SlideShare a Scribd company logo
การปรับเปลี่ยนพยัญชนะคายืมภาษาเขมรในภาษาไทย:
วิเคราะห์ตามแนวทฤษฎีอุตมผล
The consonant adaptation of Khmer Loanwords in
Thai: Based on the Optimality Theory
ผู้วิจัย นายจุม สุนนาง (Chom Sonnang)
นิสิตปริญญาเอก สาขาวิชาภาษาไทย
คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์
ผศ.ดร. ธนานันท์ ตรงดี ประธานกรรมการ
ผศ.ดร. บัญญัติ สาลี กรรมการ
ผศ.ดร. ราชันย์ นิลวรรณาภากรรมการ
สอบป้องกันวิทยานิพนธ์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม11 กรกฎาคม 2558
ความเป็นมาของปัญหา
1. กาญจนา นาคสกุล (2502), Warasarin (1984), เปรมินท์ คารวี (2539),
Michel ANTELME (1996)
2. การศึกษาไม่ได้ลงลึกเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนของเสียงพยัญชนะของคายืม
เน้นที่การจาแนกคายืม และวิเคราะห์ปัจจัยการยืมคา การสร้างคาของคายืม
และการเปลี่ยนแปลงรูปคายืม
3. การใช้ทฤษฏีในการศึกษาที่ผ่านมา ไม่สามารถอธิบายการปรับเปลี่ยนเสียงใน
คายืมได้ครอบคลุม และมีข้อจากัดค่อนข้างมาทาให้พบข้อยกเว้นหลายข้อ
เมื่ออธิบายไม่ได้
4. ทฤษฎีอุตมผล การปรับปรุงข้อจากัดของไวยากรณ์ปริวรรต
จุดมุ่งหมาย
1. เพื่อศึกษาการปรับเปลี่ยนของเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยวของคายืมภาษาเขมรใน
ภาษาไทย
2. เพื่อศึกษาการปรับเปลี่ยนของเสียงพยัญชนะต้นควบกลาของคายืมภาษา
เขมรในภาษาไทย
3. เพื่อศึกษาการปรับเปลี่ยนของเสียงพยัญชนะท้ายของคายืมภาษาเขมรใน
ภาษาไทย ด้วยการใช้ทฤษฎีอุตมผล
ขอบเขตของการวิจัย
1. เก็บรวบรวมข้อมูลคาศัพท์จากงานวิจัยจากงานของ Warasarin (1984)
กาญจนา นาคสกุล และเปรมินทร์ คาราวี
2. ข้อมูลคาศัพท์คายืมภาษาเขมรที่ใช้ในภาษาไทยที่นามาวิเคราะห์ จานวน 1,124
คา (คาที่ยังใช้ในภาษาไทยปัจจุบัน)
3. ศึกษาการปรับเปลี่ยนเสียงพยัญชนะในตาแหน่งต้นพยางค์และท้ายพยางค์
3. วิเคราะห์การปรับเปลี่ยนตามแนวทฤษฎีอุตมผล
อุตมผล (OT) เป็นทฤษฎีที่พัฒนาบนพืนฐานไวยากรณ์ปริวรรต (GG)
ทฤษฎีที่เลือกใช้ในการวิเคราะห์
GG ใช้กฎในการอธิบายการปรับเปลี่ยนเสียงในภาษา
A → B / A_C (อ่านว่า A กลายเป็น B เมื่อ A อยู่ข้างหน้า C)
A เป็นรูปลึก B เป็นรูปผิว
ตัวอย่างการปรับเปลี่ยนของพยัญชนะ l (ล) ของภาษาไทยในตาแหน่ง
ท้ายพยางค์
รูปคาระดับลึก รูปคาระดับผิว
A → B
กล kol → kon
ชล chol → chon
กาล ka:l → ka:n
- ในคา กล, ชล, และ กาล มีพยัญชนะ ล ในตาแหน่งท้ายพยางค์
- พยัญชนะ ล ในคาดังกล่าวถูกปรับ หรือออกเสียงเป็น น n
- พยัญชนะ ล ในคาดังกล่าวนาหน้าด้วยสระ o a:
ดังนัน การปรับเปลี่ยนเช่นนี สามารถเขียนเป็น กฎ ตาม
ไวยากรณ์ปริวรรต ดังต่อไปนี
l → n / v_n
อธิบายว่า l กลายเป็น n ในกรณีที่ l นาหน้าด้วยสระ หรือ l
กลายเป็น n เมื่อ l อยู่ในตาแหน่งท้ายพยางค์
(Kager. 1999 : 8)
ทฤษฎีอุตมผล
จากแผนภาพ
- หน่วยรับเข้า (input) เป็นรูปลึก หนึ่งหน่วยสามารถสร้าง (generate) เป็นคู่แข่ง
คัดเลือกได้หลายตัว
- คู่แข่งคัดเลือก (candidate) a b c d… สร้างจากหน่วยรับเข้า
- เงื่อนไขบังคับ (constraint) c1 c2… cn มีหน้าที่คัดเลือก a b c d…
- หน่วยส่งออก เป็นคู่แข่งคัดเลือกที่ได้รับการคัดเลือก เรียกว่า อุตมผล (Optimal
Candidate) และตัวใดได้ละเมิดเงื่อนไขบังคับที่สูงกว่าจะถูกตัดออก
จากแผนภาพ
- หน่วยรับเข้า sdaw เป็นรูปลึก หนึ่งหน่วยสามารถสร้าง เป็นคู่แข่งคัดเลือก sdaw,
daw, sa daw, dsa ….
- เงื่อนไขบังคับ *sd , Dep, ….cn มีหน้าที่คัดเลือก sdaw, daw, sa daw, dsa ….
- หน่วยส่งออก sa daw ที่ได้รับการคัดเลือก เรียกว่า อุตมผล (Optimal
Candidate) และตัวใดได้ละเมิดเงื่อนไขบังคับที่สูงกว่าจะถูกตัดออก
คุณลักษณะต่าง ๆ ของเงื่อนไขบังคับ มีดังต่อไปนี
- ความขัดแย้ง
- ความเป็นสากล
- ถูกละเมิดได้
เงื่อนไขบังคับแบ่งเป็น 2 ประเทศ คือ
- เงื่อนไขบังคับแปลกเด่น
- เงื่อนไขบังคับตรง
คุณลักษณะและประเภทของเงื่อนไขบังคับ
ตัวอย่างข้อกาหนดของเงื่อนบังคับแปลกเด่น
• สระไม่มีเสียงนาสิก
• พยางค์ไม่ต้องมีพยัญชนะท้าย
• พยัญชนะอ็อบสตรูอันต์ต้องเป็นเสียงอโฆษะในตาแหน่งท้ายพยางค์
• ซอนอรันต์ต้องเป็นเสียงโฆษะ
• พยางค์ต้องมีพยัญชนะต้น
• อ็อบสตรูอันต์ต้องเป็นเสียงโฆษะเมื่อตามโดยเสียงนาสิก
(Kager. 1999 : 9)
ตัวอย่างข้อกาหนดของเงื่อนบังคับตรง
• หน่วยส่งออกต้องคงไว้หน่วยแยกส่วนที่ปรากฏในหน่วยรับเข้า
• การเรียงลาดับหน่วยแยกส่วนในหน่วยส่งออกและในหน่วยรับเข้าตรงกัน
• หน่วยแยกส่วนในหน่วยส่งออกต้องมีหน่วยปฏิภาคจากหน่วยรับเข้า
• หน่วยแยกส่วนในหน่วยรับเข้าและในหน่วยส่งออกต้องมีลักษณ์เด่นจาแนก
[voice] ตรงกัน (Kager. 1999 : 10)
ตารางวิเคราะห์
เครื่องหมายจากตารางวิเคราะห์
-  เป็นรูปลึก หนึ่งหน่วยสามารถสร้าง (generate) เป็นคู่แข่งคัดเลือกได้หลายตัว
- * เป็นจานวนการละเมิดข้อกาหนดของเงื่อนไขบังคับของคู่แข่งคัดเลือก
- *! เป็นการละเมิดข้อกาหนดของเงื่อนไขบังคับอย่างร้ายแรงและถูกตัดออก (severe violation)
- ≫ บอกความเหนือกว่าระหว่างเงื่อนไขบังคับ (domination)
- ความเหนือกว่าของเงื่อนไขบังคับเริ่มจากซ้ายไปขวา c1 อยู่อันดับหนึ่ง และ c2 อยู่อันดับสอง c1 ≫ c2
ตารางวิเคราะห์
c1 C2
(a) คู่แข่งคัดเลือก a *!
