SlideShare a Scribd company logo
ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม 2560
Urban Culture
ทำไมเมืองต้องมีวัฒนธรรม
Infographic
อนุรักษ์วัฒนธรรม
ช่วยสร้ำงเศรษฐกิจอย่ำงไร
กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรม
เมืองลาปาง
ฉบับปฐมฤกษ์
i | FURD Cities Monitor January 2017
บรรณาธิการ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
กองบรรณาธิการ
ณัฐธิดา เย็นบารุง
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ออกแบบและรูปเล่ม
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ภาพปก
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ภาพในเล่ม
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ปาณัท ทองพ่วง
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
กรุ๊ปไลน์ “นครลาปาง”
เผยแพร่
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
CONTACT US
www.furd-rsu.org
Tel. (+66) 2938 8826
Fax. (+66) 2938 8864
FURD Cities Monitor January 2017 | ii
ในโอกาสที่ ปี 2560 นี้ย่างเข้าสู่ปีที่ 4 ของการดาเนินงานของศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิต ทีมงานสื่อสารสาธารณะจึงได้ปรับปรุงเนื้อหาและรูปแบบใหม่ของการนาเสนอข้อมูลและความรู้บน
สื่อออนไลน์ให้มีความทันสมัย น่าสนใจ และมีสาระเข้มข้นมากขึ้น เพื่อให้ท่านผู้อ่านทั้งที่เป็นผู้นาเมือง ผู้สร้างบ้าน
แปงเมือง นักปฏิบัติ และนักวิชาการ ตลอดจนผู้สนใจ ได้เข้าถึงสื่อและสารของศูนย์ฯ มากขึ้น
ด้วยความตั้งใจของทีมงานศูนย์ฯ ที่ปรารถนาให้เมืองของไทยเต็มไปด้วยพลเมืองที่รักและภูมิใจในเมืองของตน
หันกลับมาฟื้นฟูเมืองเพื่อความเป็นอยู่ของคนในเมือง วารสารออนไลน์ “FURD Cities Monitor” ฉบับปฐมฤกษ์นี้จึงถือ
กาเนิดขึ้น ด้วยแนวคิดที่จะให้เป็นแหล่งข้อมูลความรู้การพัฒนาเมือง ทั้งที่เป็นเมืองของไทยและเมืองในต่างประเทศ
แต่จะเน้นหนักมากเป็นพิเศษสาหรับเมืองของไทยเพื่อจะมุ่งนาเสนอในเชิงพัฒนาการความก้าวหน้าของเมือง รูปแบบกลไก
การจัดการเมือง ตลอดจนนวัตกรรมที่สร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนและมีสุขภาวะ ฯลฯ พร้อมนี้ทีมงานของ
ศูนย์ฯ เปิดกว้างสาหรับท่านผู้อ่านที่มีข้อมูลและความรู้ดีๆ มาร่วมแบ่งปันด้วย
ในโอกาสปีใหม่ 2560 นี้จึงขออวยพรท่านผู้อ่านได้ประสบแต่เรื่องดีๆ ความรู้ดีๆ งานดีๆ สุขภาพดีๆ และชีวิตดีๆ
ในเมืองที่ท่านอาศัย และขอขอบทุกท่านที่ติดตามผลงาน
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
1 | FURD Cities Monitor January 2017
ตวรรษที่ 21 กล่าวได้ว่าเป็นศตวรรษของเมือง จากข้อมูลของสานักงานประชากรแห่งสหประชาชาติในปี 2010
รายงานว่า เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่จานวนประชากรของโลกอาศัยในเมืองเกินกว่าที่อาศัยในเขตชนบทแล้ว ความ
เป็นเมืองเป็นเสมือนประตูแห่งโอกาสทุกด้านของชีวิต ไม่ว่าจะเป็นโอกาสทางเศรษฐกิจ โอกาสทางการศึกษา โอกาสแห่ง
การเรียนรู้ เพื่อตอบสนองความสมดุลให้กับชีวิต
เมื่อความเป็นเมืองเป็นเสมือนพื้นที่แห่งโอกาส ความเป็นเมืองจึงผุดขึ้นทั่วโลก และทาหน้าที่ไม่แตกต่างกัน เมือง
เป็นพื้นที่แห่งการค้า การแลกเปลี่ยน ความเจริญเติบโต อีกทั้งโลกแห่งเทคโนโลยีในปัจจุบันยิ่งเชื่อมโยงเมืองต่างๆ ให้เป็น
หนึ่งเดียว คาถามคือว่า เมื่อความเป็นเมืองทาหน้าที่ไม่แตกต่างกัน ทุกเมืองมีการเจริญเติบโต แต่เหตุใดเมืองทั่วโลก ยัง
มีอัตลักษณ์ หรือความแตกต่างบางอย่างที่ทาให้เมืองนั้นมีความโดดเด่น เหตุผลสาคัญนั่นก็คือ ทุกเมืองมี “วัฒนธรรม”
เฉพาะของตัวเอง
FURD Cities Monitor January 2017 | 2
วัฒนธรรมเมืองหมายถึงอะไร
วัฒนธรรม (culture) เป็ นคาที่มี
ความหมายหลากหลายและซับซ้อนมาก
ที่สุด ความหมายจึงกว้างมาก หากเลือกคา
นิยามของ UNESCO คาว่าวัฒนธรรม
(culture) มีนิยามว่า “รูปแบบของกิจกรรม
มนุษย์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นมีควำมโดดเด่น
ทั้งรูปธรรมและมีควำมหมำยทำงจิ ต
วิญญำณ ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คน หรือ
สังคมนั้นผลิตสร้ำงขึ้น ด้วยกำรเรียนรู้จำก
กันและกัน วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสำมำรถ
แสดงออกผ่ำน ศิลปะ ดนตรี วรรณกรรม
จิตรกรรม ประติมำกรรม กำรละครและ
ภำพยนตร์ หรือแสดงออกผ่ำนวิถีชีวิต
(lifestyle) ซึ่งกำรแสดงออกเหล่ำนี้มักแฝงไป
ด้วยคุณค่ำ ประเพณี และควำมเชื่อด้วย
กิจกรรมเหล่ำนี้มักผ่ำนช่วงเวลำ กำร
ผสมผสำน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง จนเป็น
เอกลักษณ์ ของแต่ละกลุ่มหรือสังคมนั้น”
ทาไมเมืองต้องสนใจวัฒนธรรม
ตามรายงานของ World Cities Cul-
ture Report in 2015 ไ ด้ แ ส ด ง ข้ อ มูล
เกี่ยวกับบทบาทของวัฒนธรรม ว่าเป็นส่วน
หนึ่งของความสาเร็จของเมืองที่ขาดไม่ได้
ไม่ใช่เพียงแค่ให้คนได้พื้นที่การแสดงออกที่
สร้างสรรค์ และยังมีนัยสาคัญทางเศรษฐกิจ
ด้วย วัฒนธรรมมีความสาคัญต่อเมือง ดังนี้
ดึงดูดนักท่องเที่ยว เศรษฐกิจ
เมืองใหญ่หลายเมืองทั่วโลกขับเคลื่อนด้วย
เศรษฐกิจการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการ
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เป็นสัดส่วนการ
ท่องเที่ยวที่มีมูลค่าสูง งานวิจัยในเมือง
เวียนนา ประเทศออสเตรี ย พบว่า
นักท่องเที่ยวจานวน 2 ใน 3 ของ
นักท่องเที่ยวทั้งหมด ชื่นชอบการท่องเที่ยว
แบบศิลปะและวัฒนธรรมของเมือง เป็ น
เหตุผลสาคัญที่ทาให้มาท่องเที่ยวในเมือง
เวียนนา งานวิจัยในเมืองลอนดอน ประเทศ
อังกฤษ เผยว่า การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
สร้างมูลค่าต่อปี 7.3 พันล้านปอนด์ หรือ
ประมาณ กว่า 313,900 ล้านบาท สะท้อน
ให้เห็นว่าการท่องเที่ยวแบบวัฒนธรรมดึงดูด
นักท่องเที่ยวได้จานวนมาก
ดึงดูดแรงงานที่มีคุณภาพ ใน
ตลาดด้านแรงงานของเมืองต่างๆ การมีงาน
ที่ดีไม่ใช่เป็ นเพียงเหตุผลเดียวที่ดึงดูด
แรงงานที่มีคุณภาพให้เข้ามาทางาน ผู้คน
ต้องการมากกว่านั้น โดยเฉพาะการมี
สภาพแวดล้อมหรือวัฒนธรรมของเมืองที่
เอื้อต่อการพักผ่อน เช่น การมีงานเทศกาล
การมีสโมสร/ชมรม และแหล่งอาหารที่
หลากหลาย เป็นต้น นอกจากจะช่วยดึงดูด
ผู้คนแล้ว วัฒนธรรมของเมืองยังมีผลในการ
พัฒนาศักยภาพของแรงงานด้วย เมือง
ใหญ่ๆ ของโลกจึงพัฒนาสภาพแวดล้อมทาง
วัฒนธรรมที่เอื้อต่อการพักผ่อนของคน
วัฒนธรรมเป็น soft power
ที่ดีที่สุด วัฒนธรรมไม่ได้ตอบโจทย์ในการ
แสดงออกหรือการพักผ่อนของคนเมือง แต่
วัฒนธรรมยังถูกใช้ให้เป็นประโยชน์ด้าน
เศรษฐกิจในตลาดโลกด้วย ยกตัวอย่าง เช่น
เมืองไต้หวัน ไต้หวันเป็นหนึ่งเมืองที่มีการ
พัฒนาเศรษฐกิจที่สูง และประสบ
ความสาเร็จในการเจาะตลาดคนจีน
แผ่นดินใหญ่ เนื่องจากมีวัฒนธรรมและ
ภาษาคล้ายกัน ในขณะเดียวกันเมืองไต้หวัน
ยังสามารถเชื่อมกับตลาดนานาชาติด้วย
 วัฒนธรรมเมืองของไทย
ไม่ใช่แค่เพียงเมืองใหญ่ๆ ของโลกที่
ได้รับประโยชน์ที่หลากหลายจากการ
สร้างสรรค์วัฒนธรรมเมือง เมืองของไทย
หลายเมืองได้รับประโยชน์จากวัฒนธรรม
ข อ ง เ มื อ ง ไ ม่ น้ อ ย โ ด ย เ ฉ พ า ะ
กรุงเทพมหานคร ที่ได้รับประโยชน์ทาง
เศรษฐกิจจากวัฒนธรรมของเมืองสูงมาก มี
นักท่องเที่ยวจากทั่วโลกหลั่งไหลเข้ามา
MasterCard Global Destination Cities
Index เผยผลสารวจสุดยอดจุดหมาย
ปลายทางยอดนิยมของนักท่องเที่ยวทั่วโลก
ประจาปี 2559 โดยจัดอันดับสุดยอดจาก
เมืองท่องเที่ยวที่สาคัญของโลกทั้ง 132
ประเทศ พบว่า กรุงเทพมหานคร ได้รับการ
จัดอันดับเป็นเมืองท่องเที่ยวยอดนิยมอันดับ
ที่ 1 ของโลก โดยมีจานวนนักท่องเที่ยว
เดินทางมาเยือนถึง 21.47 ล้านคน เพราะ
ความโดดเด่นทางวัฒนธรรมและราคาถูก
แต่ไม่ใช่เพียงแค่ดึงดูดนักท่องเที่ยว
กรุงเทพมหานครยังดึงดูดผู้คนจากทั่วทุก
สารทิศให้เข้ามาศึกษา และทางาน จากการ
เป็ นเมืองใหญ่ และการมีวัฒนธรรมของ
เมืองที่หลากหลาย มีพื้นที่ในคนได้พักผ่อน
เที่ยวเล่น เช่นโรงภาพยนตร์ โรงละคร
พิพิธภัณฑ์ สวนสาธารณะ รวมไปถึงการมี
พื้นที่สาธารณะให้คนเข้ามาแชร์ไอเดียใหม่ๆ
