมขึ้นกับจานวนประพจน์ที่นามาเชื่อมกัน ซึ่งสามารถพิจารณา
ค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมด โดยใช้ T แทน จริง และ
ใช้ F แทน เท็จ
ถ้ามีปะพจน์เดียว คือ p จะมีกรณีเกี่ยวกับค่าความจริง
ที่เกิดขึ้นได้ 2 กรณี คือ จริง ( T ) หรือ เท็จ ( F )
p q
T T
T F
F T
F F
p q
T
F
T
F
T
F
ถ้ามีสองประพจน์ คือ p และq จะมีกรณีเกี่ยวกับ
ค่าความจริงที่เกิดขึ้นได้ทั้งหมด 4 กรณี ดังนี้
การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “และ”
ในการเชื่อมประพจน์ด้วย “ และ” มีข้อตกลงว่าประพจน์
ใหม่ จะเป็นจริงในกรณีที่ประพจน์ที่นามาเชื่อมกันนั้นเป็นจริง
ทั้งคู่ กรณีอื่น ๆ เป็นเท็จทุกกรณี
p หรือ q เขียนแทนด้วย p  q
p q p  q
T T T
T F F
F T F
F F F
ตารางค่าความจริงของ p  q
การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “หรือ”
p หรือ q เขียนแทนด้วย p  q
ในการเชื่อมประพจน์ด้วย “หรือ” มีข้อตกลงว่าประพจน์ใหม่
จะเป็นเท็จ ในกรณีที่ประพจน์ที่นามาเชื่อมกันนั้นเป็นเท็จทั้งคู่
กรณีอื่น ๆ เป็นจริงทุกกรณี
p q p  q
T T T
T F T
F T T
F F F
ตารางค่าความจริงของ p  q
ถ้า p แล้ว q เขียนแทนด้วย p  q
การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ถ้า ... แล้ว ...”
ประพจน์ซึ่งตามหลังคาว่า ถ้า เรียกว่า เหตุ
ส่วนประพจน์ซึ่งตามหลังคาว่า แล้ว เรียกว่า ผล
ในการเชื่อมประพจน์ด้วย “ถ้า ... แล้ว ...” มีข้อตกลงว่า
ประพจน์ใหม่จะเป็นเท็จ ในกรณีที่เหตุเป็นจริง และ ผล เป็นเท็จ
เท่านั้น กรณีอื่น ๆ เป็นจริงทุกกรณี
p q p  q
T T T
T F F
F T T
F F T
ตารางค่าความจริงของ p  q
การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ก็ต่อเมื่อ”
ในการเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ก็ต่อเมื่อ” มีข้อตกลงว่า ประพจน์ใหม่
จะเป็นจริง ในกรณีที่ประพจน์ที่นามาเชื่อมกันนั้นเป็นจริงด้วยกันทั้งคู่
หรือเป็นเท็จด้วยกันทั้งคู่เท่านั้นกรณีอื่น ๆ เป็นเท็จเสมอ
p ก็ต่อเมื่อ q เขียนแทนด้วย p  q
p q p  q
T T T
T F F
F T F
F F T
ตารางค่าความจริงของ p  q
นิเสธของประพจน์
นิเสธของประพจน์ p คือ ประพจน์ที่มีค่าความจริงตรงกันข้ามกับ
ประพจน์ p
นิเสธของประพจน์ p เขียนแทนด้วย p
ตารางค่าความจริงของ p
P p
T F
F T
1. 5 เป็นจานวนนับ และ 7 เป็นจานวนเต็ม
ตัวอย่าง จงเขียนประพจน์ต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์ และหาค่าความจริง
ของแต่ละประพจน์
วิธีทา ให้ p แทน 5 เป็นจานวนนับ (T)
และ q แทน 7 เป็นจานวนเต็ม (T)
จะได้p  q แทน 5 เป็นจานวนนับ และ 7 เป็นจานวนเต็ม
(T)
2. 5+2 = 10 หรือ 3 < 1
วิธีทา ให้ p แทน 5+2 = 10 (F)
จะได้p  q แทน 5+2 = 10 หรือ 3 < 1 (F)
และ q แทน 3 < 1 (F)
3. ถ้า 2 เป็นจานวนคู่ แล้ว 2 + 7  9
วิธีทา ให้ p แทน 2 เป็นจานวนคู่ (T)
และ q แทน 2 + 7  9 (F)
จะได้p  q แทน 5+2 = 10 หรือ 3 < 1 (F)
4. 15 เป็นจานวนเฉพาะ ก็ต่อเมื่อ 15 เป็นจานวนคี่
วิธีทา ให้ p แทน 15 เป็นจานวนเฉพาะ (F)
และ q แทน 15 เป็นจานวนคี่ (T)
จะได้p  q แทน 15 เป็นจานวนเฉพาะ ก็ต่อเมื่อ 15 เป็นจานวนคี่ (F)
(F)
ตัวอย่าง จงหานิเสธของประพจน์ต่อไปนี้ และบอกค่าความจริง
ของประพจน์ที่เป็นนิเสธ
1. 5 + 9 17
นิเสธ ของ 5 + 9 17 คือ 5 + 9 17 (T)