(b) คู่แข่งคัดเลือก b *
(Kager. 1999 : 13)
ทฤษฎีอุตมผลใช้ตารางแสดงการวิเคราะห์
ตัวอย่างการปรับเปลี่ยนของ l เป็น n ในตาแหน่งท้ายพยางค์
- ลักษณ์เด่นจาแนก l และ n คือ [+lat] และ [-lat] ตามลาดับ ([+lat] ปล่อยข้าง
ลิน ; [-lat] ไม่ปล่อยข้างลิน) ดังนันการเปลี่ยนจาก [+lat] เป็น [-lat] ขัดกับ
ข้อกาหนดของเงื่อนไขบังคับตรง Ident-IO(lat) ที่ห้ามเปลี่ยนลักษณ์เด่นจาแนก
- ในระบบพยางค์ (phonotactic) ของภาษาไทยไม่อนุญาต l อยู่ในตาแหน่งท้าย
พยางค์ ซึ่งตรงกับเงื่อนไขบังคับแปลกเด่น *l ที่ว่า ไม่มีในตาแหน่งท้ายพยางค์
- ดังนัน ได้เงื่อนไขบังคับสองตัวใช้ในการวิเคราะห์การปรับเปลี่ยนดังกล่าว คือ
Ident-IO(lat) และ *l
- *l ≫ Ident-IO(lat) (เงื่อนไขบังคับ *l อยู่สูงกว่าเงื่อนไขบังคับ Ident-IO(lat))
คาอธิบาย
- หน่วยรับเข้า ka:l ได้สร้างเป็นคู่แข่งคัดเลือกสองตัว คือ ka:l และ ka:l ต่างด้วย
(a) และ (b) ตามลาดับ
- (a) ได้ละเมิดข้อกาหนดของ *l ซึ่งเป็นเงื่อนไขบังคับที่เหนือกว่า ดังนัน (a) ถูกตัด
ออก หรือไม่ผ่าน (การละเมิดในลักษณะนีต่างด้วยเครื่องหมาย *! )
- (b) ได้ทาตามข้อกาหนดของ *l จึงถูกคัดเลือก แม้ได้ละเมิด Ident-IO(lat) ซึ่ง
เป็นเงื่อนไขบังคับอ่อนกว่า
ตารางวิเคราะห์
ka:l *l IDENT-IO(lat)
(a) ka:l *!
(b)  ka:n *
GG
l → n / v_n
OT
l → candidate1, 2, 3 ,4….n → constraint1, 2, 3, …n → n
หลังจากการวิเคราะห์ การปรับเปลี่ยน l → n โดยใช้วิธีการชองทังสองทฤษฎี
สามารถสรุปผล ได้ดังนี
การปรับเปลี่ยนพยัญชนะต้นเดี่ยว
พยัญชนะต้นเดี่ยวแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ ซอนอรันต์ และ อ็อบสตรูอันต์
ซอนอรันต์(พยัญชนะก้อง ลากเสียงยาวได้)
พบว่าพยัญชนะในกลุ่มนี มีบางเสียงยังคงไว้ลักษณะเดิม ดังนี
→
แต่บางพยัญชนะมีทัง 2 คือคงไว้ และได้รับการปรับเปลี่ยน ดังนี
ɲ → j แยก
m → m, l มะแม, ละเมอ
r → r, khr, kr, k, l, s รุก คราด กระอักกระอ่วน กะลา ลาดวน สาออย
w → w, f, ph วัด ฝูง พบ
ผลการวิเคราะห์
อ็อบสตรูอันต์(พยัญชนะเสียงไม่ก้อง เสียงกัก ลากเสียงยาวไม่ได้)
พบว่าพยัญชนะในกลุ่มนี มีบางเสียงยังคงไว้ลักษณะเดิม ดังนี
Ɂ → Ɂ
แต่บางพยัญชนะมีทัง 2 คือคงไว้ และได้รับการปรับเปลี่ยน ดังนี
s → s, ch ส ด, ชาแหละ
h → ŋ สง
p → ph, f, pr พ็ญ โปง ฟอง ป ะคด
b → b, p ก ปิด
t → t, k, ch ตอ ก ก ะทุง ทู
d → t
• c → ch, s จอง
• ชิง
การปรับเปลี่ยนของพยัญชนะ ɲ
เขมร ไทย ความหมาย
(a) ɲɛk แยก jɛ:k to separate, divide
(b) ɲom โยม jo:m parent (in Buddhist)
(c) ɲuh ɲɔŋ ยุยง ju joŋ to incite
(d) ɲɔh เยาะ jɔɁ to make fun of
(e) ɲɔ: ยอ jɔ: Morinda citrifolia
จากตัวอย่างคา พยัญชนะ ɲ ในคายืมภาษาเขมรถูกปรับเปลี่ยนเป็นพยัญชนะ j
ในภาษาไทย
- พยัญชนะเสียงนาสิกที่เพดานแข็ง ɲ เป็นพยัญชนะที่ไม่ปรากฏในระบบเสียง
ภาษาไทย จึงได้เงื่อนไขบังคับ *ɲ หนึ่งข้อที่ห้ามพยัญชนะเสียงนีเข้ามาในภาษา
- ถึง ɲ ไม่มีในภาษา แต่ภาษาไม่ได้ตัดทิงพยัญชนะนี การตัดทังจะขัดกับ Max-IO
ที่ห้ามลบส่วนใดส่วนหนึ่งในหน่วยส่งออก
ตัวอย่างการวิเคราะห์การปรับเปลี่ยนพยัญชนะต้นเดียว
- การปรับเปลี่ยนเสียงนาสิกมาให้เป็นเสียงไม่นาสิก (ɲ เป็น j) ได้ขัดกับเงื่อนไข
บังคับตรง Ident-IO ที่กาหนดไม่ให้มีการปรับเปลี่ยนลักษณะต่าง ๆ ของเสียง
ดังนันในการพิจารณาการปรับเปลี่ยนของพยัญชนะ ɲ จะมีเงื่อนไขบังคับจานวน
3 ข้อ *ɲ , MAX-IO และ IDENT-IO(nasal) ซึ่งจะเรียงลาดับได้ดังต่อไปนี
*ɲ ≫ MAX-IO ≫ IDENT-IO(nasal)
ตารางวิเคราะห์
ɲɔ: ‘ยอ’ *ɲ MAX-IO IDENT-IO(nasal)
(a) [ɲɔ:] *!
(b) [ɔ:] *!
(c)  [jɔ:] *
คาอธิบายจากตารางวิเคราะห์
(a) และ (b) จากคู่แข่งคัดเลือกทัง 3 ถูกปฏิเสธเพราะได้ละเมิดข้อกาหนด
ของเงื่อนไขบังคับ *ɲ และ MAX-IO ซึ่งเป็นเงื่อนไขบังคับที่เหนือกว่า (high-
ranking constraints) แม้ว่าทังสองตัวได้ทาตามข้อกาหนดของ IDENT-
IO(nasal) ก็ตาม ดังนันคู่แข่งคัดเลือก (c) ถูกคัดเลือกเพราะได้เคารพตาม
ข้อกาหนดของเงื่อนไขบังคับแรงทังสอง คือ *ɲ และ MAX-IO
ตารางวิเคราะห์
ɲɔ: ‘ยอ’ *ɲ MAX-IO IDENT-IO(nasal)
(a) [ɲɔ:] *!
(b) [ɔ:] *!