ร่วมกัน เช่น ร้านกาแฟ ร้านหนังสือทางเลือก
หรื อ office space จานวนมาก เป็ น
วัฒนธรรมคนเมืองที่เอื้อให้เกิดการเรียนรู้
และความคิดสร้างสรรค์อย่างดี
แปลและเรียบเรียงโดย
ณัฐธิดำ เย็นบำรุง
REFERENCE:
- BOP Consulting Editorial Team. (2015).
World Cities Culture Report 2015. World Cities
Culture Forum.
- Hedrick-Wong, Y. and Choong, D. (2016).
Mastercard Global Destinations Cities Index
2016. Mastercard.
3 | FURD Cities Monitor January 2017
ารขยายตัวของเมืองและทุนนิยม
ทาให้มรดกหรือวัฒนธรรมเมืองกลายเป็น
ของที่หายากเข้าไปทุกวัน เนื่องจากการ
อนุรักษ์มรดกเมืองมักถูกมองว่าเป็นขั้วตรง
ข้ามกับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ขัดขวาง
การเติบโตของรายได้ ยิ่งไปกว่านั้น เงินที่
ลงทุนไปกับการอนุรักษ์ก็ไม่คุ้มกับเงินที่ได้
กลับคืนมา และไม่คุ้มเท่ากับการเอาไป
ลงทุนในธุรกิจขนาดใหญ่ ด้วยเหตุนี้จึงทา
ให้เมืองหลายแห่งเลือกที่จะทุบทาลาย
อาคารบ้านเรือนหรือชุมชนเก่าทิ้ง แล้วสร้าง
เป็ นคอนโด ห้างสรรพสินค้าหรือโรงแรม
มากกว่าที่จะอนุรักษ์ฟื้นฟูสถานที่เก่าแก่เพื่อ
เก็บรักษาไว้ แต่ในปัจจุบัน งานวิจัยหลายชิ้น
ค้นพบแล้วว่า ประโยชน์ทางเศรษฐกิจจาก
การอนุรักษ์มรดกหรือวัฒนธรรมของเมืองมี
มากกว่าที่เราคิด ซึ่งแบ่งออกได้เป็ น 5
ประการ ดังนี้
การสร้างงาน (Job Crea-
tion) การก่อสร้างอาคารบ้านเรือนขึ้นใหม่
เน้นการใช้เครื่องไม้เครื่องมือช่วยทุ่นแรง
พอๆ กับการจ้างแรงงานคน ขณะที่การ
ซ่อมแซมอาคารเก่าจะใช้แรงงานคนใน
สัดส่วนที่มากกว่า อีกทั้งต้องการช่างฝีมือ
ท้ องถิ่นผู้ มีความเชี่ยวชาญในงาน
สถาปัตยกรรมและศิลปกรรมแบบดั้งเดิม
และใช้วัสดุก่อสร้างจากท้องถิ่น ลดการ
นาเข้าวัสดุก่อสร้างที่มีราคาแพงจากพื้นที่
ภายนอก ดังนั้น การอนุรักษ์อาคารเก่าจึง
ส่งผลให้เกิดการจ้างงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง
เพิ่มขึ้นถึงร้ อยละ 10-20 กอปรกับผล
การศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกาชี้ให้เห็น
ว่าสาขาการอนุรักษ์ฟื้นฟู (Rehabilitation)
ก่อให้เกิดรายได้สูงสุดราว 762,000
ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งสูงกว่าสาขาการก่อสร้าง
ใหม่ ( New Construction) และสาข า
อุตสาหกรรมการผลิต (Manufacturing) ที่
ก่อให้เกิดรายได้ราว 653,000 ดอลลาร์
สหรัฐ และ 515,000 ดอลลาร์สหรัฐ
ตามลาดับ
การฟื้นฟูเขตเมืองชั้นใน (Inner
City Revitalization) ประสบการณ์
จากประเทศเนเธอร์แลนด์ ชี้ให้เห็นว่า ทุก ๆ
หนึ่งยูโรที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนการ
บูรณะฟื้นฟูของประเทศเนเธอร์แลนด์ (The
Dutch Restoration Fund) จะกระตุ้นให้เกิด
การลงทุนสมทบเพิ่มเติมจากภาคเอกชนสูง
มากถึง 3 เท่า และก่อให้เกิดการจ้างงาน
โดยตรง ในทางตรงข้าม ทุกปีที่การบูรณะ
ฟื้นฟูอนุสาวรีย์ถูกเลื่อนออกไป จะทาให้
ค่าใช้จ่ายสูงขึ้นถึงร้อยละ 15
การท่องเที่ยวในแหล่งมรดกทาง
วัฒนธรรม Heritage Tourism) การ
ท่องเที่ยวประเภทนี้นับเป็นส่วนหนึ่งของการ
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (Cultural Tourism)
และเป็นสาขาหลักของอุตสาหกรรมการ
ท่องเที่ยวที่มีอัตราการเจริญเติบโตอย่าง
รวดเร็ว ซึ่งเป็ นผลจากการที่ผู้คนในยุค
Baby Boom ที่เกิดในช่วงทศวรรษที่ 1950
ได้กลายมาเป็ นประชากรกลุ่มใหญ่ใน
ปัจจุบันที่มีกาลังซื้อสูงและให้คุณค่ากับ
มรดกทางวัฒนธรรมในพื้นที่ต่างๆ ทั่วโลก
FURD Cities Monitor January 2017 | 4
นักท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจึงเป็ นกลุ่ม
นักท่องเที่ยวที่ใช้ระยะเวลาพานักอยู่ใน
จุด ห ม า ยป ลา ย ทา ง ย า วน า น ก ว่า
นักท่องเที่ยวกลุ่มอื่น มีอัตราการกลับมา
เที่ยวซ้าสูง และใช้จ่ายเงินท่องเที่ยวต่อครั้ง
สูงกว่านักท่องเที่ยวกลุ่มอื่นถึง 2.5 เท่า
การเพิ่มมูลค่าสินทรัพย์บนที่ดิน
(Property Values) ในหลายประเทศ
อย่างเช่นสหรัฐอเมริกา มีผลการศึกษาวิจัยที่
แสดงให้เห็นว่าการอนุรักษ์อาคารในย่าน
ประวัติศาสตร์ส่งผลต่อการเพิ่มมูลค่า
สินทรัพย์บนที่ดินในหลายพื้นที่ เช่น เมืองทั้ง
6 แห่งในมลรัฐแมรี่แลนด์ (Maryland) อัตรา
การเพิ่มมูลค่าสินทรัพย์บนที่ดินในย่านเมือง
เก่าสูงกว่าเขตเมืองทั้งหมดถึง 5 แห่ง ได้แก่
เมือง Annapolis เมือง Chestertown เมือง
Frederick เ มื อ ง Laurel แ ล ะ เ มื อ ง
Mt.Vernon-Baltimore ยกเว้นเมือง Berlin ที่
อัตราการเพิ่มขึ้นของมูลค่าสินทรัพย์ในย่าน
เมืองเก่าและเขตเมืองทั้งหมดใกล้เคียงกัน
การบ่มเพาะธุรกิจขนาดเล็ก
(Small Business Incubation)
ใ น ป ร ะ เ ท ศ ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า
ความสาเร็จของโครงการฟื้นฟูเขตเมือง
ชั้นในเกือบทั้งหมดเกิดจากการผนวกรวม
เอาการอนุรักษ์แหล่งประวัติศาสตร์เข้าไป
เป็นองค์ประกอบหลักของยุทธศาสตร์การ
ดาเนินงาน กว่า 30 ปีที่ผ่านมา ชุมชนที่ติด
ถนนสายหลัก (Main Street Community)
ได้รับเงินทุนสนับสนุนเพื่อปรับปรุงสภาพ
ทางกายภาพมากกว่า 23.3 พันล้านเหรียญ
สหรัฐ โดยเป็นโครงการก่อสร้างและฟื้นฟู
อาคารจานวน 107,179 แห่ง ส่งผลให้มี
ธุรกิจเกิดใหม่มากถึง 67,000 ธุรกิจ และ
สร้างงานใหม่ได้กว่า 308,370 งาน
ประสบการณ์จากเมืองต่าง ๆ
ชี้ให้เห็นว่า การเติบโตของเศรษฐกิจเมืองไม่
จาเป็ นต้องพึ่งแต่นายทุนใหญ่หรือธุรกิจ
ขนาดใหญ่เสมอไป เมืองอาจหันมาเลือก
อนุรักษ์ ฟื้นฟูและรักษาของเดิมของดีที่มีอยู่
ให้เป็นจุดเด่นที่หาไม่ได้จากเมืองอื่น เพื่อ
ดึงดูดความสนใจจากนักท่องเที่ยวให้เข้ามา
เยี่ยมชมและจับจ่ายใช้สอยซื้อสินค้าภายใน
เมือง จนเกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ใน
อีกทางหนึ่ง การอนุรักษ์มรดกเมืองก็ถือเป็น
การเสริมสร้ างความแข็งแกร่งให้แก่
อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ซึ่งเป็นหัวใจสาคัญ
ที่จะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
ให้แก่ผู้ประกอบการท้องถิ่น ส่งผลให้
เศรษฐกิจประเทศในภาพรวมมีศักยภาพ
มากขึ้นด้วย ฉะนั้นแล้ว มรดกหรือวัฒนธรรม
เมืองควรถูกมองว่าเป็นสินทรัพย์หรือทุนของ
เมืองมากกว่าเป็นแค่สิ่งกีดขวางการพัฒนา
อย่างที่คนส่วนใหญ่เคยมอง
แปลและเรียบเรียงโดย
ปำริชำติ อ่อนทิมวงค์
อรุณ สถิตพงศ์สถำพร
REFERENCE :
- Steekelenburg, Ester Van. (2016).
“Economisc of Heritage.” ในโครงกำรฝึกอบรม
“กำรจัดทำนครลำปำงให้เป็นเมืองน่ำอยู่โดยกำร
ปกป้ องรักษำมรดกอันมีคุณค่ำของเมือง” เมื่อวันที่
10-15 มกรำคม 2559 ณ บ้ำนบริบูรณ์ ลำปำง.
5 | FURD Cities Monitor January 2017
ปางเป็ นเมืองเก่าแก่ที่มี
ประวัติศาสตร์มายาวนานกว่า 1,300 ปี ครั้ง
หนึ่งเมืองแห่งนี้เคยมีบทบาทเป็นศูนย์กลาง
การค้าไม้สักที่สาคัญของภาคเหนือ ทาให้มี
พ่อค้าทั้งจากยุโรป จีนและพม่าหลั่งไหลเข้า
มาลงทุนทาธุรกิจมากมาย ชาวต่างชาติ
เหล่านี้ได้สร้ างอาคารพาณิชย์ ร้ านค้า
บ้านพักอาศัยของคหบดีและวัดวาอาราม
กระจายอยู่ทั่วเมืองลาปาง ซึ่งสถาปัตยกรรม
เหล่านี้ยังคงไว้ซึ่งร่องรอยการผสมผสานของ
ศิลปวัฒนธรรมหลากเชื้อชาติมาให้เห็น
จนถึงทุกวันนี้
วัดวาโบราณอายุนับร้ อยปี เป็ น
โบราณสถานที่สามารถพบเห็นได้ทั่วเมือง
ลาปาง เฉพาะในเขตเทศบาลนครลาปางที่มี
พื้นที่ 22.17 ตารางกิโลเมตร มีวัดมากถึง 47
แห่ง วัดส่วนใหญ่ถูกสร้างและตกแต่งด้วย
ศิลปกรรมที่ได้รับอิทธิพลมาจากไทใหญ่ เช่น
วัดศรีชุม วัดพม่าที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
มีวิหารที่แกะสลักด้วยไม้สักอายุกว่า 150 ปี
และวัดปงสนุก สร้างเมื่อ พ.ศ.1223 หรือ
1,337 ปี ก่อน เป็ นวัดที่ได้รับรางวัลดี
(Award of Merit) ด้านการอนุรักษ์มรดก
ทางด้านวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค
ตามโครงการ 2008 Asia-Pacific Heritage
Award for Cultural Heritage Conserva-
tion จากองค์การ UNESCO เป็ นต้ น
นอกจากนี้เขตเมืองชั้นในของลาปางยังพบ
อาคารเก่าแก่แบบตะวันตกและแบบจีนที่
V i b r a n t L A M P A N G