หรือ 5 + 9 17 (T)
2. { 1 , 2} = { 4 , 5}
นิเสธ ของ { 1 , 2} = { 4 , 5} คือ { 1 , 2}  { 4 , 5} (T)
3. 10 เป็นจานวนเต็มบวก
นิเสธ ของ10 เป็นจานวนเต็มบวก คือ 10 ไม่เป็นจานวนเต็มบวก (F)
4. {2 , 5}
นิเสธ ของ {2 , 5} คือ {2 , 5} (F)
5. 2 ไม่เป็นจานวนเฉพาะ
นิเสธ ของ 2 ไม่เป็นจานวนเฉพาะ คือ 2 เป็นจานวนเฉพาะ (T)
การหาค่าความจริงของประพจน์
หมายเหตุ
การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมตั้งแต่สองตัวขึ้นไป
จะหาค่าความจริงของประพจน์ย่อยในวงเล็บก่อน แต่ถ้าประพจน์นั้น
ไม่ได้ใส่วงเล็บให้หาค่าความจริงของตัวเชื่อม “” ก่อนแล้วจึงหา
ค่าความจริงของตัวเชื่อม “” , “” จากนั้นจึงหาค่าความจริงของ
ตัวเชื่อม “” และลาดับสุดท้ายเป็นการหาค่าความจริงของตัวเชื่อม
“”
1. (p  s)  t
ตัวอย่าง กาหนดให้ p , q , r , s และ t มีค่าความจริง
เป็นจริง เท็จ จริง เท็จ และ เท็จ ตามลาดับ
จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
วิธีทา ( p  s )  t
T F
F
F
F
ดังนั้น (p  s)  t มีค่าความจริงเป็นเท็จ
2. (p  s)  (q  r)
วิธีทา ( p  s )  ( q  r )
T F F T
T T
T
ดังนั้น (p  s)  (q  r) มีค่าความจริงเป็นจริง
3. [ (r  s)  p]
วิธีทา [  ( r  s )  p ]
T F
T
F
F
F
T
. ดังนั้น [ (r  s)  p] มีค่าความจริงเป็นจริง
4. [(pq)(tr)]s
วิธีทา [ ( p  q )  ( t  r ) ]  s
T F F T F
F T
F
T
ดังนั้น [(pq)(tr)]s มีค่าความจริงเป็นจริง
การสร้างตารางค่าความจริง
ถ้ามีประพจน์สามประพจน์ คือ p , q และ r มีกรณีเกี่ยวกับค่า
ความจริงที่จะพิจารณา ทั้งหมด 8 กรณี ดังนี้
p q r
T T T
T T F
T F T
T F F
F T T
F T F
F F T
F F F
p rq
T
F
T
F
F
T
T
T
T
F
F
F
F
T
ตัวอย่าง จงสร้างตารางแสดงค่าความจริงของรูปแบบของประพจน์
ต่อไปนี้
1. ( p  q ) ( pq )
วิธีทา p q
T T
T F
F T
F F
pq pq
T T
T F
T T
F T
(pq)  (pq)
T
F
T
F
วิธีทา
2. (pq)  p
p q
T T
T F
F T
F F
pq
T
F
T
T
(pq)  p
T
F
F
F
วิธีทา
3. p  (p  q)
p q
T T
T F
F T
F F
pq
T
T
T
F
p  (p  q)
T
T
F
F
4. (p  q)  q
วิธีทา
p q
T T
T F
F T
F F
pq
T
F
F
F
(p  q)  q
T
F
T
F
(p  q)
F
T
T
T
5. p  ( q  r )
วิธีทา
p q r
T T T
T T F
T F T
T F F
F T T
F T F
F F T
F F F
q  r
T
F
T
T
T
F
T
T
p  ( q  r )
T
T
T
T
T
F
T
T
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม
รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน
ในวิชาตรรกศาสตร์ ถ้ารูปแบบของประพจน์สองรูปแบบใด
มีค่าความจริงตรงกันกรณีต่อกรณี แล้วจะสามารถนาไปใช้แทนกันได้
เรียกสองรูปแบบของประพจน์ดังกล่าวว่าเป็น รูปแบบประพจน์ที่
สมมูลกัน
ตัวอย่าง จงตรวจสอบดูว่ารูปแบบของประพจน์ในข้อใดบ้างสมมูลกัน
1. (p) กับ p
วิธีทา p p
T F
F T
(p)
T
F
ดังนั้น (p) สมมูลกับ p
หรือ (p) p
2. p  q กับ q  p
วิธีทา p q
T T
T F
F T
F F
pq qp
T T
T T
T T
F F
ดังนั้น p  q กับ q  p
หรือ p  q  q  p
3. (p  q) กับ p  q
วิธีทา
p q
T T
T F
F T
F F
p q
F F
F T
T F
T T
p  q (p  q)
T F
F T
F T
F T
p  q
F
T
T
T
ดังนั้น (p  q) กับ p  q
หรือ (p  q)  p  q
ตัวอย่าง “รูปแบบของประพจน์ (ก) เป็นนิเสธของรูปแบบของประพจน์ (ข)
เมื่อค่าความจริงของรูปแบบของประพจน์ (ก) ต่างกับค่าความจริงของ
รูปแบบของประพจน์ (ข) ทุกกรณี”