(c)  [jɔ:] *
 การปรับเปลี่ยนพยัญชนะต้นควบกลา
พยัญชนะต้นควบกลาแบ่งเป็น 4 กลุ่ม และสามารถสรุปผลวิเคราะห์ได้ดังนี
พยัญชนะอ็อนสตรูอันต์ + พยัญชนะอ็อบสตรูอันต์
pd → pr, ph, r,
tb → b, th
khc → kh-c, kh-j
kht → kr, s
kd → kr-
kɁ → t, k, kr
cb → ch-b
พยัญชนะออ็บสตรูอันต์ + พยัญชนะซอนอรันต์
pr → phr, phl, p, pl, ph,
tr → s, kr, k, ch, kl,
cr → ch, kr, r, s, tr,
kr → khr, k, kl, khl,
kŋ → k-ŋ
khn → kh,
khm → kh, s
chŋ → ch,
chn → ch
พยัญชนะออ็บสตรูอันต์ + พยัญชนะซอนอรันต์
chm → ch-m
thn → th-n
tn → t-n
thm → s
phn → ph-n
phs → ph-s, pr
phɁ → ph-Ɂ
sC →
พยัญชนะซอนอรันต์ + พยัญชนะซอนอรันต์
ml → phl
mr → m-r, ph-r
lb → r-b
lŋ → l-ŋ
lm → l-m, c
พยัญชนะซอนอรันต์ + พยัญชนะอ็อบสตรูอันต์
ms → m-s
lɁ → l-Ɂ
การปรับเปลี่ยน pd
• ในการพิจารณาการปรับเปลี่ยนดังกล่าว มีเงื่อนไขบังคับ 3 ข้อ คือ เงื่อนไข
บังคับ *pd , MAX-IO, และ IDENT-IO และสามารถเรียงลาดับได้
ดังต่อไปนี
*pd , MAX-IO ≫ DEP-IO
เขมร ไทย
(a) pdœŋ เผดียง pha diaŋ
(b) pdac เผด็จ pha det
(c) pdaǝm เผดิม pha dǝ:m
ตัวอย่างการวิเคราะห์การปรับเปลี่ยนพยัญชนะต้นควบกลา
ตารางวิเคราะห์
pdec ‘เผด็จ’ *pd MAX-IO DEP-IO
(a) pdet *!
(b)  pha det **
(c) det *!
(d) phet *!
จากตารางวิเคราะห์ คา pdet บังเกิดได้เป็น 4 คู่แข่งคัดเลือก คือ (a) (b)
(c) และ (d) ในนัน (a) ได้ละเมิดอย่างแรงกับเงื่อนไขบังคับ *pd แม้ว่า (a)
ไม่ได้ละเมิดกับข้อกาหนดของเงื่อนไขบังคับ MAX-IO ก็ตาม จึงถูกปฏิเสธ ใน
กรณีเช่นนี (c) และ (d) ขัดกับ MAX-IO จึงถูกปฏิเสธทังคู่ แม้ว่า (b) ได้ขัดกับ
DEP-IO ถึงสองครัง แต่ถูกคัดเลือกเพราะ (b) ได้ทาตามข้อกาหนดของเงื่อนไข
บังคับสูงทังสองข้อ คือ *pd และ MAX-IO
 การปรับเปลี่ยนพยัญชนะท้าย
h → Ɂ, t, k
c → t
k → p, Ɂ
l → n
ɲ → n, j
m → n, p
n → m
ŋ → n, m
w → p
มีเงื่อนไขบังคับดังต่อไปนี
กรณีการปรับเปลี่ยนของพยัญชนะ ɲ
• ในการพิจารณาการปรับเปลี่ยนดังกล่าว มีเงื่อนไขบังคับ 3 ตัว คือ เงื่อนไข
บังคับ *ɲ, Ident-IO(distr) และ Ident-IO(ant) และลาดับกันดังนี
*ɲ ≫ Ident-IO(distr), Ident-IO(ant)
ตัวอย่างการวิเคราะห์การปรับเปลี่ยนพยัญชนะท้าย
(a) Ɂaɲ cɤɲ อัญเชิญ Ɂan chǝ:n to invite
(b) krα: wa:ɲ กระวาน kra wa:n cardamom
(c) baɲ ci: บัญชี ban chi: list
(d) cɔm nea:ɲ ชานาญ cham na:n skillful
(e) bαm peɲ บาเพ็ญ bam phen to fill, complete
ตารางวิเคราะห์
bαm pɛɲ ‘บาเพ็ญ’ *ɲ IDENT-IO(DISTR) IDENT-IO(ANT)
(a) bam pheɲ *!
(b) bam phen * *
คู่แข่งคัดเลือก (b) ถูกเลือกเป็นผู้ชนะแม้แต่ได้ละเมิดกับเงื่อนไขบังคับ
IDENT-IO(distr) และ IDENT-IO(ant) แต่ได้ทาตามข้อกาหนดของ
เงื่อนไขบังคับ *ɲ ซึ่งอยู่เหนือกว่าเงื่อนไขบังคับอีกสองข้อ ส่วน (a)
ถูกปฏิเสธ
 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
7.1 สรุปผล
• การปรับเปลี่ยนของเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยวสามารถสรุปได้ดังนี
- กลุ่มพยัญชนะอ็อบสตรูอันต์มีจานวน 8 เสียง พบเพียงพยัญชนะ Ɂ ที่ไม่
ปรับเปลี่ยน พยัญชนะอีก 7 เสียง ได้คงไว้ หรือ/และ ได้รับการปรับเปลี่ยน
คือ 1) h → ŋ 2) b→ b, p 3) d→ d, t 4) c→ c, ch, s 5) p→ p,
ph, f, pr 6) t → t, th, k, ch 7) k→ k, kh, ŋ, t, kr phl, c
- กลุ่มพยัญชนะซอนอรันต์ จานวน 8 เสียง พบพยัญชนะ 4 เสียงที่ไม่
ปรับเปลี่ยนเสียง 6 เสียง คือ j, l, ŋ, n และมีพยัญชนะที่ปรับเปลี่ยนเสียง 4
เสียง คือ 1) ɲ→ j 2) m → m, l 3) r→ r k khr l s 4) w → f
7.1 สรุปผล...
• การปรับเปลี่ยนของเสียงพยัญชนะต้นควบกลา สามารถสรุปได้ดังนี
- กลุ่มอ็อบสตรูอันต์กับอ็อบสตรูอันต์ มี 25 เสียง pt, pd, pc, pk, pɁ, ps, ph,
tp, tb, tk, th, kp, kb, kc, kt, kd, kɁ, ks, kh, sp, sb, st, sd, sk, sɁ ซึ่งได้การ
ปรับเปลี่ยนเสียง
- กลุ่มอ็อบสตรูอันตกับซอนอรันต์ มี 10 เสียง คือ chn, tn, pr, tr, cr, kr, kŋ,
khn, khm, chŋ
- กลุ่มซอนอรันต์กับซอนอรันต์ มี 3 เสียงซึ่งไม่มีการปรับเปลี่ยนเสียงทัง 3
เสียง คือ ml, mr, mŋ กลุ่มซอนอรันต์กับอ็อบสตรูอันต์ มี 1 เสียง และไม่มี
การปรับเปลี่ยนเสียง คือ lb
7.1 สรุปผล...