FURD Cities Monitor January 2017 | 6
สวยงามมีเอกลักษณ์กระจายอยู่โดยรอบ
เช่น บ้ำนหลุยส์ เลียวโนเวนส์ เรือนไม้
โบราณกึ่งปูนทรงปั้นหยาสองชั้นซึ่งตกแต่ง
ด้วยศิลปกรรมโคโลเนียล อำคำรหม่องโง่ย
ซิ่น เรือนขนมปังขิงหลังคาทรงมะนิลา
อำคำรเยียนซีไท้ลีกี อดีตห้างสรรพสินค้าที่
ใหญ่ที่สุดในย่านตลาดจีน ฯลฯ
กลุ่มคนเล็กๆ ในลาปางที่มีความ
มุ่งมั่น เป็นพลเมืองตื่นรู้ (active citizen) ที่
โหยหาเสน่ห์ คุณค่าและวิถีชีวิตอันเป็นจิต
วิญญาณของเมือง (spirit of the city) เข้า
มาขับเคลื่อนรักษาชุมชนของตน และลุก
ขึ้นมาสร้างเมืองให้ดีขึ้น ทาให้เมืองลาปาง
เป็นเมืองที่มีเอกลักษณ์ มีชีวิตชีวาอีกครั้ง
 ฟื้นฟูกาดกองต้า การจัดการ
พื้นที่สาธารณะของคนลาปาง
คนลาปาง ไม่มีใครไม่รู้จัก กาดกองต้า....
กาดกองต้าถูกรื้อฟื้นมาด้วยโครงการถนน
คนเดินกาดกองต้าครั้งแรก พ.ศ. 2541 โดย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) แต่ไม่
ประสบความสาเร็จเท่าที่ควร จนในช่วง
สงกรานต์ พ.ศ. 2548 ชาวชุมชนกาดกองต้า
ทั้งส่วนกองต้าเหนือ และกองต้าใต้เข้ามีส่วน
ร่วมเข้ามีส่วนร่วมในการจัดการถนนกาด
ก อ ง ต้ า อ ย่ า ง เ ต็ ม ที่ มี ก า ร จั ด ตั้ง
คณะกรรมการบริหารจัดการตลาดโดยคนใน
ชุมชน นาโดยโกชัย-เกียรติชัย มานะศิลป์
และนักประชาสัมพันธ์ ไตรเทพ บุญเฮง
ร่วมมือกับกลุ่มนักวิชาการ ที่ศึกษา
ประวัติศาสตร์ของย่าน ประวัติศาสตร์ของ
บ้านเรือน ทาให้กาดกองต้าถึงจุดเปลี่ยน
กลายเป็นถนนคนเดินกาดกองต้าที่เราเห็น
และรู้จักเช่นทุกวันนี้ทุกเสาร์ – อาทิตย์ จะ
เห็นการรวมตัวของคนลาปางทั้งพ่อค้า
แม่ค้า และคนทั่วไป เดินทากิจกรรมขายของ
จับจ่าย การบริโภคอย่างคึกคักมาก
 เปิดบ้านบริบูรณ์ จุดเด่นของ
กาดกองต้า
กาดกองต้า ไม่ใช่เพียงแค่ตลาด แต่
เป็นถนนคนเดินที่มีเรื่องราวประวัติศาสตร์
สังคมและวัฒนธรรมของเมือง โดยเฉพาะ
สถาปัตยกรรมที่หลงเหลืออยู่ หนึ่งในนั้น คือ
บ้านบริบูรณ์ เดิมบ้านบริบูรณ์เป็นบ้านของ
หม่องยี หรือ นายใหญ่ บริบูรณ์ คหบดีชาว
พม่าที่ทรงอิทธิพลคนหนึ่งในเมืองลาปาง
และแม่เลี้ยงป้ อม สันนิษฐานว่าสร้างขึ้น
ประมาณ พ.ศ. 2461-2471 ให้ เป็ น
ศูนย์กลางธุรกิจของพ่อค้าชาวพม่า ชาวจีน
ชาวอินเดีย ที่เข้ามาทาการค้าขายในลาปาง
ปัจจุบันมูลนิธินิยม ปัทมะเสวี ได้เข้า
ซื้อบ้านบริบูรณ์ ปรับปรุงให้สวยงาม และ
เปิดบ้านบริบูรณ์เป็นหอศิลป์ แห่งที่ 2 ของ
จังหวัดลาปาง โดยก่อนหน้านี้มูลนิธินิยม ฯ
ได้สร้างหอศิลป์ แห่งแรก ซึ่งตั้งในกาดกองต้า
เช่นเดียวกัน จัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้าน
วัฒนธรรมสาหรับเยาวชนคนรุ่นใหม่ ให้รู้จัก
รักและอนุรักษ์ศิลปกรรมของเมือง และที่
สาคัญสร้างความภูมิใจในความเป็นเมือง
ลาปางที่รุ่งเรืองในอดีต โดยไม่แสวง
ผลประโยชน์หากาไรใดๆ บ้านบริบูรณ์ใน
ฐานะหอศิลป์ แห่งที่ 2 พื้นที่สาหรับการจัด
กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมกันของคน
ลาปาง เช่น งานแสดงดนตรี การแสดงสินค้า
พื้นเมือง งานเลี้ยง การประชุม งานอบรม
ต่างๆ เป็นต้น ซึ่งได้รับความสนใจจากทั้งคน
ลาปาง และคนในพื้นที่ใกล้เคียงเข้ามาใช้
สถานที่ในการจัดกิจกรรมต่างๆ
C i v i l M o v e m e n t
7 | FURD Cities Monitor January 2017
จากถนนที่เป็ นเพียงที่รองรับการ
สัญจรของผู้คน ได้กลายเป็นถนนคนเดิน
ขนาดใหญ่ที่ขยายความใหญ่ทั้งสุดถนน ไป
ตามตรอกซอกซอย ถนนคนเดินกาดกองต้า
จึงไม่ใช่แค่การสร้างพื้นที่ตอบโจทย์ทาง
เศรษฐกิจ แต่เป็ นการรื้อฟื้นถนนที่แสน
ธรรมดาให้กลายเป็นพื้นที่สาธารณะ สร้าง
เป็ นตลาดนัดที่คนส่วนใหญ่สนใจ และ
ปรับปรุงบ้านหลายหลัง เพื่อเป็นพื้นที่ให้คน
ได้แสดงออกตามวัฒนธรรม ประเพณี
ท้องถิ่นของเมือง กาดกองต้าจึงเป็นพื้นที่
สาธารณะที่ช่วยคนลาปางได้พบปะ สร้าง
ปฏิสัมพันธ์ต่อกัน ช่วยให้ลาปางกลายเป็น
เมืองที่มีชีวิตชีวามากขึ้น
ลาปางวันนี้มีการเปลี่ยนแปลงของ
วิถีชีวิตจากความเป็นเมืองสมัยใหม่ที่คืบ
คลานไปในทุกที่ แต่ถึงกระนั้นพื้นที่เมืองใน
ลาปางบางส่วนเริ่มมีแนวโน้มมุ่งสู่การเป็น
เมืองอนุรักษ์ การฟื้นถนนคนเดินกาดกองต้า
และการเปิดบ้านบริบูรณ์ เป็นเพียงส่วนหนึ่ง
ของกระบวนการในรื้อฟื้นและรักษา
วัฒนธรรมของเมือง ในลาปางยังมีหลาย
กลุ่มที่มีบทบาทในการรื้อฟื้นและรักษา
วัฒนธรรมของเมือง ไม่ว่าจะเป็น การฟื้น
ถนนสายวัฒนธรรม ณ ถนนวังเหนือ การ
อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนปง
สนุก หรือการรวมกลุ่มผลักดันให้ศาลา
กลางเปลี่ยนเป็นหอศิลป์ ลาปาง เป็นต้น
FURD Cities Monitor January 2017 | 8
“ ...ในการพัฒนาเมืองใด ๆ สิ่งที่สาคัญที่สุดคือ การที่คนในเมืองหันมา
เป็นส่วนหนึ่งที่สร้างสรรค์สิ่งดี ๆ ให้กับเมือง ไม่ว่าจะเป็นการร่วมมือกับ
รัฐ หรือต่อรองกับภาครัฐเมื่อมีโครงการที่มีผลกระทบต่อเมือง ท้ายที่สุด
จะทาให้พวกเขาเป็นส่วนหนึ่งของเมือง เป็นเจ้าของเมือง และเมืองจะ
กลายเป็นเมืองที่ไม่ใช่แค่มีผู้คนอาศัย แต่เป็นเมืองที่มีจิตวิญญาณของ
ผู้คนที่หันมากระทาสิ่งดี ๆ ต่อเมืองร่วมกัน สอดรับกับคากล่าวของ
รุสโซ่ว่า “House make a town, but citizens make a city” ซึ่งแปลได้ว่า
บ้านทาให้ที่นั้นดูเป็นเมือง แต่พลเมืองต่างหากทาให้ที่นั้นเป็นนครหรือ
เมืองจริง ๆ... ”
9 | FURD Cities Monitor January 2017
ภายใต้ กรอบการทางานของ
UNESCO แผนที่วัฒนธรรมเป็นเครื่องมือ
พื้นฐานในการปกป้ องรักษาความ
หลากหลายทางวัฒนธรรม (Safeguard
Cultural Diversity) โดยมีเป้ าหมายเพื่อ
สร้างการรับรู้อัตลักษณ์ของชุมชน ซึ่งเป็นผล
จากการที่ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเก็บ
ข้อมูล คนในพื้นที่จึงเกิดความรู้และเข้าใจใน
มรดกทางวัฒนธรรมของตน เกิดความ
ตระหนัก สานึกถึงอัตลักษณ์ของชุมชน
นาไปสู่การสร้างแรงบันดาลใจและคุณค่า
ร่วม (Core Value) ในการปกป้ องรักษา
จารีต ประเพณี วัฒนธรรม และทรัพยากร
ของชุมชนต่อไป
ปัจจุบัน เมืองลาปางกาลังนาแผนที่
วั ฒ น ธ ร ร ม Cultural Mapping) เ ป็ น
เครื่องมือสาคัญในการอนุรักษ์มรดกทาง
วัฒนธรรมของเมือง เพื่อสร้างสมดุลระหว่าง
การอนุรักษ์วัฒนธรรมและเสริมเสร้ าง
เศรษฐกิจเมืองให้เกิดขึ้น โดยนาแนวคิด
แผนที่วัฒนธรรมมาประยุกต์ใช้กับ iDiscov-
er City Walks แอปพลิเคชั่นแนะนาเส้นทาง
เดินเท้าเพื่อเยี่ยมชมย่านเมืองเก่า จัดทา
เส้นทางเดินเท้าเพื่อเยี่ยมชมมรดกทาง
วัฒนธรรมที่กระจายตัวอยู่ในย่านเก่าแก่ที่มี
ความสาคัญทางประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ
สังคมและวัฒนธรรมของเมือง ซึ่งจาแนก
สถานที่ออกเป็น 5 ประเภทคือ แหล่งที่น่าชม
(iSEE) แหล่งซื้อสินค้ า(iSHOP) แหล่ง
เครื่องดื่ม (iDRINK) แหล่งอาหาร(iEAT)
และแหล่งที่มีเรื่องราวอันน่าประหลาดใจ
(iSURPRISE)
เมืองลาปาง ได้ดาเนินการวางจุด
ย่านวัฒนธรรม โดยใช้ย่านการค้าเก่าริม
แม่น้าวัง หรือย่านตลาดจีน (กาดกองต้า) ดัง
แผนที่ข้างล่าง แม้ปัจจุบันย่านตลาดจีนจะ
ไม่ใช่ย่านการค้ าที่สาคัญที่มีความ
เจริญรุ่งเรืองเฟื่องฟูเหมือนในอดีตเมื่อร้อย
กว่าปีที่ผ่านมา ทว่าผู้คนก็ยังดารงอยู่ด้วย
กิจการเล็กๆ ที่สืบทอดมาแต่ครั้งอดีต
จาพวกร้านค้า ร้านอาหาร โดยมีกิจการ
ใหม่ๆ เช่น ร้านกาแฟ ร้านขายของที่ระลึก ที่
พักแรมขนาดเล็ก (Guesthouse) รวมถึง
“ถนนคนเดินกาดกองต้า” เป็นศูนย์รวมใน
การฟื้นฟูเศรษฐกิจการค้าและจิตวิญญาณ
ของย่านเมืองเก่าลาปางให้คืนมาคึกคักอีก
ครั้งตั้งแต่ปี 2548 เป็นต้นมา
ปัจจุบัน เมืองลาปางได้ดาเนินการ
หาข้อมูล และวางจุดที่ตั้งวัฒนธรรมทั้ง 5
C u l t u r a l M a p p i n g
ที่มา : Steekelenburg, Ester Van (2016)
FURD Cities Monitor January 2017 | 10
ประเภทเรียบร้อยแล้ว โดยกระบวนการดาเนินงานตั้งแต่สารวจ
และสัมภาษณ์ การสังเคราะห์ข้อมูล และการบันทึกข้อมูล กระทา
ด้วยการมีส่วนร่วมของคนลาปางทุกขั้นตอน และกาลังดาเนินการ
เพื่อต่อยอดเป็น แอปพลิเคชั่น iDiscover City Walks อย่างเต็ม
รูปแบบ และคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนที่วัฒนธรรมดังกล่าว จะ
ช่วยสร้างความเข้าใจเรื่องวัฒนธรรมให้คนลาปาง รวมถึงคน
ภายนอกที่สามารถมั่นใจได้เลยว่า ทุกจุดมีคุณค่า มีเรื่องราว เป็น
วัฒนธรรมท้องถิ่นของคนลาปางจริงๆ
เขียนโดย
ณัฐธิดำ เย็นบำรุง
จุฑำมำศ พูลสวัสดิ์
REFERENCE :
- Steekelenburg, Ester Van. (2016) “iDiscover City Walk of Lam-
pang”. ในโครงกำรฝึกอบรม “กำรจัดทำนครลำปำงให้เป็นเมืองน่ำอยู่โดย
กำรปกป้ องรักษำมรดกอันมีคุณค่ำของเมือง” เมื่อวันที่ 10-15 มกรำคม 2559
ณ บ้ำนบริบูรณ์ ลำปำง.
- กิติศักดิ์ เฮงษฎีกุล. (2553). กาดกองต้า ย่านเก่าเล่าเรื่องเมืองลาปาง.
มูลนิธินิยม ปัทมะเสวี.
- ปาริชาติ อ่อนทิมวงค์. (2559). การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้าน
การพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City Walks Application. แผนงำน
นโยบำยสำธำรณะเพื่อกำรพัฒนำอนำคตของเมือง โดยกำรสนับสนุนของ
สำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ.
- สามารถ สุวรรณรัตน์. (2559). แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคมเพื่อการ
พัฒนาเมืองในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ : เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง
แม่ฮ่องสอน แพร่. แผนงำนนโยบำยสำธำรณะเพื่อกำรพัฒนำอนำคตของ
เมือง โดยกำรสนับสนุนของสำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ.
11 | FURD Cities Monitor January 2017
ญหาการจราจรเป็นปัญหา
เรื้อรังของเมืองที่กาลังพัฒนามาหลายสิบปี
นับวันคนยิ่งเข้ามาอาศัยอยู่ในเมืองกันมาก
ขึ้นและต่างหันมาใช้รถยนต์ส่วนตัวกัน
เพิ่มขึ้นทุกปี โดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร
เมืองที่ได้รับการจัดอันดับให้เป็นเมืองที่รถ
ติดมากที่สุดเป็นอันดับสองของโลก ใน ค.ศ.
2015 ยิ่งไปกว่านั้น ภาครัฐมักมุ่งแต่
สนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนต์เพื่อการ
เติบโตทางเศรษฐกิจ ต่างจากเมืองที่พัฒนา
แล้วที่หันกลับมาเน้นนโยบายการพัฒนา
ทางเท้าทางจักรยาน อันเป็นแนวทางที่นา
เมืองไปสู่สุขภาวะที่ดีและสร้างเศรษฐกิจได้
อย่างรอบด้าน ด้วยเหตุนี้ทางศูนย์ศึกษา
มหานครและเมืองจึงได้เรียบเรียงบทความ
ชิ้นนี้ขึ้นมา ซึ่งสรุปได้ดังนี้
การปั่นจักรยานกับการพัฒนา
เศรษฐกิจเมือง
ในทุก ๆ ปี การเดินทางด้วยจักรยาน
เป็ นกิจกรรมที่สร้ างผลประโยชน์ทาง
เศรษฐกิจให้กับสหภาพยุโรปมากถึง 5.13
แสนล้านยูโรต่อปี (แผนภาพที่ 1) หรือ
มากกว่า 1 พันยูโรต่อคนต่อปี ซึ่งเป็นข้อมูล
จากรายงาน “The EU Cycling Economy :
Arguments for an integrated EU cycling
policy” ของสมาพันธ์ผู้ใช้จักรยานแห่ง
สหภาพยุโรป (European Cyclists' Feder-
ation – ECF)
โฮลเกอร์ ฮาวโบลด์ (Holger Hau-
bold) หนึ่งในผู้เขียนรายงานได้กล่าวว่า การ
พัฒนาความปลอดภัยด้านโครงสร้ าง
พื้นฐานเป็ นส่วนสาคัญที่จะก่อให้เกิด
ที่มา : Neun, M. and Haubold, H. (2016)
แผนภาพที่ 1
มูลค่าผลประโยชน์
ที่เกิดจาก
การปั่นจักรยาน
FURD Cities Monitor January 2017 | 12
เศรษฐกิจตามมา ยกตัวอย่างเช่น โครงการ
“Bike2Work” ที่รณรงค์ให้ คนเมืองปั่ น
จักรยานไปทางาน ซึ่งมีการจูงใจทั้งทางการ
คลังและการเงิน รวมถึงการเติบโตของ
นักท่องเที่ยวที่เดินทางด้วยจักรยาน และ
ระบบ E-Cycling ที่ช่วยเปิดประสบการณ์
ใหม่ให้กลุ่มผู้ที่ไม่เคยปั่นจักรยานมาก่อน
ทาให้ตลาดจักรยานเติบโต โดยเฉพาะใน
ประเทศเยอรมัน เนเธอร์แลนด์ และเบล
เยี่ยม
ประเด็นต่อมา โฮลเกอร์ได้กล่าวถึง
แนวทางการสร้ างผลประโยชน์ทาง
เศรษฐกิจในอนาคต ในขั้นแรก เราควรเริ่ม
จากการนายุทธศาสตร์การใช้จักรยานแห่ง
สหภาพยุโรป (EU Cycling Strategy) ไปใช้