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตPoochai Bumroongta
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
Atar Tharinee
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
จูน นะค่ะ
 
ปลุกจิตคณิต ม.4 - ตรรกศาสตร์
ปลุกจิตคณิต ม.4 - ตรรกศาสตร์ปลุกจิตคณิต ม.4 - ตรรกศาสตร์
ปลุกจิตคณิต ม.4 - ตรรกศาสตร์
photmathawee
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
Chokchai Taveecharoenpun
 
เซต
เซตเซต
เซต
KruGift Girlz
 
คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย Khmer Loanwords in Thai
คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย Khmer Loanwords in Thaiคำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย Khmer Loanwords in Thai
คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย Khmer Loanwords in Thai
snangwork
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
จูน นะค่ะ
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
Chokchai Taveecharoenpun
 
สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]
สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]
สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]aon04937
 
เซต (Sets)
เซต (Sets)เซต (Sets)
เซต (Sets)
Tum Anucha
 
โปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซีโปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซี
finverok
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
จูน นะค่ะ
 

What's hot (18)

เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
 
ความหมายตรรกศาสตร์1
ความหมายตรรกศาสตร์1ความหมายตรรกศาสตร์1
ความหมายตรรกศาสตร์1
 
ปลุกจิตคณิต ม.4 - ตรรกศาสตร์
ปลุกจิตคณิต ม.4 - ตรรกศาสตร์ปลุกจิตคณิต ม.4 - ตรรกศาสตร์
ปลุกจิตคณิต ม.4 - ตรรกศาสตร์
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย Khmer Loanwords in Thai
คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย Khmer Loanwords in Thaiคำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย Khmer Loanwords in Thai
คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย Khmer Loanwords in Thai
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]
สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]
สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]
 
Nice1
Nice1Nice1
Nice1
 
เซต (Sets)
เซต (Sets)เซต (Sets)
เซต (Sets)
 
โปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซีโปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซี
 
M4 1-เซต
M4 1-เซตM4 1-เซต
M4 1-เซต
 
Function
FunctionFunction
Function
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 

Similar to Logic

การเชื่อมประพจน์
การเชื่อมประพจน์การเชื่อมประพจน์
การเชื่อมประพจน์พัน พัน
 
9789740329909
97897403299099789740329909
9789740329909
CUPress
 
Logicc
LogiccLogicc
Logicc
RawichW
 
Logic
LogicLogic
All m4
All m4All m4
All m4
RawichW
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53GiveAGift
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
จูน นะค่ะ
 
31201mid531
31201mid53131201mid531
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
บ.ชีทราม จก.
 
31201final531
31201final53131201final531

Similar to Logic (20)

Logic game
Logic gameLogic game
Logic game
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
 
การเชื่อมประพจน์
การเชื่อมประพจน์การเชื่อมประพจน์
การเชื่อมประพจน์
 
9789740329909
97897403299099789740329909
9789740329909
 
Logicc
LogiccLogicc
Logicc
 
ค่าความจริงของประพจน์
ค่าความจริงของประพจน์ค่าความจริงของประพจน์
ค่าความจริงของประพจน์
 
ค่าความจริงของประพจน์
ค่าความจริงของประพจน์ค่าความจริงของประพจน์
ค่าความจริงของประพจน์
 
Logic
LogicLogic
Logic
 
All m4
All m4All m4
All m4
 
Logic content
Logic contentLogic content
Logic content
 
Logic content
Logic contentLogic content
Logic content
 
Key o net-math6-y53
Key o net-math6-y53Key o net-math6-y53
Key o net-math6-y53
 
Key o net53math
Key o net53mathKey o net53math
Key o net53math
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53
 
Key o net53math
Key o net53mathKey o net53math
Key o net53math
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
 
31201mid531
31201mid53131201mid531
31201mid531
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
31201final531
31201final53131201final531
31201final531
 

Logic