• การปรับเปลี่ยนของเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ สามารถสรุปได้ดังนี
- กลุ่มซอนอรันต์ มี 7 เสียง ไม่มีการปรับเปลี่ยนเสียง 1 เสียง คือ j และมี
การปรับเปลี่ยนเสียง 6 เสียง คือ 1) m→m, n, p 2) n→ n, m 3)
ɲ→ n, j, และสูญเสีย 4) ŋ→ ŋ, n, m 5) w→ w, p 6) l→ n
- พยัญชนะกลุ่มอ็อบสตรูอันต์ มี 6 เสียง ไม่มีการปรับเปลี่ยนเสียง 3 เสียง
คือ p, t, Ɂ และมีการปรับเปลี่ยนเสียง 3 เสียง คือ 1) c → t 2) k→
p, Ɂ 3) h→Ɂ, t, k, h, และสูญเสียง
7.2 อภิปรายผล
การศึกษาคายืมภาษาเขมรในภาษาไทย ที่ผ่านมายังไม่พบว่ามี
การศึกษาในระดับการปรับเปลี่ยนของพยัญชนะในคายืมภาษาเขมร
นอกจากนีทฤษฎีที่นามาใช้ในการวิเคราะห์ส่วนมาจะเน้นไปที่การศึกษาโดย
ใช้ภาษาศาสตร์ไวยากรณ์ปริวรรต หรือไวยากรณ์โครงสร้าง ซึ่งมีข้อจากัดค้อน
ข้างมาก งานที่เกี่ยวข้องกับคายืมภาษาเขมรในภาษาไทยที่สาคัญคือ
- Warasarin ได้ศึกษาคายืมภาษาเขมร ในเรื่องของพยัญชนะควบกลา
พบว่า พยัญชนะควบกลา sɁ, sk, st, sd, sp, sb, sl, sn, sɲ, sŋ,
sm, sj, sv, และ sr จะแทรกด้วย /a/ และได้มีข้อยกเว้นในบางคาที่ไม่มี
การแทรก /a/ เนื่องจากได้มีการปรับเป็นอย่างอื่น เช่น sdα: → si:
dɔ:, sda:j → sia da:j
แต่จากการศึกษาครังนีพบว่า พยัญชนะควบกลาเหล่านีไม่ได้ปรับเปลี่ยนด้วย
การแทรกเพียงสระ a หรือสระ i: หรือ ia​
​เท่านัน แต่ยังพบการปรับเปลี่ยน
พยัญชนะ s เป็นเสียงอื่น เช่น sl → t ในคาว่า slœk krej → ta khraj
‘ตะไคร้’ และ slœŋ → ta lɯŋ ‘ตะลึง’ , sɁ → r ในคาว่า sɁoh →
ra ɁuɁ ‘ระอุ’ และมีการแทรกสระอื่นนอกจาก a , i: หรือ ia เช่น o: , ɔ:
ในคาว่า srα: mo:m → so: mom ‘โสมม’ slα: → lɔ: ‘หล่อ’ หรือมี
การลดบางส่วนของพยัญชนะควบกลา เช่น sl → l , sŋ → ŋ ใ ค
sŋuot → ŋuat ‘งวด’ เป็นต้น
แต่จากการศึกษาครังนีพบว่า พยัญชนะควบกลาเหล่านีไม่ได้ปรับเปลี่ยนด้วย
การแทรกเพียงสระ a หรือสระ i: หรือ ia​
​เท่านัน แต่ยังพบการปรับเปลี่ยน
พยัญชนะ s เป็นเสียงอื่น เช่น sl → t ในคาว่า slœk krej → ta khraj
‘ตะไคร้’ และ slœŋ → ta lɯŋ ‘ตะลึง’ , sɁ → r ในคาว่า sɁoh →
ra ɁuɁ ‘ระอุ’ และมีการแทรกสระอื่นนอกจาก a , i: หรือ ia เช่น o: , ɔ:
ในคาว่า srα: mo:m → so: mom ‘โสมม’ slα: → lɔ: ‘หล่อ’ หรือมี
การลดบางส่วนของพยัญชนะควบกลา เช่น sl → l , sŋ → ŋ ใ ค
sŋuot → ŋuat ‘งวด’ เป็นต้น
- เปรมินท์ คาระวี (2539) ได้ศึกษา คายืมภาษาเขมรในภาษาไทยถิ่นใต้
การศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเสียงในคาภาษาไทยถิ่นใต้ที่สัมพันธ์กับ
คาเขมรปัจจุบัน เป็นการศึกษาน่าสนใจ เปรมินท์ ได้ลงรายละเอียดของ
เสียงต่าง ๆ จากคาภาษาเดิมกับคาในภาษาที่ยืม
ในการอธิบายความสัมพันธ์ของเสียง d กับเสียง l ในคาว่า daŋ
‘ดัง’ ซึ่งเปรมินท์ พบว่าได้ยืมมาจากคาว่า khlaŋ (เปรมินท์ คาระวี. 2539 :
95) ผู้วิจัยมีความเห็นต่างกับความสัมพันธ์ของเสียงทังสอง ในภาษาเขมรมีคา
kdaŋ และ kdu:ŋ kdaŋ ( ទ្ធសាសន ណ្
ឌិ ត្យ. 1967 : 66) ซึ่งเป็นคาเลี่ยน
เสียง เมื่อคายืมเข้ามา พยัญชนะควบกลา kd เป็นกลุ่มเสียงไม่มีในระบบ
พยางค์ของภาษาไทย ไวยากรณ์ไทยจึงเลือกการตัดพยัญชนะแรกออก ดังนัน
พยัญชนะ d จึงเป็นส่วนทีเลือกจาก kd ไม่น่าจะเกิดจาก khl
- ในการศึกษาอธิบายการเปลี่ยนแปลงของพยัญชนะท้ายพยางค์ของคายืม
ภาษาเขมรในภาษาไทย ทัง Warasarin (1984), Michel (1996 : 37-38)
ได้พูดถึงการปรับเปลี่ยนของพยัญชนะที่ไม่อนุญาตให้อยู่ในตาแหน่งท้าย
พยางค์อยู่ 4 เสียง คือ c l ɲ h ส่วนการปรับเปลี่ยนของเสียงพยัญชนะอื่น
ในตาแหน่งนี ที่งานวิจัยนีได้ค้นพบ (ดังสรุปไว้ในข้อสรุป) ในงานดังกล่าว
ไม่ได้พูดถึง
ทัง Warasarin และ Michel มีความเห็นพ้องกันว่า ɲ และ h ได้ปรับ
เปลี่ยนเป็นเสียง n และ t Ɂ ตามลาดับ แต่งานวิจัยนีได้พบเสียงอื่น ดังนี
Warasarin และ Michel งานวิจัยนี
h→Ɂ, t h→Ɂ, t, k, h
ɲ→ n ɲ→ n, j
7.3 ข้อเสนอแนะ
• ภาษาเขมรเป็นภาษาที่ไม่มีวรรณยุกต์ในการจาแนกความหมายของคา
และเนื่องจากภาษา ไทยเป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ (tonal language) คา
เขมรที่ยืมเข้ามาใช้ในภาษาไทยคงจะผ่านวิธีเพิ่มรูปวรรณยุกต์
(tonalizations) ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจสาหรับงานวิจัยครังต่อไป
• ควรมีการศึกษาในด้านอื่นของคายืมด้วยใช้ทฤษฎีอุตมผล
• การศึกษาเปรียบเทียบพยัญชนะธนิตในภาษาเขมรและภาษาไทย “The Comparative
Study of Aspirated Consonants in Khmer and Thai” วารสารวิชาการ รมยสาร. ปีที่
12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) ปี 2557.
ความก้าวหน้าเกี่ยวกับบทความพิมพ์เผยแพร่
• Khmer Loanwords in Thai and Thai Loanwords in Khmer: The Coda
Simplification, paper be presented in the 6th International Conference on
Austroasiatic Linguistics, theme: Exploring the Diversity of Austroasiatic
Languages, in Siem Reap, 29-31 Jul 2015. คาดว่าจะได้ตีพิมพ์ใน Mon-Khmer
Studies Journal.
• The Simplification of Complex Onsets in Khmer Loanwords in Thai:
Obstruent_Obstruent Sequence. Paper be presented in the 1st International
Conference on Humanities and Social Sciences: Learning in the 21st Century:
Perspectives in the Humanities and Social Sciences. (ICHS), August 26-27,
2015. คาดว่าจะได้ตีพิมพ์ใน Cho Phayom Journal.