เพื่อประสานนโยบายด้านการใช้จักรยาน
ของแต่ละพื้นที่ในยุโรปให้มีความสอดคล้อง
กัน ส่วนภาครัฐมีหน้าที่ให้ทุนสนับสนุนการ
ปั่นจักรยานและสร้างแรงจูงใจทางการคลัง
ให้คนหันมาปั่นจักรยานไปทางาน อีกทั้ง
ควรผนวกระบบ E-Cycling เข้าไปอยู่ใน
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนด้วยพลังงาน
ไฟฟ้ า (Electro-mobility) และให้เงินทุน
สนับสนุนการใช้จักรยานไฟฟ้ า (E-Bike)
นอกจากนี้ ควรสนับสนุนนักท่องเที่ยวที่
เดินทางด้วยจักรยาน ควบคู่ไปกับการสร้าง
โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว
เหล่านี้ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด
ด้วย
ประโยชน์ของการปั่นจักรยาน
ในขณะเดียวกัน ข้อมูลจากรายงาน
ยังชี้ให้เห็นว่า การปั่นจักรยานไม่ได้สร้าง
ผลประโยชน์เพียงแค่ทาให้การคมนาคม
หรือสิ่งแวดล้อมดีขึ้นเท่านั้น แต่ยังส่งผลดี
ต่อภาคอุตสาหกรรม การจ้างงาน สุขภาพ
และสังคมอีกด้วย ยกตัวอย่างประโยชน์ที่
สังคมจะได้รับ เช่น ผู้ลี้ภัยมีความกลมกลืน
กับสังคมมากขึ้น คนเมืองเข้าถึงการขนส่งได้
ง่ายขึ้น แรงงานมีความสามารถในการ
ทางานมากขึ้น เป็นต้น ส่วนด้านที่ได้รับ
ประโยชน์จากการเดินทางด้วยจักรยานมาก
ที่สุด คือ ด้านสุขภาพ เพราะการปั่น
จักรยานส่งผลโดยตรงให้ผู้ขับขี่มีสุขภาพที่ดี
และมีอายุที่ยืนยาวขึ้น เมื่อคนเมืองมี
สุขภาพดี มีคนป่ วยลดลงแล้ว ก็ส่งผล
สืบเนื่องให้ภาครัฐประหยัดงบประมาณใน
ด้านสาธารณสุขได้มากขึ้นอีกด้วย
ภาครัฐควรสนับสนุนการปั่น
จักรยานเป็นอันดับต้น ๆ
“การปั่นจักรยาน” นับเป็นหนทาง
หนึ่งที่นาไปสู่การแก้ปัญหาการจราจร
ภายในเมืองได้อย่างยั่งยืน เพราะการปั่น
จักรยานสามารถพัฒนาเศรษฐกิจเมืองไป
พร้อม ๆ กับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้ อีก
ทั้งยังช่วยเสริมสร้างให้คนเมืองมีสุขภาวะที่
ดี แตกต่างจากการเดินทางด้วยวิธีอื่นที่มัก
ก่อให้เกิดความแออัดตามมา จักรยานจึง
เป็ นวิธีการเดินทางหนึ่งที่ภาครัฐควร
สนับสนุนให้คนเมืองหันมาใช้เป็นอย่างยิ่ง
อย่างไรก็ตาม ทุกวันนี้ภาครัฐทั้ง
ส่วนกลางและท้องถิ่น ยังให้ความสนใจกับ
โครงการสนับสนุนการปั่นจักรยานไม่มาก
นัก ซึ่งแท้จริงแล้ว ภาครัฐควรหันมาให้
ความสาคัญกับการปั่นจักรยานเป็นอันดับ
ต้น ๆ ด้วยการออกนโยบายสนับสนุนอย่าง
จริงจังและครอบคลุมทั้งระบบ โดยเริ่มจาก
การพิจารณาจากประโยชน์ที่ได้รับจากการ
ปั่นจักรยานให้รอบด้าน ดังคากล่าวของโฮล
เกอร์ที่ทิ้งท้ายไว้ว่า “การมองประโยชน์จาก
การปั่นจักรยานแบบองค์รวม จะทาให้
ภาครัฐเข้าใจและออกนโยบายร่วมกับผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละพื้นที่ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ”
แปลและเรียบเรียงโดย
อรุณ สถิตพงศ์สถำพร
REFERENCE :
- Michell, N. (2016). Cycling creates €513
billion annually in Europe, says new report.
Cities Today. Retrieved from https://cities-
today.com/cycling-creates-e513-billion-
annually-europe-says-new-report
- Neun, M. and Haubold, H. (2016). The EU
Cycling Economy – Arguments for an integrat-
ed EU cycling policy. European Cyclists’ Fed-
eration, Brussels.
- TomTom. (2016). Traffic Index. Retrieved
from TomTom Traffic Index, http://
www.tomtom.com/en_gb/trafficindex/list
13 | FURD Cities Monitor January 2017
นวันที่พื้นที่ต่างๆ ทั่วโลก
เปลี่ยนจากชนบทสู่เมือง มิได้มีเฉพาะความ
ทันสมัยและความสะดวกสบายเท่านั้นที่
เกิดขึ้น แต่เมืองจานวนมากยังต้องเผชิญกับ
ปัญหาหลากหลายที่ขัดขวางการพัฒนา ทั้ง
ความไม่เท่าเทียมในสังคมและบริการ
สาธารณะที่ไม่ทั่วถึง รวมไปถึงมลพิษทาง
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ บรรดาเมืองใหญ่
และมหานครในปัจจุบันจึงมีล้วนมีความหวัง
ที่จะมุ่งสู่การเป็นเมืองน่าอยู่มากขึ้น
รายงานของ Metropolis Observato-
ry ได้อธิบายถึงแนวโน้มและทิศทางของมหา
นครทั่วโลกซึ่งให้ความสาคัญกับการปฏิรูป
และขับเคลื่อนโครงสร้างธรรมาภิบาลเพื่อ
นาไปสู่การวางแผนประสานงานและการ
จัดบริการสาธารณะที่มีคุณภาพโดยจะต้อง
ขจัดความขาดแคลนต่างๆ ให้หมดไปทั้ง
ด้านที่อยู่อาศัย การศึกษา สาธารณสุข
อาหารและพลังงาน นอกจากนี้รายงานวิจัย
ของ Mariona Tomàs ผู้เชี่ยวชาญด้าน
รัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยบาเซโลน่ายังยก
ให้เมืองเป็ นเครื่องมือสาคัญสาหรับการ
พัฒนา ผู้นาเมืองจะต้องสร้างและขยาย
“วิสัยทัศน์เมือง” ให้เป็ นแนวทางการ
วางแผนและสร้างระบบบริหารจัดการที่ดี ตัว
แบบใหม่นี้เป็นสิ่งจาเป็นที่จะช่วยลดความ
แตกแยกและความไม่เท่าเทียมระหว่างคน
กลุ่มต่างๆ ในเมืองลงได้ อย่างไรก็ดี Tomàs
ได้เน้นย้าถึงความท้าทาย 4 ประการที่ควร
พิจารณาในการสร้างธรรมาภิบาลของเมือง
อันได้แก่
การกาหนดหน้าที่ เท่าที่ผ่านมา
แผนพัฒนาเมืองส่วนใหญ่มักมุ่งไปที่ Hard
Policy หรือนโยบายที่เน้นเฉพาะการสร้าง
หรือพัฒนาเชิงวัตถุ อย่างโครงสร้างพื้นฐาน
ระบบขนส่งสาธารณะ มากเป็ นพิเศษ
ขณะที่แผนดังกล่าวให้ความสาคัญกับ Soft
Policy หรือนโยบายพัฒนาเชิงโครงสร้างใน
ระยะยาวน้อยลงไป เช่น นโยบายการศึกษา
สาธารณสุข บริการสาธารณะ ปัจจุบัน
รัฐบาลท้องถิ่นหรือผู้กาหนดนโยบายจึง
ประสบปัญหาในการสร้างสมดุลของการ
พัฒนาทั้งสองด้านอยู่ไม่น้อย
การระดมทุน ประเด็นเรื่อง
งบประมาณนับเป็นปัญหาสาคัญอีกหนึ่ง
ประการที่เมืองต้องเผชิญ เนื่องจากเงินทุนที่
รัฐบาลท้องถิ่นของแต่ละเมืองหามาได้มี
จานวนไม่เพียงพอสาหรับการแก้ปัญหา
ทั้งหมดของเมือง อีกทั้งงบประมาณส่วน
ใหญ่ยังเป็นทุนที่ได้รับการจัดสรรจากรัฐบาล
ส่วนกลางจึงทาให้มีข้อจากัดในการนาไปใช้
FURD Cities Monitor January 2017 | 14
ประโยชน์มากกว่าเงินที่ท้องถิ่นระดมทุนมา
ด้วยตนเอง โดยมหานครลอนดอนเป็ น
ตัวอย่างหนึ่งของเมืองที่ยังคงพึ่งพาเงิน
อุดหนุนจากรัฐบาลส่วนกลางในระดับสูงซึ่ง
การสนับสนุนดังกล่าวได้กลายเป็นดาบสอง
คมที่ฉุดรั้งการพัฒนาเมืองไปในเวลา
เดียวกัน เครื่องมือทางการคลังรูปแบบใหม่
จึงเป็นความหวังที่จะช่วยปฏิรูปให้เมืองมี
ระบบการระดมทุนที่มีประสิทธิผลยิ่งขึ้น
การมีส่วนร่วมของคนเมือง
ที่มาของบุคลากรซึ่งทาหน้าที่บริหารจัดการ
ท้องถิ่นซึ่งมีอยู่ในปัจจุบันโดยปกติแล้วจะมิ
ได้มาจากการเลือกตั้งทางตรงของคนใน
พื้นที่หรือหากมีก็อยู่ในสัดส่วนที่น้อยมาก
กรณีดังกล่าวสะท้อนปัญหาในเรื่องการระบุ
ตัวตนในฐานะพลเมืองของคนในพื้นที่ซึ่งมี
บทบาทในการกาหนดชะตาเมืองของตนเอง
น้อยเกินไป ด้วยเหตุนี้จึงต้องมีการทบทวน
ถึงข้อบกพร่องเรื่องกระบวนการมีส่วนร่วม
และสร้างวิธีการที่จะช่วยให้คนรู้สึกว่าตน
เป็นส่วนหนึ่งของเมือง เป็นเจ้าของเมือง มี
บทบาทในฐานะพลเมืองอย่างแท้จริง
การประสานความร่วมมือ
ระหว่างภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง อุปสรรค
ใหญ่ที่กีดขวางการพัฒนาระบบบริหาร
จัดการและธรรมาภิบาลของเมืองในปัจจุบัน
คือการขาดความร่วมมืออันดีและการ
สนับสนุนระหว่างภาคส่วนที่ทางานคู่ขนาน
กัน เช่น หน่วยงานระดับเทศบาล ระดับ
จังหวัด รวมไปถึงหน่วยงานการปกครอง
ระดับภูมิภาค สิ่งที่จะเอาชนะอุปสรรคนี้ได้
คือ การเริ่มต้นสร้างการยอมรับและการ
สนับสนุนจากรัฐบาลกลางซึ่งเป็นหน่วยงาน
สูงสุดที่มีอานาจออกกฎหมายควบคุมและ
กาหนดขีดความสามารถในการบริหาร
จัดการของเมือง การเปลี่ยนท่าทีของรัฐบาล
จะนาไปสู่นโยบายและแนวทางปฏิบัติ
สาหรับหน่วยงานในระดับที่ลดหลั่นลงมา
จนถึงท้องถิ่น ขณะเดียวกันก็ควรขยายความ
ร่วมมือไปยังภาคเอกชนโดยเปิดโอกาสให้
เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนานโยบายของ
เมือง ข้อเสนอดังกล่าวจะช่วยให้ผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียแต่ละฝ่ายมีพื้นที่ในการร่วมสร้าง
ความก้าวหน้าและจัดการกับความท้าทายที่
ต้องเผชิญร่วมกัน
แม้เมืองแต่ละเมืองจะมีขั้นตอน
การพัฒนาและพลวัตในบริบทที่แตกต่างกัน
ไป แต่ก็มิอาจปฏิเสธได้ว่า การพัฒนาของ
ทั้งเมืองเล็กและเมืองใหญ่ต่างอยู่ภายใต้
ระบบการเมืองการปกครองของรัฐด้วยกัน
ทั้งสิ้น เมืองของไทยก็เช่นกัน ศูนย์ศึกษา
มหานครและเมือง ในฐานะหน่วยงานที่ให้
ความสาคัญกับการขับเคลื่อนนโยบาย
สาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
จึงเห็นว่าบทวิเคราะห์ที่ได้จากรายงานวิจัย
ดังกล่าวในประเด็นความท้าทายทั้ง 4
ประเด็น ถือเป็นข้อเท็จจริงสาคัญที่ไม่ใช่
เฉพาะปัญหาของเมืองในต่างประเทศ
เท่านั้น ทว่าเมืองของไทยก็เผชิญกับ
อุปสรรคด้านการบริหารเหล่านี้ด้วยเช่นกัน
ข้อเสนอแนะที่ได้จากงานวิจัยดังกล่าวจึง
นับเป็นบทเรียนที่เป็นประโยชน์ซึ่งภาคส่วนที่
เกี่ยวข้องจะสามารถเรียนรู้และนามาปรับใช้
เพื่อพัฒนาระบบธรรมาภิบาลให้เติบโตไป
พร้อมกับเมืองได้อย่างเหมาะสม
แปลและเรียบเรียงโดย
จุฑำมำศ พูลสวัสดิ์
REFERENCE :
- Hatch, D. (2016). Four Challenges to Metro-
politan Governance. Citiscope. Retrieved from
http://citiscope.org/story/2017/four-challenges-
metropolitan-governance
Image by S.Borisov/Shutterstock.com
เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนาคต
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง
ศ.ดร. อานันท์ กาญจนพันธุ์
เมืองขวางน้า
ศ. กิตติคุณ เดชา บุญค้า
ชุดหนังสือเมือง
เมืองนิยม
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
สัมผัสเมืองสายบุรี (Wasa Telubae)
ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
หนังสือออกใหม่
สั่งซื้อได้ที่ ...
1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com
2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ)
3) Facebook Page : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง Center for Megacity and City Studies
วิทยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริ ของ
ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนจาก
ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความปรารถนาที่
ต้องการให้เป็นคลังปัญญาเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยมีพันธกิจดังนี้
เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และ
จัดการความรู้ให้สามารถเชื่อมโยงสู่นโยบายสาธารณะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งในระดับพื้นที่
และระดับประเทศ
ให้เกิดการเชื่อมประสานเครือข่ายภาคีพัฒนาเมืองทั้ง
ภายในและต่างประเทศ เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนให้มี
ประสิทธิภาพ
ในการสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองสุขภาวะ
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ
หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ ” และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ ” โดย
การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน้าที่หลักคือ สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่
ตอบสนองต่อการพัฒนาเมืองของไทย จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักคิดและผู้นาการพัฒนาเมือง และสร้างเครือข่าย
การพัฒนาเมือง นอกจากนี้ได้ริเริ่ม โดยมหาวิทยาลัยรังสิตมอบรางวัลเป็นประจาทุกปี เพื่อเชิดชูยกย่อง
ผู้นาหรือผู้สร้างบ้านแปงเมือง อันจะเป็นกาลังใจสร้างให้เกิดความภูมิใจและเป็นพลังสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนใน
อนาคตสืบไป
ศูนย์ศึกษำมหำนครและเมือง วิทยำลัยรัฐกิจ มหำวิทยำลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
Website: www.furd-rsu.org
Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864

