SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ตรรกศาสตร์
1. ประพจน์(proposition) คือ ข้อความหรือประโยคที่มีค่าความจริง(T)หรือเท็จ(F) อย่าง
ใดอย่างหนึ่ง ส่วนข้อความรูป คาสั่ง คาขอร้อง คาอุทาน คาปฏิเสธ ซึ่งไม่อยู่ในรูป
ของประโยคบอกเล่า จะเป็นข้อความที่ไม่เป็นประพจน์ สาหรับข้อความบอกเล่าแต่มี
ตัวแปรอยู่ด้วย ไม่สามารถบอกว่าเป็นจริงหรือเท็จจะไม่เป็นประพจน์ เรียกว่า
ประโยคเปิด
การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อม ให้
p และ q เป็นประพจน์
T แทนค่าความจริงของประพจน์ที่เป็นจริง
F แทนค่าความจริงของประพจน์ที่เป็นเท็จ
2. การเชื่อมตัวเชื่อมในประพจน์
pq อ่านว่า p และ q
pq อ่านว่า p หรือ q
pq อ่านว่าถ้า p แล้ว q
pq อ่านว่า p ก็ต่อเมื่อ q
p อ่านว่า นิเสธของ p ซึ่งมีค่าความจริงตรงข้าม
p q pq pq pq p p q
T T T T T T F F
T F F T F F F T
F T F T T F T F
F F F F T T T T
3. สัจนิรันดร์ (tautology) คือประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริงเสมอ
4. ประพจน์ที่สมมูลกันคือ ประพจน์ 2 ประพจน์ใดเรียกว่าสมมูลกัน เมื่อประพจน์ทั้ง
สองมีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณี เขียนแทนด้วย "" ประพจน์ที่สมมูลกันที่
ควรทราบคือ
p  q สมมูลกับ q  p
q  p สมมูลกับ p  q
(p  q) สมมูลกับ p q
(pq) สมมูลกับ pq
(pq) สมมูลกับ pq
pq สมมูลกับ pq
5. การสร้างตารางค่าความจริงจะได้ทั้งหมด 2n
กรณี ในเมื่อ n ค่าจานวนประพจน์
6. วลีบอกปริมาณ ใช้เติมหน้าประโยคที่มีตัวแปรจะทาให้เป็นประพจน์ได้ วลีบอก
ปริมาณมี 2 แบบดังนี้
 แทนวลีบอกปริมาณ "ทั้งหมด" " สาหรับทุก ๆ …." . for all "
 แทนวลีบอกปริมาณ " มี x อย่างน้อย หนึ่ง" " สาหรับบางส่วน…"
" for some"
P(x) แทนประโยคเปิด โดยมี x เป็นตัวแปร
xP(x) : ทุก ๆ x
xP(x) : มีอย่างน้อย 1 ตัว
xP(x) = xP(x)
xP(x) = xP(x)
ตัวอย่าง กาหนดให้ค่าความจริงของประพจน์ (pq)(rs)
มีค่าความจริงเป็นเท็จ ต่อไปนี้ข้อใดเป็นค่าความจริงของ p,q,r,s
ตามลาดับ
วิธีทา (pq)(rs)
F
F F
T T F
T F
จากแผนภาพจะได้ว่า p มีค่าความจริงเป็นจริง
q มีค่าความจริงเป็นจริง
r มีค่าความจริงเป็นจริง
s มีค่าความจริงเป็นเท็จ
ทดสอบความเข้าใจ
ข้อ 1. ข้อความต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
1. (pq)r สมมูลกับ r(pq)
2. (pq)r สมมูลกับ r(pq)
3. (pq) ไม่สมมูลกับ pq
4. p(qr สมมูลกับ (p(qr)
ข้อ 2. ให้เอกภพสัมพัทธ์ U = 0 , 2 , 4 , 6 ,8 ประพจน์ใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็น
จริง
1. xx2
+ 2x > 4
2. xx>x+2
3. xx2
 0
4. xx + 8 > 8
เฉลย
ข้อ 1. ตอบ 2 ข้อ 2. ตอบ 3

More Related Content

More from ทับทิม เจริญตา

ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 

More from ทับทิม เจริญตา (20)

Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
Ex
ExEx
Ex
 
เกมซูดุคุ
เกมซูดุคุเกมซูดุคุ
เกมซูดุคุ
 
ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
แบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนามแบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนาม
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนามหาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลังสอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3 ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 

ความหมายตรรกศาสตร์1

  • 1. ตรรกศาสตร์ 1. ประพจน์(proposition) คือ ข้อความหรือประโยคที่มีค่าความจริง(T)หรือเท็จ(F) อย่าง ใดอย่างหนึ่ง ส่วนข้อความรูป คาสั่ง คาขอร้อง คาอุทาน คาปฏิเสธ ซึ่งไม่อยู่ในรูป ของประโยคบอกเล่า จะเป็นข้อความที่ไม่เป็นประพจน์ สาหรับข้อความบอกเล่าแต่มี ตัวแปรอยู่ด้วย ไม่สามารถบอกว่าเป็นจริงหรือเท็จจะไม่เป็นประพจน์ เรียกว่า ประโยคเปิด การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อม ให้ p และ q เป็นประพจน์ T แทนค่าความจริงของประพจน์ที่เป็นจริง F แทนค่าความจริงของประพจน์ที่เป็นเท็จ 2. การเชื่อมตัวเชื่อมในประพจน์ pq อ่านว่า p และ q pq อ่านว่า p หรือ q pq อ่านว่าถ้า p แล้ว q pq อ่านว่า p ก็ต่อเมื่อ q p อ่านว่า นิเสธของ p ซึ่งมีค่าความจริงตรงข้าม p q pq pq pq p p q T T T T T T F F T F F T F F F T F T F T T F T F F F F F T T T T
  • 2. 3. สัจนิรันดร์ (tautology) คือประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริงเสมอ 4. ประพจน์ที่สมมูลกันคือ ประพจน์ 2 ประพจน์ใดเรียกว่าสมมูลกัน เมื่อประพจน์ทั้ง สองมีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณี เขียนแทนด้วย "" ประพจน์ที่สมมูลกันที่ ควรทราบคือ p  q สมมูลกับ q  p q  p สมมูลกับ p  q (p  q) สมมูลกับ p q (pq) สมมูลกับ pq (pq) สมมูลกับ pq pq สมมูลกับ pq 5. การสร้างตารางค่าความจริงจะได้ทั้งหมด 2n กรณี ในเมื่อ n ค่าจานวนประพจน์ 6. วลีบอกปริมาณ ใช้เติมหน้าประโยคที่มีตัวแปรจะทาให้เป็นประพจน์ได้ วลีบอก ปริมาณมี 2 แบบดังนี้  แทนวลีบอกปริมาณ "ทั้งหมด" " สาหรับทุก ๆ …." . for all "  แทนวลีบอกปริมาณ " มี x อย่างน้อย หนึ่ง" " สาหรับบางส่วน…" " for some" P(x) แทนประโยคเปิด โดยมี x เป็นตัวแปร xP(x) : ทุก ๆ x xP(x) : มีอย่างน้อย 1 ตัว xP(x) = xP(x) xP(x) = xP(x)
  • 3. ตัวอย่าง กาหนดให้ค่าความจริงของประพจน์ (pq)(rs) มีค่าความจริงเป็นเท็จ ต่อไปนี้ข้อใดเป็นค่าความจริงของ p,q,r,s ตามลาดับ วิธีทา (pq)(rs) F F F T T F T F จากแผนภาพจะได้ว่า p มีค่าความจริงเป็นจริง q มีค่าความจริงเป็นจริง r มีค่าความจริงเป็นจริง s มีค่าความจริงเป็นเท็จ ทดสอบความเข้าใจ ข้อ 1. ข้อความต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง 1. (pq)r สมมูลกับ r(pq) 2. (pq)r สมมูลกับ r(pq) 3. (pq) ไม่สมมูลกับ pq 4. p(qr สมมูลกับ (p(qr) ข้อ 2. ให้เอกภพสัมพัทธ์ U = 0 , 2 , 4 , 6 ,8 ประพจน์ใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็น จริง 1. xx2 + 2x > 4 2. xx>x+2 3. xx2  0 4. xx + 8 > 8 เฉลย ข้อ 1. ตอบ 2 ข้อ 2. ตอบ 3