សូ រគណ្ ขอบคุณครับ

More Related Content

Similar to คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย Khmer Loanwords in Thai

การปรับเปลี่ยนพยัญชนะในคำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย
การปรับเปลี่ยนพยัญชนะในคำยืมภาษาเขมรในภาษาไทยการปรับเปลี่ยนพยัญชนะในคำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย
การปรับเปลี่ยนพยัญชนะในคำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย
snangstudy
 
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกงานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Itslvle Parin
 
สรุปเข้ม#7 ภาษาไทย
สรุปเข้ม#7 ภาษาไทยสรุปเข้ม#7 ภาษาไทย
สรุปเข้ม#7 ภาษาไทย
Pasit Suwanichkul
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
rattasath
 

Similar to คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย Khmer Loanwords in Thai (8)

การปรับเปลี่ยนพยัญชนะในคำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย
การปรับเปลี่ยนพยัญชนะในคำยืมภาษาเขมรในภาษาไทยการปรับเปลี่ยนพยัญชนะในคำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย
การปรับเปลี่ยนพยัญชนะในคำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย
 
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกงานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
สรุปเข้ม#7 ภาษาไทย
สรุปเข้ม#7 ภาษาไทยสรุปเข้ม#7 ภาษาไทย
สรุปเข้ม#7 ภาษาไทย
 
Sk7 th
Sk7 thSk7 th
Sk7 th
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
 

คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย Khmer Loanwords in Thai

  • 1. การปรับเปลี่ยนพยัญชนะคายืมภาษาเขมรในภาษาไทย: วิเคราะห์ตามแนวทฤษฎีอุตมผล The consonant adaptation of Khmer Loanwords in Thai: Based on the Optimality Theory ผู้วิจัย นายจุม สุนนาง (Chom Sonnang) นิสิตปริญญาเอก สาขาวิชาภาษาไทย คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร. ธนานันท์ ตรงดี ประธานกรรมการ ผศ.ดร. บัญญัติ สาลี กรรมการ ผศ.ดร. ราชันย์ นิลวรรณาภากรรมการ สอบป้องกันวิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม11 กรกฎาคม 2558
  • 2. ความเป็นมาของปัญหา 1. กาญจนา นาคสกุล (2502), Warasarin (1984), เปรมินท์ คารวี (2539), Michel ANTELME (1996) 2. การศึกษาไม่ได้ลงลึกเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนของเสียงพยัญชนะของคายืม เน้นที่การจาแนกคายืม และวิเคราะห์ปัจจัยการยืมคา การสร้างคาของคายืม และการเปลี่ยนแปลงรูปคายืม 3. การใช้ทฤษฏีในการศึกษาที่ผ่านมา ไม่สามารถอธิบายการปรับเปลี่ยนเสียงใน คายืมได้ครอบคลุม และมีข้อจากัดค่อนข้างมาทาให้พบข้อยกเว้นหลายข้อ เมื่ออธิบายไม่ได้ 4. ทฤษฎีอุตมผล การปรับปรุงข้อจากัดของไวยากรณ์ปริวรรต
  • 3. จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อศึกษาการปรับเปลี่ยนของเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยวของคายืมภาษาเขมรใน ภาษาไทย 2. เพื่อศึกษาการปรับเปลี่ยนของเสียงพยัญชนะต้นควบกลาของคายืมภาษา เขมรในภาษาไทย 3. เพื่อศึกษาการปรับเปลี่ยนของเสียงพยัญชนะท้ายของคายืมภาษาเขมรใน ภาษาไทย ด้วยการใช้ทฤษฎีอุตมผล ขอบเขตของการวิจัย 1. เก็บรวบรวมข้อมูลคาศัพท์จากงานวิจัยจากงานของ Warasarin (1984) กาญจนา นาคสกุล และเปรมินทร์ คาราวี 2. ข้อมูลคาศัพท์คายืมภาษาเขมรที่ใช้ในภาษาไทยที่นามาวิเคราะห์ จานวน 1,124 คา (คาที่ยังใช้ในภาษาไทยปัจจุบัน) 3. ศึกษาการปรับเปลี่ยนเสียงพยัญชนะในตาแหน่งต้นพยางค์และท้ายพยางค์ 3. วิเคราะห์การปรับเปลี่ยนตามแนวทฤษฎีอุตมผล
  • 4. อุตมผล (OT) เป็นทฤษฎีที่พัฒนาบนพืนฐานไวยากรณ์ปริวรรต (GG) ทฤษฎีที่เลือกใช้ในการวิเคราะห์ GG ใช้กฎในการอธิบายการปรับเปลี่ยนเสียงในภาษา A → B / A_C (อ่านว่า A กลายเป็น B เมื่อ A อยู่ข้างหน้า C) A เป็นรูปลึก B เป็นรูปผิว ตัวอย่างการปรับเปลี่ยนของพยัญชนะ l (ล) ของภาษาไทยในตาแหน่ง ท้ายพยางค์ รูปคาระดับลึก รูปคาระดับผิว A → B กล kol → kon ชล chol → chon กาล ka:l → ka:n
  • 5. - ในคา กล, ชล, และ กาล มีพยัญชนะ ล ในตาแหน่งท้ายพยางค์ - พยัญชนะ ล ในคาดังกล่าวถูกปรับ หรือออกเสียงเป็น น n - พยัญชนะ ล ในคาดังกล่าวนาหน้าด้วยสระ o a: ดังนัน การปรับเปลี่ยนเช่นนี สามารถเขียนเป็น กฎ ตาม ไวยากรณ์ปริวรรต ดังต่อไปนี l → n / v_n อธิบายว่า l กลายเป็น n ในกรณีที่ l นาหน้าด้วยสระ หรือ l กลายเป็น n เมื่อ l อยู่ในตาแหน่งท้ายพยางค์
  • 6. (Kager. 1999 : 8) ทฤษฎีอุตมผล จากแผนภาพ - หน่วยรับเข้า (input) เป็นรูปลึก หนึ่งหน่วยสามารถสร้าง (generate) เป็นคู่แข่ง คัดเลือกได้หลายตัว - คู่แข่งคัดเลือก (candidate) a b c d… สร้างจากหน่วยรับเข้า - เงื่อนไขบังคับ (constraint) c1 c2… cn มีหน้าที่คัดเลือก a b c d… - หน่วยส่งออก เป็นคู่แข่งคัดเลือกที่ได้รับการคัดเลือก เรียกว่า อุตมผล (Optimal Candidate) และตัวใดได้ละเมิดเงื่อนไขบังคับที่สูงกว่าจะถูกตัดออก