More Related Content

What's hot

10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
Klangpanya
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
FURD_RSU
 
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
FURD_RSU
 
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
FURD_RSU
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
FURD_RSU
 
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
FURD_RSU
 
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
FURD_RSU
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
FURD_RSU
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
FURD_RSU
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
FURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพการพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
FURD_RSU
 
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนาเมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
FURD_RSU
 
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคามแนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
ฉันนี่แหละ มารตัวแม่
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
FURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
FURD_RSU
 
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์นแนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น
ฉันนี่แหละ มารตัวแม่
 
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมหนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
FURD_RSU
 
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
FURD_RSU
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
FURD_RSU
 

What's hot (20)

10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
 
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
 
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
 
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
 
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
 
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพการพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
 
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนาเมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
 
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคามแนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
 
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์นแนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น
 
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมหนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
 

Viewers also liked

FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD_RSU
 
PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค
PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาคPPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค
PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค
FURD_RSU
 
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
 แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม: แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
FURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Pptการพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
Mate Soul-All
 
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
FURD_RSU
 
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
FURD_RSU
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมืองเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
FURD_RSU
 
Neuroversum - Produktinformation
Neuroversum - ProduktinformationNeuroversum - Produktinformation
Neuroversum - Produktinformation
Neuroversum
 
Introduction to NOSQL And MongoDB
Introduction to NOSQL And MongoDBIntroduction to NOSQL And MongoDB
Introduction to NOSQL And MongoDBBehrouz Bakhtiari
 
Intro to sustainability intro
Intro to sustainability introIntro to sustainability intro
Intro to sustainability introIan Garrett
 
Expo condiciones imagen
Expo condiciones imagenExpo condiciones imagen
Expo condiciones imagen
Jose Joubran
 
View Page Update Presentation Close Bangalore Executive Seminar 2015: Welcom...
 View Page Update Presentation Close Bangalore Executive Seminar 2015: Welcom... View Page Update Presentation Close Bangalore Executive Seminar 2015: Welcom...
View Page Update Presentation Close Bangalore Executive Seminar 2015: Welcom...
MongoDB
 
Resumen
ResumenResumen
Resumen
Patty LóMar
 
Redes Sociais Corporativas e engajamento do público interno
Redes Sociais Corporativas e engajamento do público internoRedes Sociais Corporativas e engajamento do público interno
Redes Sociais Corporativas e engajamento do público interno
Comunicação Integrada - Cursos e Soluções (Isabela Pimentel)
 
Affordable Taiwan Travel
Affordable Taiwan TravelAffordable Taiwan Travel
Affordable Taiwan Travel
MUSTHoover
 
Practica normalizacion
Practica normalizacionPractica normalizacion
Practica normalizacion
info162
 

Viewers also liked (19)

FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
 
PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค
PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาคPPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค
PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค
 
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
 แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม: แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Pptการพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
 
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
 
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมืองเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
 
Neuroversum - Produktinformation
Neuroversum - ProduktinformationNeuroversum - Produktinformation
Neuroversum - Produktinformation
 
Introduction to NOSQL And MongoDB
Introduction to NOSQL And MongoDBIntroduction to NOSQL And MongoDB
Introduction to NOSQL And MongoDB
 
Paginas ampliadas
Paginas ampliadasPaginas ampliadas
Paginas ampliadas
 
HWU certificate
HWU certificateHWU certificate
HWU certificate
 
Intro to sustainability intro
Intro to sustainability introIntro to sustainability intro
Intro to sustainability intro
 
Expo condiciones imagen
Expo condiciones imagenExpo condiciones imagen
Expo condiciones imagen
 
View Page Update Presentation Close Bangalore Executive Seminar 2015: Welcom...
 View Page Update Presentation Close Bangalore Executive Seminar 2015: Welcom... View Page Update Presentation Close Bangalore Executive Seminar 2015: Welcom...
View Page Update Presentation Close Bangalore Executive Seminar 2015: Welcom...
 