  • 7. จากแผนภาพ - หน่วยรับเข้า sdaw เป็นรูปลึก หนึ่งหน่วยสามารถสร้าง เป็นคู่แข่งคัดเลือก sdaw, daw, sa daw, dsa …. - เงื่อนไขบังคับ *sd , Dep, ….cn มีหน้าที่คัดเลือก sdaw, daw, sa daw, dsa …. - หน่วยส่งออก sa daw ที่ได้รับการคัดเลือก เรียกว่า อุตมผล (Optimal Candidate) และตัวใดได้ละเมิดเงื่อนไขบังคับที่สูงกว่าจะถูกตัดออก
  • 8. คุณลักษณะต่าง ๆ ของเงื่อนไขบังคับ มีดังต่อไปนี - ความขัดแย้ง - ความเป็นสากล - ถูกละเมิดได้ เงื่อนไขบังคับแบ่งเป็น 2 ประเทศ คือ - เงื่อนไขบังคับแปลกเด่น - เงื่อนไขบังคับตรง คุณลักษณะและประเภทของเงื่อนไขบังคับ
  • 9. ตัวอย่างข้อกาหนดของเงื่อนบังคับแปลกเด่น • สระไม่มีเสียงนาสิก • พยางค์ไม่ต้องมีพยัญชนะท้าย • พยัญชนะอ็อบสตรูอันต์ต้องเป็นเสียงอโฆษะในตาแหน่งท้ายพยางค์ • ซอนอรันต์ต้องเป็นเสียงโฆษะ • พยางค์ต้องมีพยัญชนะต้น • อ็อบสตรูอันต์ต้องเป็นเสียงโฆษะเมื่อตามโดยเสียงนาสิก (Kager. 1999 : 9) ตัวอย่างข้อกาหนดของเงื่อนบังคับตรง • หน่วยส่งออกต้องคงไว้หน่วยแยกส่วนที่ปรากฏในหน่วยรับเข้า • การเรียงลาดับหน่วยแยกส่วนในหน่วยส่งออกและในหน่วยรับเข้าตรงกัน • หน่วยแยกส่วนในหน่วยส่งออกต้องมีหน่วยปฏิภาคจากหน่วยรับเข้า • หน่วยแยกส่วนในหน่วยรับเข้าและในหน่วยส่งออกต้องมีลักษณ์เด่นจาแนก [voice] ตรงกัน (Kager. 1999 : 10)
  • 10. ตารางวิเคราะห์ เครื่องหมายจากตารางวิเคราะห์ -  เป็นรูปลึก หนึ่งหน่วยสามารถสร้าง (generate) เป็นคู่แข่งคัดเลือกได้หลายตัว - * เป็นจานวนการละเมิดข้อกาหนดของเงื่อนไขบังคับของคู่แข่งคัดเลือก - *! เป็นการละเมิดข้อกาหนดของเงื่อนไขบังคับอย่างร้ายแรงและถูกตัดออก (severe violation) - ≫ บอกความเหนือกว่าระหว่างเงื่อนไขบังคับ (domination) - ความเหนือกว่าของเงื่อนไขบังคับเริ่มจากซ้ายไปขวา c1 อยู่อันดับหนึ่ง และ c2 อยู่อันดับสอง c1 ≫ c2 ตารางวิเคราะห์ c1 C2 (a) คู่แข่งคัดเลือก a *! (b) คู่แข่งคัดเลือก b * (Kager. 1999 : 13) ทฤษฎีอุตมผลใช้ตารางแสดงการวิเคราะห์
  • 11. ตัวอย่างการปรับเปลี่ยนของ l เป็น n ในตาแหน่งท้ายพยางค์ - ลักษณ์เด่นจาแนก l และ n คือ [+lat] และ [-lat] ตามลาดับ ([+lat] ปล่อยข้าง ลิน ; [-lat] ไม่ปล่อยข้างลิน) ดังนันการเปลี่ยนจาก [+lat] เป็น [-lat] ขัดกับ ข้อกาหนดของเงื่อนไขบังคับตรง Ident-IO(lat) ที่ห้ามเปลี่ยนลักษณ์เด่นจาแนก - ในระบบพยางค์ (phonotactic) ของภาษาไทยไม่อนุญาต l อยู่ในตาแหน่งท้าย พยางค์ ซึ่งตรงกับเงื่อนไขบังคับแปลกเด่น *l ที่ว่า ไม่มีในตาแหน่งท้ายพยางค์ - ดังนัน ได้เงื่อนไขบังคับสองตัวใช้ในการวิเคราะห์การปรับเปลี่ยนดังกล่าว คือ Ident-IO(lat) และ *l - *l ≫ Ident-IO(lat) (เงื่อนไขบังคับ *l อยู่สูงกว่าเงื่อนไขบังคับ Ident-IO(lat))
  • 12. คาอธิบาย - หน่วยรับเข้า ka:l ได้สร้างเป็นคู่แข่งคัดเลือกสองตัว คือ ka:l และ ka:l ต่างด้วย (a) และ (b) ตามลาดับ - (a) ได้ละเมิดข้อกาหนดของ *l ซึ่งเป็นเงื่อนไขบังคับที่เหนือกว่า ดังนัน (a) ถูกตัด ออก หรือไม่ผ่าน (การละเมิดในลักษณะนีต่างด้วยเครื่องหมาย *! ) - (b) ได้ทาตามข้อกาหนดของ *l จึงถูกคัดเลือก แม้ได้ละเมิด Ident-IO(lat) ซึ่ง เป็นเงื่อนไขบังคับอ่อนกว่า ตารางวิเคราะห์ ka:l *l IDENT-IO(lat) (a) ka:l *! (b)  ka:n *
  • 13. GG l → n / v_n OT l → candidate1, 2, 3 ,4….n → constraint1, 2, 3, …n → n หลังจากการวิเคราะห์ การปรับเปลี่ยน l → n โดยใช้วิธีการชองทังสองทฤษฎี สามารถสรุปผล ได้ดังนี
  • 14. การปรับเปลี่ยนพยัญชนะต้นเดี่ยว พยัญชนะต้นเดี่ยวแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ ซอนอรันต์ และ อ็อบสตรูอันต์ ซอนอรันต์(พยัญชนะก้อง ลากเสียงยาวได้) พบว่าพยัญชนะในกลุ่มนี มีบางเสียงยังคงไว้ลักษณะเดิม ดังนี → แต่บางพยัญชนะมีทัง 2 คือคงไว้ และได้รับการปรับเปลี่ยน ดังนี ɲ → j แยก m → m, l มะแม, ละเมอ r → r, khr, kr, k, l, s รุก คราด กระอักกระอ่วน กะลา ลาดวน สาออย w → w, f, ph วัด ฝูง พบ ผลการวิเคราะห์
  • 15. อ็อบสตรูอันต์(พยัญชนะเสียงไม่ก้อง เสียงกัก ลากเสียงยาวไม่ได้) พบว่าพยัญชนะในกลุ่มนี มีบางเสียงยังคงไว้ลักษณะเดิม ดังนี Ɂ → Ɂ แต่บางพยัญชนะมีทัง 2 คือคงไว้ และได้รับการปรับเปลี่ยน ดังนี s → s, ch ส ด, ชาแหละ h → ŋ สง p → ph, f, pr พ็ญ โปง ฟอง ป ะคด b → b, p ก ปิด t → t, k, ch ตอ ก ก ะทุง ทู d → t • c → ch, s จอง • ชิง
  • 16. การปรับเปลี่ยนของพยัญชนะ ɲ เขมร ไทย ความหมาย (a) ɲɛk แยก jɛ:k to separate, divide (b) ɲom โยม jo:m parent (in Buddhist) (c) ɲuh ɲɔŋ ยุยง ju joŋ to incite (d) ɲɔh เยาะ jɔɁ to make fun of (e) ɲɔ: ยอ jɔ: Morinda citrifolia จากตัวอย่างคา พยัญชนะ ɲ ในคายืมภาษาเขมรถูกปรับเปลี่ยนเป็นพยัญชนะ j ในภาษาไทย - พยัญชนะเสียงนาสิกที่เพดานแข็ง ɲ เป็นพยัญชนะที่ไม่ปรากฏในระบบเสียง ภาษาไทย จึงได้เงื่อนไขบังคับ *ɲ หนึ่งข้อที่ห้ามพยัญชนะเสียงนีเข้ามาในภาษา - ถึง ɲ ไม่มีในภาษา แต่ภาษาไม่ได้ตัดทิงพยัญชนะนี การตัดทังจะขัดกับ Max-IO ที่ห้ามลบส่วนใดส่วนหนึ่งในหน่วยส่งออก ตัวอย่างการวิเคราะห์การปรับเปลี่ยนพยัญชนะต้นเดียว
  • 17. - การปรับเปลี่ยนเสียงนาสิกมาให้เป็นเสียงไม่นาสิก (ɲ เป็น j) ได้ขัดกับเงื่อนไข บังคับตรง Ident-IO ที่กาหนดไม่ให้มีการปรับเปลี่ยนลักษณะต่าง ๆ ของเสียง ดังนันในการพิจารณาการปรับเปลี่ยนของพยัญชนะ ɲ จะมีเงื่อนไขบังคับจานวน 3 ข้อ *ɲ , MAX-IO และ IDENT-IO(nasal) ซึ่งจะเรียงลาดับได้ดังต่อไปนี *ɲ ≫ MAX-IO ≫ IDENT-IO(nasal) ตารางวิเคราะห์ ɲɔ: ‘ยอ’ *ɲ MAX-IO IDENT-IO(nasal) (a) [ɲɔ:] *! (b) [ɔ:] *! (c)  [jɔ:] *
  • 18. คาอธิบายจากตารางวิเคราะห์ (a) และ (b) จากคู่แข่งคัดเลือกทัง 3 ถูกปฏิเสธเพราะได้ละเมิดข้อกาหนด ของเงื่อนไขบังคับ *ɲ และ MAX-IO ซึ่งเป็นเงื่อนไขบังคับที่เหนือกว่า (high- ranking constraints) แม้ว่าทังสองตัวได้ทาตามข้อกาหนดของ IDENT- IO(nasal) ก็ตาม ดังนันคู่แข่งคัดเลือก (c) ถูกคัดเลือกเพราะได้เคารพตาม ข้อกาหนดของเงื่อนไขบังคับแรงทังสอง คือ *ɲ และ MAX-IO ตารางวิเคราะห์ ɲɔ: ‘ยอ’ *ɲ MAX-IO IDENT-IO(nasal) (a) [ɲɔ:] *! (b) [ɔ:] *! (c)  [jɔ:] *
  • 19.  การปรับเปลี่ยนพยัญชนะต้นควบกลา พยัญชนะต้นควบกลาแบ่งเป็น 4 กลุ่ม และสามารถสรุปผลวิเคราะห์ได้ดังนี พยัญชนะอ็อนสตรูอันต์ + พยัญชนะอ็อบสตรูอันต์ pd → pr, ph, r, tb → b, th khc → kh-c, kh-j kht → kr, s kd → kr- kɁ → t, k, kr cb → ch-b
  • 20. พยัญชนะออ็บสตรูอันต์ + พยัญชนะซอนอรันต์ pr → phr, phl, p, pl, ph, tr → s, kr, k, ch, kl, cr → ch, kr, r, s, tr, kr → khr, k, kl, khl, kŋ → k-ŋ khn → kh, khm → kh, s chŋ → ch, chn → ch
  • 21. พยัญชนะออ็บสตรูอันต์ + พยัญชนะซอนอรันต์ chm → ch-m thn → th-n tn → t-n thm → s phn → ph-n phs → ph-s, pr phɁ → ph-Ɂ sC →
  • 22. พยัญชนะซอนอรันต์ + พยัญชนะซอนอรันต์ ml → phl mr → m-r, ph-r lb → r-b lŋ → l-ŋ lm → l-m, c พยัญชนะซอนอรันต์ + พยัญชนะอ็อบสตรูอันต์ ms → m-s lɁ → l-Ɂ
  • 23. การปรับเปลี่ยน pd • ในการพิจารณาการปรับเปลี่ยนดังกล่าว มีเงื่อนไขบังคับ 3 ข้อ คือ เงื่อนไข บังคับ *pd , MAX-IO, และ IDENT-IO และสามารถเรียงลาดับได้ ดังต่อไปนี *pd , MAX-IO ≫ DEP-IO เขมร ไทย (a) pdœŋ เผดียง pha diaŋ (b) pdac เผด็จ pha det (c) pdaǝm เผดิม pha dǝ:m ตัวอย่างการวิเคราะห์การปรับเปลี่ยนพยัญชนะต้นควบกลา
  • 24. ตารางวิเคราะห์ pdec ‘เผด็จ’ *pd MAX-IO DEP-IO (a) pdet *! (b)  pha det ** (c) det *! (d) phet *! จากตารางวิเคราะห์ คา pdet บังเกิดได้เป็น 4 คู่แข่งคัดเลือก คือ (a) (b) (c) และ (d) ในนัน (a) ได้ละเมิดอย่างแรงกับเงื่อนไขบังคับ *pd แม้ว่า (a) ไม่ได้ละเมิดกับข้อกาหนดของเงื่อนไขบังคับ MAX-IO ก็ตาม จึงถูกปฏิเสธ ใน กรณีเช่นนี (c) และ (d) ขัดกับ MAX-IO จึงถูกปฏิเสธทังคู่ แม้ว่า (b) ได้ขัดกับ DEP-IO ถึงสองครัง แต่ถูกคัดเลือกเพราะ (b) ได้ทาตามข้อกาหนดของเงื่อนไข บังคับสูงทังสองข้อ คือ *pd และ MAX-IO
  • 25.  การปรับเปลี่ยนพยัญชนะท้าย h → Ɂ, t, k c → t k → p, Ɂ l → n ɲ → n, j m → n, p n → m ŋ → n, m w → p มีเงื่อนไขบังคับดังต่อไปนี
  • 26. กรณีการปรับเปลี่ยนของพยัญชนะ ɲ • ในการพิจารณาการปรับเปลี่ยนดังกล่าว มีเงื่อนไขบังคับ 3 ตัว คือ เงื่อนไข บังคับ *ɲ, Ident-IO(distr) และ Ident-IO(ant) และลาดับกันดังนี *ɲ ≫ Ident-IO(distr), Ident-IO(ant) ตัวอย่างการวิเคราะห์การปรับเปลี่ยนพยัญชนะท้าย (a) Ɂaɲ cɤɲ อัญเชิญ Ɂan chǝ:n to invite (b) krα: wa:ɲ กระวาน kra wa:n cardamom (c) baɲ ci: บัญชี ban chi: list (d) cɔm nea:ɲ ชานาญ cham na:n skillful (e) bαm peɲ บาเพ็ญ bam phen to fill, complete
  • 27. ตารางวิเคราะห์ bαm pɛɲ ‘บาเพ็ญ’ *ɲ IDENT-IO(DISTR) IDENT-IO(ANT) (a) bam pheɲ *! (b) bam phen * * คู่แข่งคัดเลือก (b) ถูกเลือกเป็นผู้ชนะแม้แต่ได้ละเมิดกับเงื่อนไขบังคับ IDENT-IO(distr) และ IDENT-IO(ant) แต่ได้ทาตามข้อกาหนดของ เงื่อนไขบังคับ *ɲ ซึ่งอยู่เหนือกว่าเงื่อนไขบังคับอีกสองข้อ ส่วน (a) ถูกปฏิเสธ
  • 28.  สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 7.1 สรุปผล • การปรับเปลี่ยนของเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยวสามารถสรุปได้ดังนี - กลุ่มพยัญชนะอ็อบสตรูอันต์มีจานวน 8 เสียง พบเพียงพยัญชนะ Ɂ ที่ไม่ ปรับเปลี่ยน พยัญชนะอีก 7 เสียง ได้คงไว้ หรือ/และ ได้รับการปรับเปลี่ยน คือ 1) h → ŋ 2) b→ b, p 3) d→ d, t 4) c→ c, ch, s 5) p→ p, ph, f, pr 6) t → t, th, k, ch 7) k→ k, kh, ŋ, t, kr phl, c - กลุ่มพยัญชนะซอนอรันต์ จานวน 8 เสียง พบพยัญชนะ 4 เสียงที่ไม่ ปรับเปลี่ยนเสียง 6 เสียง คือ j, l, ŋ, n และมีพยัญชนะที่ปรับเปลี่ยนเสียง 4 เสียง คือ 1) ɲ→ j 2) m → m, l 3) r→ r k khr l s 4) w → f
  • 29. 7.1 สรุปผล... • การปรับเปลี่ยนของเสียงพยัญชนะต้นควบกลา สามารถสรุปได้ดังนี - กลุ่มอ็อบสตรูอันต์กับอ็อบสตรูอันต์ มี 25 เสียง pt, pd, pc, pk, pɁ, ps, ph, tp, tb, tk, th, kp, kb, kc, kt, kd, kɁ, ks, kh, sp, sb, st, sd, sk, sɁ ซึ่งได้การ ปรับเปลี่ยนเสียง - กลุ่มอ็อบสตรูอันตกับซอนอรันต์ มี 10 เสียง คือ chn, tn, pr, tr, cr, kr, kŋ, khn, khm, chŋ - กลุ่มซอนอรันต์กับซอนอรันต์ มี 3 เสียงซึ่งไม่มีการปรับเปลี่ยนเสียงทัง 3 เสียง คือ ml, mr, mŋ กลุ่มซอนอรันต์กับอ็อบสตรูอันต์ มี 1 เสียง และไม่มี การปรับเปลี่ยนเสียง คือ lb