Resumen
ResumenResumen
Resumen
 
Redes Sociais Corporativas e engajamento do público interno
Redes Sociais Corporativas e engajamento do público internoRedes Sociais Corporativas e engajamento do público interno
Redes Sociais Corporativas e engajamento do público interno
 
Brin 3 q12
Brin   3 q12Brin   3 q12
Brin 3 q12
 
Affordable Taiwan Travel
Affordable Taiwan TravelAffordable Taiwan Travel
Affordable Taiwan Travel
 
Practica normalizacion
Practica normalizacionPractica normalizacion
Practica normalizacion
 

Similar to FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)

FURD CITIES MONITOR VOL.5 (SEPTEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.5 (SEPTEMBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.5 (SEPTEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.5 (SEPTEMBER 2017)
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
FURD_RSU
 
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD_RSU
 
eTAT journal 1/2554
eTAT journal 1/2554eTAT journal 1/2554
eTAT journal 1/2554
Zabitan
 
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Singhanat Sangsehanat
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD_RSU
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
FURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD_RSU
 
SCENARIO - FUTURE CITY. JUNE 18, 2018.
SCENARIO - FUTURE CITY. JUNE 18, 2018.SCENARIO - FUTURE CITY. JUNE 18, 2018.
SCENARIO - FUTURE CITY. JUNE 18, 2018.
Peerasak C.
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...สถาบันราชบุรีศึกษา
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...
การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...
การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...
Ramnarong Nilgumheang
 
TAT Tourism Journal 3/2014
TAT Tourism Journal 3/2014TAT Tourism Journal 3/2014
TAT Tourism Journal 3/2014
Zabitan
 
Varasan
VarasanVarasan
Varasan
joyzazaz
 

Similar to FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017) (20)

FURD CITIES MONITOR VOL.5 (SEPTEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.5 (SEPTEMBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.5 (SEPTEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.5 (SEPTEMBER 2017)
 
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
 
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
 
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
 
eTAT journal 1/2554
eTAT journal 1/2554eTAT journal 1/2554
eTAT journal 1/2554
 
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ติม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ติมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ติม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ติม
 
SCENARIO - FUTURE CITY. JUNE 18, 2018.
SCENARIO - FUTURE CITY. JUNE 18, 2018.SCENARIO - FUTURE CITY. JUNE 18, 2018.
SCENARIO - FUTURE CITY. JUNE 18, 2018.
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
 
Asian2030 thai vs japan
Asian2030 thai vs japanAsian2030 thai vs japan
Asian2030 thai vs japan
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...
การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...
การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...
 
TAT Tourism Journal 3/2014
TAT Tourism Journal 3/2014TAT Tourism Journal 3/2014
TAT Tourism Journal 3/2014
 
ธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยว
 
Varasan
VarasanVarasan
Varasan
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
FURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
FURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
FURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
FURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
FURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
FURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
FURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
FURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
FURD_RSU
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD_RSU
 
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
 
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
 
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
 
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
 

FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)