  • 30. 7.1 สรุปผล... • การปรับเปลี่ยนของเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ สามารถสรุปได้ดังนี - กลุ่มซอนอรันต์ มี 7 เสียง ไม่มีการปรับเปลี่ยนเสียง 1 เสียง คือ j และมี การปรับเปลี่ยนเสียง 6 เสียง คือ 1) m→m, n, p 2) n→ n, m 3) ɲ→ n, j, และสูญเสีย 4) ŋ→ ŋ, n, m 5) w→ w, p 6) l→ n - พยัญชนะกลุ่มอ็อบสตรูอันต์ มี 6 เสียง ไม่มีการปรับเปลี่ยนเสียง 3 เสียง คือ p, t, Ɂ และมีการปรับเปลี่ยนเสียง 3 เสียง คือ 1) c → t 2) k→ p, Ɂ 3) h→Ɂ, t, k, h, และสูญเสียง
  • 31. 7.2 อภิปรายผล การศึกษาคายืมภาษาเขมรในภาษาไทย ที่ผ่านมายังไม่พบว่ามี การศึกษาในระดับการปรับเปลี่ยนของพยัญชนะในคายืมภาษาเขมร นอกจากนีทฤษฎีที่นามาใช้ในการวิเคราะห์ส่วนมาจะเน้นไปที่การศึกษาโดย ใช้ภาษาศาสตร์ไวยากรณ์ปริวรรต หรือไวยากรณ์โครงสร้าง ซึ่งมีข้อจากัดค้อน ข้างมาก งานที่เกี่ยวข้องกับคายืมภาษาเขมรในภาษาไทยที่สาคัญคือ - Warasarin ได้ศึกษาคายืมภาษาเขมร ในเรื่องของพยัญชนะควบกลา พบว่า พยัญชนะควบกลา sɁ, sk, st, sd, sp, sb, sl, sn, sɲ, sŋ, sm, sj, sv, และ sr จะแทรกด้วย /a/ และได้มีข้อยกเว้นในบางคาที่ไม่มี การแทรก /a/ เนื่องจากได้มีการปรับเป็นอย่างอื่น เช่น sdα: → si: dɔ:, sda:j → sia da:j
  • 32. แต่จากการศึกษาครังนีพบว่า พยัญชนะควบกลาเหล่านีไม่ได้ปรับเปลี่ยนด้วย การแทรกเพียงสระ a หรือสระ i: หรือ ia​ ​เท่านัน แต่ยังพบการปรับเปลี่ยน พยัญชนะ s เป็นเสียงอื่น เช่น sl → t ในคาว่า slœk krej → ta khraj ‘ตะไคร้’ และ slœŋ → ta lɯŋ ‘ตะลึง’ , sɁ → r ในคาว่า sɁoh → ra ɁuɁ ‘ระอุ’ และมีการแทรกสระอื่นนอกจาก a , i: หรือ ia เช่น o: , ɔ: ในคาว่า srα: mo:m → so: mom ‘โสมม’ slα: → lɔ: ‘หล่อ’ หรือมี การลดบางส่วนของพยัญชนะควบกลา เช่น sl → l , sŋ → ŋ ใ ค sŋuot → ŋuat ‘งวด’ เป็นต้น
  • 33. แต่จากการศึกษาครังนีพบว่า พยัญชนะควบกลาเหล่านีไม่ได้ปรับเปลี่ยนด้วย การแทรกเพียงสระ a หรือสระ i: หรือ ia​ ​เท่านัน แต่ยังพบการปรับเปลี่ยน พยัญชนะ s เป็นเสียงอื่น เช่น sl → t ในคาว่า slœk krej → ta khraj ‘ตะไคร้’ และ slœŋ → ta lɯŋ ‘ตะลึง’ , sɁ → r ในคาว่า sɁoh → ra ɁuɁ ‘ระอุ’ และมีการแทรกสระอื่นนอกจาก a , i: หรือ ia เช่น o: , ɔ: ในคาว่า srα: mo:m → so: mom ‘โสมม’ slα: → lɔ: ‘หล่อ’ หรือมี การลดบางส่วนของพยัญชนะควบกลา เช่น sl → l , sŋ → ŋ ใ ค sŋuot → ŋuat ‘งวด’ เป็นต้น
  • 34. - เปรมินท์ คาระวี (2539) ได้ศึกษา คายืมภาษาเขมรในภาษาไทยถิ่นใต้ การศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเสียงในคาภาษาไทยถิ่นใต้ที่สัมพันธ์กับ คาเขมรปัจจุบัน เป็นการศึกษาน่าสนใจ เปรมินท์ ได้ลงรายละเอียดของ เสียงต่าง ๆ จากคาภาษาเดิมกับคาในภาษาที่ยืม ในการอธิบายความสัมพันธ์ของเสียง d กับเสียง l ในคาว่า daŋ ‘ดัง’ ซึ่งเปรมินท์ พบว่าได้ยืมมาจากคาว่า khlaŋ (เปรมินท์ คาระวี. 2539 : 95) ผู้วิจัยมีความเห็นต่างกับความสัมพันธ์ของเสียงทังสอง ในภาษาเขมรมีคา kdaŋ และ kdu:ŋ kdaŋ ( ទ្ធសាសន ណ្ ឌិ ត្យ. 1967 : 66) ซึ่งเป็นคาเลี่ยน เสียง เมื่อคายืมเข้ามา พยัญชนะควบกลา kd เป็นกลุ่มเสียงไม่มีในระบบ พยางค์ของภาษาไทย ไวยากรณ์ไทยจึงเลือกการตัดพยัญชนะแรกออก ดังนัน พยัญชนะ d จึงเป็นส่วนทีเลือกจาก kd ไม่น่าจะเกิดจาก khl
  • 35. - ในการศึกษาอธิบายการเปลี่ยนแปลงของพยัญชนะท้ายพยางค์ของคายืม ภาษาเขมรในภาษาไทย ทัง Warasarin (1984), Michel (1996 : 37-38) ได้พูดถึงการปรับเปลี่ยนของพยัญชนะที่ไม่อนุญาตให้อยู่ในตาแหน่งท้าย พยางค์อยู่ 4 เสียง คือ c l ɲ h ส่วนการปรับเปลี่ยนของเสียงพยัญชนะอื่น ในตาแหน่งนี ที่งานวิจัยนีได้ค้นพบ (ดังสรุปไว้ในข้อสรุป) ในงานดังกล่าว ไม่ได้พูดถึง ทัง Warasarin และ Michel มีความเห็นพ้องกันว่า ɲ และ h ได้ปรับ เปลี่ยนเป็นเสียง n และ t Ɂ ตามลาดับ แต่งานวิจัยนีได้พบเสียงอื่น ดังนี Warasarin และ Michel งานวิจัยนี h→Ɂ, t h→Ɂ, t, k, h ɲ→ n ɲ→ n, j
  • 36. 7.3 ข้อเสนอแนะ • ภาษาเขมรเป็นภาษาที่ไม่มีวรรณยุกต์ในการจาแนกความหมายของคา และเนื่องจากภาษา ไทยเป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ (tonal language) คา เขมรที่ยืมเข้ามาใช้ในภาษาไทยคงจะผ่านวิธีเพิ่มรูปวรรณยุกต์ (tonalizations) ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจสาหรับงานวิจัยครังต่อไป • ควรมีการศึกษาในด้านอื่นของคายืมด้วยใช้ทฤษฎีอุตมผล
  • 37. • การศึกษาเปรียบเทียบพยัญชนะธนิตในภาษาเขมรและภาษาไทย “The Comparative Study of Aspirated Consonants in Khmer and Thai” วารสารวิชาการ รมยสาร. ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) ปี 2557. ความก้าวหน้าเกี่ยวกับบทความพิมพ์เผยแพร่ • Khmer Loanwords in Thai and Thai Loanwords in Khmer: The Coda Simplification, paper be presented in the 6th International Conference on Austroasiatic Linguistics, theme: Exploring the Diversity of Austroasiatic Languages, in Siem Reap, 29-31 Jul 2015. คาดว่าจะได้ตีพิมพ์ใน Mon-Khmer Studies Journal. • The Simplification of Complex Onsets in Khmer Loanwords in Thai: Obstruent_Obstruent Sequence. Paper be presented in the 1st International Conference on Humanities and Social Sciences: Learning in the 21st Century: Perspectives in the Humanities and Social Sciences. (ICHS), August 26-27, 2015. คาดว่าจะได้ตีพิมพ์ใน Cho Phayom Journal.
  • 38.