  • 1. ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม 2560 Urban Culture ทำไมเมืองต้องมีวัฒนธรรม Infographic อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้ำงเศรษฐกิจอย่ำงไร กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรม เมืองลาปาง ฉบับปฐมฤกษ์
  • 2. i | FURD Cities Monitor January 2017 บรรณาธิการ ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้ช่วยบรรณาธิการ อรุณ สถิตพงศ์สถาพร กองบรรณาธิการ ณัฐธิดา เย็นบารุง จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ออกแบบและรูปเล่ม อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ภาพปก จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ภาพในเล่ม จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ปาณัท ทองพ่วง อรุณ สถิตพงศ์สถาพร กรุ๊ปไลน์ “นครลาปาง” เผยแพร่ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 CONTACT US www.furd-rsu.org Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864 FURD Cities Monitor January 2017 | ii ในโอกาสที่ ปี 2560 นี้ย่างเข้าสู่ปีที่ 4 ของการดาเนินงานของศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ทีมงานสื่อสารสาธารณะจึงได้ปรับปรุงเนื้อหาและรูปแบบใหม่ของการนาเสนอข้อมูลและความรู้บน สื่อออนไลน์ให้มีความทันสมัย น่าสนใจ และมีสาระเข้มข้นมากขึ้น เพื่อให้ท่านผู้อ่านทั้งที่เป็นผู้นาเมือง ผู้สร้างบ้าน แปงเมือง นักปฏิบัติ และนักวิชาการ ตลอดจนผู้สนใจ ได้เข้าถึงสื่อและสารของศูนย์ฯ มากขึ้น ด้วยความตั้งใจของทีมงานศูนย์ฯ ที่ปรารถนาให้เมืองของไทยเต็มไปด้วยพลเมืองที่รักและภูมิใจในเมืองของตน หันกลับมาฟื้นฟูเมืองเพื่อความเป็นอยู่ของคนในเมือง วารสารออนไลน์ “FURD Cities Monitor” ฉบับปฐมฤกษ์นี้จึงถือ กาเนิดขึ้น ด้วยแนวคิดที่จะให้เป็นแหล่งข้อมูลความรู้การพัฒนาเมือง ทั้งที่เป็นเมืองของไทยและเมืองในต่างประเทศ แต่จะเน้นหนักมากเป็นพิเศษสาหรับเมืองของไทยเพื่อจะมุ่งนาเสนอในเชิงพัฒนาการความก้าวหน้าของเมือง รูปแบบกลไก การจัดการเมือง ตลอดจนนวัตกรรมที่สร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนและมีสุขภาวะ ฯลฯ พร้อมนี้ทีมงานของ ศูนย์ฯ เปิดกว้างสาหรับท่านผู้อ่านที่มีข้อมูลและความรู้ดีๆ มาร่วมแบ่งปันด้วย ในโอกาสปีใหม่ 2560 นี้จึงขออวยพรท่านผู้อ่านได้ประสบแต่เรื่องดีๆ ความรู้ดีๆ งานดีๆ สุขภาพดีๆ และชีวิตดีๆ ในเมืองที่ท่านอาศัย และขอขอบทุกท่านที่ติดตามผลงาน ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
  • 3. 1 | FURD Cities Monitor January 2017 ตวรรษที่ 21 กล่าวได้ว่าเป็นศตวรรษของเมือง จากข้อมูลของสานักงานประชากรแห่งสหประชาชาติในปี 2010 รายงานว่า เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่จานวนประชากรของโลกอาศัยในเมืองเกินกว่าที่อาศัยในเขตชนบทแล้ว ความ เป็นเมืองเป็นเสมือนประตูแห่งโอกาสทุกด้านของชีวิต ไม่ว่าจะเป็นโอกาสทางเศรษฐกิจ โอกาสทางการศึกษา โอกาสแห่ง การเรียนรู้ เพื่อตอบสนองความสมดุลให้กับชีวิต เมื่อความเป็นเมืองเป็นเสมือนพื้นที่แห่งโอกาส ความเป็นเมืองจึงผุดขึ้นทั่วโลก และทาหน้าที่ไม่แตกต่างกัน เมือง เป็นพื้นที่แห่งการค้า การแลกเปลี่ยน ความเจริญเติบโต อีกทั้งโลกแห่งเทคโนโลยีในปัจจุบันยิ่งเชื่อมโยงเมืองต่างๆ ให้เป็น หนึ่งเดียว คาถามคือว่า เมื่อความเป็นเมืองทาหน้าที่ไม่แตกต่างกัน ทุกเมืองมีการเจริญเติบโต แต่เหตุใดเมืองทั่วโลก ยัง มีอัตลักษณ์ หรือความแตกต่างบางอย่างที่ทาให้เมืองนั้นมีความโดดเด่น เหตุผลสาคัญนั่นก็คือ ทุกเมืองมี “วัฒนธรรม” เฉพาะของตัวเอง FURD Cities Monitor January 2017 | 2 วัฒนธรรมเมืองหมายถึงอะไร วัฒนธรรม (culture) เป็ นคาที่มี ความหมายหลากหลายและซับซ้อนมาก ที่สุด ความหมายจึงกว้างมาก หากเลือกคา นิยามของ UNESCO คาว่าวัฒนธรรม (culture) มีนิยามว่า “รูปแบบของกิจกรรม มนุษย์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นมีควำมโดดเด่น ทั้งรูปธรรมและมีควำมหมำยทำงจิ ต วิญญำณ ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คน หรือ สังคมนั้นผลิตสร้ำงขึ้น ด้วยกำรเรียนรู้จำก กันและกัน วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสำมำรถ แสดงออกผ่ำน ศิลปะ ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมำกรรม กำรละครและ ภำพยนตร์ หรือแสดงออกผ่ำนวิถีชีวิต (lifestyle) ซึ่งกำรแสดงออกเหล่ำนี้มักแฝงไป ด้วยคุณค่ำ ประเพณี และควำมเชื่อด้วย กิจกรรมเหล่ำนี้มักผ่ำนช่วงเวลำ กำร ผสมผสำน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง จนเป็น เอกลักษณ์ ของแต่ละกลุ่มหรือสังคมนั้น” ทาไมเมืองต้องสนใจวัฒนธรรม ตามรายงานของ World Cities Cul- ture Report in 2015 ไ ด้ แ ส ด ง ข้ อ มูล เกี่ยวกับบทบาทของวัฒนธรรม ว่าเป็นส่วน หนึ่งของความสาเร็จของเมืองที่ขาดไม่ได้ ไม่ใช่เพียงแค่ให้คนได้พื้นที่การแสดงออกที่ สร้างสรรค์ และยังมีนัยสาคัญทางเศรษฐกิจ ด้วย วัฒนธรรมมีความสาคัญต่อเมือง ดังนี้ ดึงดูดนักท่องเที่ยว เศรษฐกิจ เมืองใหญ่หลายเมืองทั่วโลกขับเคลื่อนด้วย เศรษฐกิจการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เป็นสัดส่วนการ ท่องเที่ยวที่มีมูลค่าสูง งานวิจัยในเมือง เวียนนา ประเทศออสเตรี ย พบว่า นักท่องเที่ยวจานวน 2 ใน 3 ของ นักท่องเที่ยวทั้งหมด ชื่นชอบการท่องเที่ยว แบบศิลปะและวัฒนธรรมของเมือง เป็ น เหตุผลสาคัญที่ทาให้มาท่องเที่ยวในเมือง เวียนนา งานวิจัยในเมืองลอนดอน ประเทศ อังกฤษ เผยว่า การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม สร้างมูลค่าต่อปี 7.3 พันล้านปอนด์ หรือ ประมาณ กว่า 313,900 ล้านบาท สะท้อน ให้เห็นว่าการท่องเที่ยวแบบวัฒนธรรมดึงดูด นักท่องเที่ยวได้จานวนมาก ดึงดูดแรงงานที่มีคุณภาพ ใน ตลาดด้านแรงงานของเมืองต่างๆ การมีงาน ที่ดีไม่ใช่เป็ นเพียงเหตุผลเดียวที่ดึงดูด แรงงานที่มีคุณภาพให้เข้ามาทางาน ผู้คน ต้องการมากกว่านั้น โดยเฉพาะการมี สภาพแวดล้อมหรือวัฒนธรรมของเมืองที่ เอื้อต่อการพักผ่อน เช่น การมีงานเทศกาล การมีสโมสร/ชมรม และแหล่งอาหารที่ หลากหลาย เป็นต้น นอกจากจะช่วยดึงดูด ผู้คนแล้ว วัฒนธรรมของเมืองยังมีผลในการ พัฒนาศักยภาพของแรงงานด้วย เมือง ใหญ่ๆ ของโลกจึงพัฒนาสภาพแวดล้อมทาง วัฒนธรรมที่เอื้อต่อการพักผ่อนของคน วัฒนธรรมเป็น soft power ที่ดีที่สุด วัฒนธรรมไม่ได้ตอบโจทย์ในการ แสดงออกหรือการพักผ่อนของคนเมือง แต่ วัฒนธรรมยังถูกใช้ให้เป็นประโยชน์ด้าน เศรษฐกิจในตลาดโลกด้วย ยกตัวอย่าง เช่น เมืองไต้หวัน ไต้หวันเป็นหนึ่งเมืองที่มีการ พัฒนาเศรษฐกิจที่สูง และประสบ ความสาเร็จในการเจาะตลาดคนจีน แผ่นดินใหญ่ เนื่องจากมีวัฒนธรรมและ ภาษาคล้ายกัน ในขณะเดียวกันเมืองไต้หวัน ยังสามารถเชื่อมกับตลาดนานาชาติด้วย  วัฒนธรรมเมืองของไทย ไม่ใช่แค่เพียงเมืองใหญ่ๆ ของโลกที่ ได้รับประโยชน์ที่หลากหลายจากการ สร้างสรรค์วัฒนธรรมเมือง เมืองของไทย หลายเมืองได้รับประโยชน์จากวัฒนธรรม ข อ ง เ มื อ ง ไ ม่ น้ อ ย โ ด ย เ ฉ พ า ะ กรุงเทพมหานคร ที่ได้รับประโยชน์ทาง เศรษฐกิจจากวัฒนธรรมของเมืองสูงมาก มี นักท่องเที่ยวจากทั่วโลกหลั่งไหลเข้ามา MasterCard Global Destination Cities Index เผยผลสารวจสุดยอดจุดหมาย ปลายทางยอดนิยมของนักท่องเที่ยวทั่วโลก ประจาปี 2559 โดยจัดอันดับสุดยอดจาก เมืองท่องเที่ยวที่สาคัญของโลกทั้ง 132 ประเทศ พบว่า กรุงเทพมหานคร ได้รับการ จัดอันดับเป็นเมืองท่องเที่ยวยอดนิยมอันดับ ที่ 1 ของโลก โดยมีจานวนนักท่องเที่ยว เดินทางมาเยือนถึง 21.47 ล้านคน เพราะ ความโดดเด่นทางวัฒนธรรมและราคาถูก แต่ไม่ใช่เพียงแค่ดึงดูดนักท่องเที่ยว กรุงเทพมหานครยังดึงดูดผู้คนจากทั่วทุก สารทิศให้เข้ามาศึกษา และทางาน จากการ เป็ นเมืองใหญ่ และการมีวัฒนธรรมของ เมืองที่หลากหลาย มีพื้นที่ในคนได้พักผ่อน เที่ยวเล่น เช่นโรงภาพยนตร์ โรงละคร พิพิธภัณฑ์ สวนสาธารณะ รวมไปถึงการมี พื้นที่สาธารณะให้คนเข้ามาแชร์ไอเดียใหม่ๆ ร่วมกัน เช่น ร้านกาแฟ ร้านหนังสือทางเลือก หรื อ office space จานวนมาก เป็ น วัฒนธรรมคนเมืองที่เอื้อให้เกิดการเรียนรู้ และความคิดสร้างสรรค์อย่างดี แปลและเรียบเรียงโดย ณัฐธิดำ เย็นบำรุง REFERENCE: - BOP Consulting Editorial Team. (2015). World Cities Culture Report 2015. World Cities Culture Forum. - Hedrick-Wong, Y. and Choong, D. (2016). Mastercard Global Destinations Cities Index 2016. Mastercard.
  • 4. 3 | FURD Cities Monitor January 2017 ารขยายตัวของเมืองและทุนนิยม ทาให้มรดกหรือวัฒนธรรมเมืองกลายเป็น ของที่หายากเข้าไปทุกวัน เนื่องจากการ อนุรักษ์มรดกเมืองมักถูกมองว่าเป็นขั้วตรง ข้ามกับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ขัดขวาง การเติบโตของรายได้ ยิ่งไปกว่านั้น เงินที่ ลงทุนไปกับการอนุรักษ์ก็ไม่คุ้มกับเงินที่ได้ กลับคืนมา และไม่คุ้มเท่ากับการเอาไป ลงทุนในธุรกิจขนาดใหญ่ ด้วยเหตุนี้จึงทา ให้เมืองหลายแห่งเลือกที่จะทุบทาลาย อาคารบ้านเรือนหรือชุมชนเก่าทิ้ง แล้วสร้าง เป็ นคอนโด ห้างสรรพสินค้าหรือโรงแรม มากกว่าที่จะอนุรักษ์ฟื้นฟูสถานที่เก่าแก่เพื่อ เก็บรักษาไว้ แต่ในปัจจุบัน งานวิจัยหลายชิ้น ค้นพบแล้วว่า ประโยชน์ทางเศรษฐกิจจาก การอนุรักษ์มรดกหรือวัฒนธรรมของเมืองมี มากกว่าที่เราคิด ซึ่งแบ่งออกได้เป็ น 5 ประการ ดังนี้ การสร้างงาน (Job Crea- tion) การก่อสร้างอาคารบ้านเรือนขึ้นใหม่ เน้นการใช้เครื่องไม้เครื่องมือช่วยทุ่นแรง พอๆ กับการจ้างแรงงานคน ขณะที่การ ซ่อมแซมอาคารเก่าจะใช้แรงงานคนใน สัดส่วนที่มากกว่า อีกทั้งต้องการช่างฝีมือ ท้ องถิ่นผู้ มีความเชี่ยวชาญในงาน สถาปัตยกรรมและศิลปกรรมแบบดั้งเดิม และใช้วัสดุก่อสร้างจากท้องถิ่น ลดการ นาเข้าวัสดุก่อสร้างที่มีราคาแพงจากพื้นที่ ภายนอก ดังนั้น การอนุรักษ์อาคารเก่าจึง ส่งผลให้เกิดการจ้างงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง เพิ่มขึ้นถึงร้ อยละ 10-20 กอปรกับผล การศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกาชี้ให้เห็น ว่าสาขาการอนุรักษ์ฟื้นฟู (Rehabilitation) ก่อให้เกิดรายได้สูงสุดราว 762,000 ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งสูงกว่าสาขาการก่อสร้าง ใหม่ ( New Construction) และสาข า อุตสาหกรรมการผลิต (Manufacturing) ที่ ก่อให้เกิดรายได้ราว 653,000 ดอลลาร์ สหรัฐ และ 515,000 ดอลลาร์สหรัฐ ตามลาดับ การฟื้นฟูเขตเมืองชั้นใน (Inner City Revitalization) ประสบการณ์ จากประเทศเนเธอร์แลนด์ ชี้ให้เห็นว่า ทุก ๆ หนึ่งยูโรที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนการ บูรณะฟื้นฟูของประเทศเนเธอร์แลนด์ (The Dutch Restoration Fund) จะกระตุ้นให้เกิด การลงทุนสมทบเพิ่มเติมจากภาคเอกชนสูง มากถึง 3 เท่า และก่อให้เกิดการจ้างงาน โดยตรง ในทางตรงข้าม ทุกปีที่การบูรณะ ฟื้นฟูอนุสาวรีย์ถูกเลื่อนออกไป จะทาให้ ค่าใช้จ่ายสูงขึ้นถึงร้อยละ 15 การท่องเที่ยวในแหล่งมรดกทาง วัฒนธรรม Heritage Tourism) การ ท่องเที่ยวประเภทนี้นับเป็นส่วนหนึ่งของการ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (Cultural Tourism) และเป็นสาขาหลักของอุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยวที่มีอัตราการเจริญเติบโตอย่าง รวดเร็ว ซึ่งเป็ นผลจากการที่ผู้คนในยุค Baby Boom ที่เกิดในช่วงทศวรรษที่ 1950 ได้กลายมาเป็ นประชากรกลุ่มใหญ่ใน ปัจจุบันที่มีกาลังซื้อสูงและให้คุณค่ากับ มรดกทางวัฒนธรรมในพื้นที่ต่างๆ ทั่วโลก FURD Cities Monitor January 2017 | 4 นักท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจึงเป็ นกลุ่ม นักท่องเที่ยวที่ใช้ระยะเวลาพานักอยู่ใน จุด ห ม า ยป ลา ย ทา ง ย า วน า น ก ว่า นักท่องเที่ยวกลุ่มอื่น มีอัตราการกลับมา เที่ยวซ้าสูง และใช้จ่ายเงินท่องเที่ยวต่อครั้ง สูงกว่านักท่องเที่ยวกลุ่มอื่นถึง 2.5 เท่า การเพิ่มมูลค่าสินทรัพย์บนที่ดิน (Property Values) ในหลายประเทศ อย่างเช่นสหรัฐอเมริกา มีผลการศึกษาวิจัยที่ แสดงให้เห็นว่าการอนุรักษ์อาคารในย่าน ประวัติศาสตร์ส่งผลต่อการเพิ่มมูลค่า สินทรัพย์บนที่ดินในหลายพื้นที่ เช่น เมืองทั้ง 6 แห่งในมลรัฐแมรี่แลนด์ (Maryland) อัตรา การเพิ่มมูลค่าสินทรัพย์บนที่ดินในย่านเมือง เก่าสูงกว่าเขตเมืองทั้งหมดถึง 5 แห่ง ได้แก่ เมือง Annapolis เมือง Chestertown เมือง Frederick เ มื อ ง Laurel แ ล ะ เ มื อ ง Mt.Vernon-Baltimore ยกเว้นเมือง Berlin ที่ อัตราการเพิ่มขึ้นของมูลค่าสินทรัพย์ในย่าน เมืองเก่าและเขตเมืองทั้งหมดใกล้เคียงกัน การบ่มเพาะธุรกิจขนาดเล็ก (Small Business Incubation) ใ น ป ร ะ เ ท ศ ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า ความสาเร็จของโครงการฟื้นฟูเขตเมือง ชั้นในเกือบทั้งหมดเกิดจากการผนวกรวม เอาการอนุรักษ์แหล่งประวัติศาสตร์เข้าไป เป็นองค์ประกอบหลักของยุทธศาสตร์การ ดาเนินงาน กว่า 30 ปีที่ผ่านมา ชุมชนที่ติด ถนนสายหลัก (Main Street Community) ได้รับเงินทุนสนับสนุนเพื่อปรับปรุงสภาพ ทางกายภาพมากกว่า 23.3 พันล้านเหรียญ สหรัฐ โดยเป็นโครงการก่อสร้างและฟื้นฟู อาคารจานวน 107,179 แห่ง ส่งผลให้มี ธุรกิจเกิดใหม่มากถึง 67,000 ธุรกิจ และ สร้างงานใหม่ได้กว่า 308,370 งาน ประสบการณ์จากเมืองต่าง ๆ ชี้ให้เห็นว่า การเติบโตของเศรษฐกิจเมืองไม่ จาเป็ นต้องพึ่งแต่นายทุนใหญ่หรือธุรกิจ ขนาดใหญ่เสมอไป เมืองอาจหันมาเลือก อนุรักษ์ ฟื้นฟูและรักษาของเดิมของดีที่มีอยู่ ให้เป็นจุดเด่นที่หาไม่ได้จากเมืองอื่น เพื่อ ดึงดูดความสนใจจากนักท่องเที่ยวให้เข้ามา เยี่ยมชมและจับจ่ายใช้สอยซื้อสินค้าภายใน เมือง จนเกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ใน อีกทางหนึ่ง การอนุรักษ์มรดกเมืองก็ถือเป็น การเสริมสร้ างความแข็งแกร่งให้แก่ อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ซึ่งเป็นหัวใจสาคัญ ที่จะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ให้แก่ผู้ประกอบการท้องถิ่น ส่งผลให้ เศรษฐกิจประเทศในภาพรวมมีศักยภาพ มากขึ้นด้วย ฉะนั้นแล้ว มรดกหรือวัฒนธรรม เมืองควรถูกมองว่าเป็นสินทรัพย์หรือทุนของ เมืองมากกว่าเป็นแค่สิ่งกีดขวางการพัฒนา อย่างที่คนส่วนใหญ่เคยมอง แปลและเรียบเรียงโดย ปำริชำติ อ่อนทิมวงค์ อรุณ สถิตพงศ์สถำพร REFERENCE : - Steekelenburg, Ester Van. (2016). “Economisc of Heritage.” ในโครงกำรฝึกอบรม “กำรจัดทำนครลำปำงให้เป็นเมืองน่ำอยู่โดยกำร ปกป้ องรักษำมรดกอันมีคุณค่ำของเมือง” เมื่อวันที่ 10-15 มกรำคม 2559 ณ บ้ำนบริบูรณ์ ลำปำง.
  • 5. 5 | FURD Cities Monitor January 2017 ปางเป็ นเมืองเก่าแก่ที่มี ประวัติศาสตร์มายาวนานกว่า 1,300 ปี ครั้ง หนึ่งเมืองแห่งนี้เคยมีบทบาทเป็นศูนย์กลาง การค้าไม้สักที่สาคัญของภาคเหนือ ทาให้มี พ่อค้าทั้งจากยุโรป จีนและพม่าหลั่งไหลเข้า มาลงทุนทาธุรกิจมากมาย ชาวต่างชาติ เหล่านี้ได้สร้ างอาคารพาณิชย์ ร้ านค้า บ้านพักอาศัยของคหบดีและวัดวาอาราม กระจายอยู่ทั่วเมืองลาปาง ซึ่งสถาปัตยกรรม เหล่านี้ยังคงไว้ซึ่งร่องรอยการผสมผสานของ ศิลปวัฒนธรรมหลากเชื้อชาติมาให้เห็น จนถึงทุกวันนี้ วัดวาโบราณอายุนับร้ อยปี เป็ น โบราณสถานที่สามารถพบเห็นได้ทั่วเมือง ลาปาง เฉพาะในเขตเทศบาลนครลาปางที่มี พื้นที่ 22.17 ตารางกิโลเมตร มีวัดมากถึง 47 แห่ง วัดส่วนใหญ่ถูกสร้างและตกแต่งด้วย ศิลปกรรมที่ได้รับอิทธิพลมาจากไทใหญ่ เช่น วัดศรีชุม วัดพม่าที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีวิหารที่แกะสลักด้วยไม้สักอายุกว่า 150 ปี และวัดปงสนุก สร้างเมื่อ พ.ศ.1223 หรือ 1,337 ปี ก่อน เป็ นวัดที่ได้รับรางวัลดี (Award of Merit) ด้านการอนุรักษ์มรดก ทางด้านวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค ตามโครงการ 2008 Asia-Pacific Heritage Award for Cultural Heritage Conserva- tion จากองค์การ UNESCO เป็ นต้ น นอกจากนี้เขตเมืองชั้นในของลาปางยังพบ อาคารเก่าแก่แบบตะวันตกและแบบจีนที่ V i b r a n t L A M P A N G  FURD Cities Monitor January 2017 | 6 สวยงามมีเอกลักษณ์กระจายอยู่โดยรอบ เช่น บ้ำนหลุยส์ เลียวโนเวนส์ เรือนไม้ โบราณกึ่งปูนทรงปั้นหยาสองชั้นซึ่งตกแต่ง ด้วยศิลปกรรมโคโลเนียล อำคำรหม่องโง่ย ซิ่น เรือนขนมปังขิงหลังคาทรงมะนิลา อำคำรเยียนซีไท้ลีกี อดีตห้างสรรพสินค้าที่ ใหญ่ที่สุดในย่านตลาดจีน ฯลฯ กลุ่มคนเล็กๆ ในลาปางที่มีความ มุ่งมั่น เป็นพลเมืองตื่นรู้ (active citizen) ที่ โหยหาเสน่ห์ คุณค่าและวิถีชีวิตอันเป็นจิต วิญญาณของเมือง (spirit of the city) เข้า มาขับเคลื่อนรักษาชุมชนของตน และลุก ขึ้นมาสร้างเมืองให้ดีขึ้น ทาให้เมืองลาปาง เป็นเมืองที่มีเอกลักษณ์ มีชีวิตชีวาอีกครั้ง  ฟื้นฟูกาดกองต้า การจัดการ พื้นที่สาธารณะของคนลาปาง คนลาปาง ไม่มีใครไม่รู้จัก กาดกองต้า.... กาดกองต้าถูกรื้อฟื้นมาด้วยโครงการถนน คนเดินกาดกองต้าครั้งแรก พ.ศ. 2541 โดย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) แต่ไม่ ประสบความสาเร็จเท่าที่ควร จนในช่วง สงกรานต์ พ.ศ. 2548 ชาวชุมชนกาดกองต้า ทั้งส่วนกองต้าเหนือ และกองต้าใต้เข้ามีส่วน ร่วมเข้ามีส่วนร่วมในการจัดการถนนกาด ก อ ง ต้ า อ ย่ า ง เ ต็ ม ที่ มี ก า ร จั ด ตั้ง คณะกรรมการบริหารจัดการตลาดโดยคนใน ชุมชน นาโดยโกชัย-เกียรติชัย มานะศิลป์ และนักประชาสัมพันธ์ ไตรเทพ บุญเฮง ร่วมมือกับกลุ่มนักวิชาการ ที่ศึกษา ประวัติศาสตร์ของย่าน ประวัติศาสตร์ของ บ้านเรือน ทาให้กาดกองต้าถึงจุดเปลี่ยน กลายเป็นถนนคนเดินกาดกองต้าที่เราเห็น และรู้จักเช่นทุกวันนี้ทุกเสาร์ – อาทิตย์ จะ เห็นการรวมตัวของคนลาปางทั้งพ่อค้า แม่ค้า และคนทั่วไป เดินทากิจกรรมขายของ จับจ่าย การบริโภคอย่างคึกคักมาก  เปิดบ้านบริบูรณ์ จุดเด่นของ กาดกองต้า กาดกองต้า ไม่ใช่เพียงแค่ตลาด แต่ เป็นถนนคนเดินที่มีเรื่องราวประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรมของเมือง โดยเฉพาะ สถาปัตยกรรมที่หลงเหลืออยู่ หนึ่งในนั้น คือ บ้านบริบูรณ์ เดิมบ้านบริบูรณ์เป็นบ้านของ หม่องยี หรือ นายใหญ่ บริบูรณ์ คหบดีชาว พม่าที่ทรงอิทธิพลคนหนึ่งในเมืองลาปาง และแม่เลี้ยงป้ อม สันนิษฐานว่าสร้างขึ้น ประมาณ พ.ศ. 2461-2471 ให้ เป็ น ศูนย์กลางธุรกิจของพ่อค้าชาวพม่า ชาวจีน ชาวอินเดีย ที่เข้ามาทาการค้าขายในลาปาง ปัจจุบันมูลนิธินิยม ปัทมะเสวี ได้เข้า ซื้อบ้านบริบูรณ์ ปรับปรุงให้สวยงาม และ เปิดบ้านบริบูรณ์เป็นหอศิลป์ แห่งที่ 2 ของ จังหวัดลาปาง โดยก่อนหน้านี้มูลนิธินิยม ฯ ได้สร้างหอศิลป์ แห่งแรก ซึ่งตั้งในกาดกองต้า เช่นเดียวกัน จัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้าน วัฒนธรรมสาหรับเยาวชนคนรุ่นใหม่ ให้รู้จัก รักและอนุรักษ์ศิลปกรรมของเมือง และที่ สาคัญสร้างความภูมิใจในความเป็นเมือง ลาปางที่รุ่งเรืองในอดีต โดยไม่แสวง ผลประโยชน์หากาไรใดๆ บ้านบริบูรณ์ใน ฐานะหอศิลป์ แห่งที่ 2 พื้นที่สาหรับการจัด กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมกันของคน ลาปาง เช่น งานแสดงดนตรี การแสดงสินค้า พื้นเมือง งานเลี้ยง การประชุม งานอบรม ต่างๆ เป็นต้น ซึ่งได้รับความสนใจจากทั้งคน ลาปาง และคนในพื้นที่ใกล้เคียงเข้ามาใช้ สถานที่ในการจัดกิจกรรมต่างๆ C i v i l M o v e m e n t
  • 6. 7 | FURD Cities Monitor January 2017 จากถนนที่เป็ นเพียงที่รองรับการ สัญจรของผู้คน ได้กลายเป็นถนนคนเดิน ขนาดใหญ่ที่ขยายความใหญ่ทั้งสุดถนน ไป ตามตรอกซอกซอย ถนนคนเดินกาดกองต้า จึงไม่ใช่แค่การสร้างพื้นที่ตอบโจทย์ทาง เศรษฐกิจ แต่เป็ นการรื้อฟื้นถนนที่แสน ธรรมดาให้กลายเป็นพื้นที่สาธารณะ สร้าง เป็ นตลาดนัดที่คนส่วนใหญ่สนใจ และ ปรับปรุงบ้านหลายหลัง เพื่อเป็นพื้นที่ให้คน ได้แสดงออกตามวัฒนธรรม ประเพณี ท้องถิ่นของเมือง กาดกองต้าจึงเป็นพื้นที่ สาธารณะที่ช่วยคนลาปางได้พบปะ สร้าง ปฏิสัมพันธ์ต่อกัน ช่วยให้ลาปางกลายเป็น เมืองที่มีชีวิตชีวามากขึ้น ลาปางวันนี้มีการเปลี่ยนแปลงของ วิถีชีวิตจากความเป็นเมืองสมัยใหม่ที่คืบ คลานไปในทุกที่ แต่ถึงกระนั้นพื้นที่เมืองใน ลาปางบางส่วนเริ่มมีแนวโน้มมุ่งสู่การเป็น เมืองอนุรักษ์ การฟื้นถนนคนเดินกาดกองต้า และการเปิดบ้านบริบูรณ์ เป็นเพียงส่วนหนึ่ง ของกระบวนการในรื้อฟื้นและรักษา วัฒนธรรมของเมือง ในลาปางยังมีหลาย กลุ่มที่มีบทบาทในการรื้อฟื้นและรักษา วัฒนธรรมของเมือง ไม่ว่าจะเป็น การฟื้น ถนนสายวัฒนธรรม ณ ถนนวังเหนือ การ อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนปง สนุก หรือการรวมกลุ่มผลักดันให้ศาลา กลางเปลี่ยนเป็นหอศิลป์ ลาปาง เป็นต้น FURD Cities Monitor January 2017 | 8 “ ...ในการพัฒนาเมืองใด ๆ สิ่งที่สาคัญที่สุดคือ การที่คนในเมืองหันมา เป็นส่วนหนึ่งที่สร้างสรรค์สิ่งดี ๆ ให้กับเมือง ไม่ว่าจะเป็นการร่วมมือกับ รัฐ หรือต่อรองกับภาครัฐเมื่อมีโครงการที่มีผลกระทบต่อเมือง ท้ายที่สุด จะทาให้พวกเขาเป็นส่วนหนึ่งของเมือง เป็นเจ้าของเมือง และเมืองจะ กลายเป็นเมืองที่ไม่ใช่แค่มีผู้คนอาศัย แต่เป็นเมืองที่มีจิตวิญญาณของ ผู้คนที่หันมากระทาสิ่งดี ๆ ต่อเมืองร่วมกัน สอดรับกับคากล่าวของ รุสโซ่ว่า “House make a town, but citizens make a city” ซึ่งแปลได้ว่า บ้านทาให้ที่นั้นดูเป็นเมือง แต่พลเมืองต่างหากทาให้ที่นั้นเป็นนครหรือ เมืองจริง ๆ... ”
  • 7. 9 | FURD Cities Monitor January 2017 ภายใต้ กรอบการทางานของ UNESCO แผนที่วัฒนธรรมเป็นเครื่องมือ พื้นฐานในการปกป้ องรักษาความ หลากหลายทางวัฒนธรรม (Safeguard Cultural Diversity) โดยมีเป้ าหมายเพื่อ สร้างการรับรู้อัตลักษณ์ของชุมชน ซึ่งเป็นผล จากการที่ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเก็บ ข้อมูล คนในพื้นที่จึงเกิดความรู้และเข้าใจใน มรดกทางวัฒนธรรมของตน เกิดความ ตระหนัก สานึกถึงอัตลักษณ์ของชุมชน นาไปสู่การสร้างแรงบันดาลใจและคุณค่า ร่วม (Core Value) ในการปกป้ องรักษา จารีต ประเพณี วัฒนธรรม และทรัพยากร ของชุมชนต่อไป ปัจจุบัน เมืองลาปางกาลังนาแผนที่ วั ฒ น ธ ร ร ม Cultural Mapping) เ ป็ น เครื่องมือสาคัญในการอนุรักษ์มรดกทาง วัฒนธรรมของเมือง เพื่อสร้างสมดุลระหว่าง การอนุรักษ์วัฒนธรรมและเสริมเสร้ าง เศรษฐกิจเมืองให้เกิดขึ้น โดยนาแนวคิด แผนที่วัฒนธรรมมาประยุกต์ใช้กับ iDiscov- er City Walks แอปพลิเคชั่นแนะนาเส้นทาง เดินเท้าเพื่อเยี่ยมชมย่านเมืองเก่า จัดทา เส้นทางเดินเท้าเพื่อเยี่ยมชมมรดกทาง วัฒนธรรมที่กระจายตัวอยู่ในย่านเก่าแก่ที่มี ความสาคัญทางประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของเมือง ซึ่งจาแนก สถานที่ออกเป็น 5 ประเภทคือ แหล่งที่น่าชม (iSEE) แหล่งซื้อสินค้ า(iSHOP) แหล่ง เครื่องดื่ม (iDRINK) แหล่งอาหาร(iEAT) และแหล่งที่มีเรื่องราวอันน่าประหลาดใจ (iSURPRISE) เมืองลาปาง ได้ดาเนินการวางจุด ย่านวัฒนธรรม โดยใช้ย่านการค้าเก่าริม แม่น้าวัง หรือย่านตลาดจีน (กาดกองต้า) ดัง แผนที่ข้างล่าง แม้ปัจจุบันย่านตลาดจีนจะ ไม่ใช่ย่านการค้ าที่สาคัญที่มีความ เจริญรุ่งเรืองเฟื่องฟูเหมือนในอดีตเมื่อร้อย กว่าปีที่ผ่านมา ทว่าผู้คนก็ยังดารงอยู่ด้วย กิจการเล็กๆ ที่สืบทอดมาแต่ครั้งอดีต จาพวกร้านค้า ร้านอาหาร โดยมีกิจการ ใหม่ๆ เช่น ร้านกาแฟ ร้านขายของที่ระลึก ที่ พักแรมขนาดเล็ก (Guesthouse) รวมถึง “ถนนคนเดินกาดกองต้า” เป็นศูนย์รวมใน การฟื้นฟูเศรษฐกิจการค้าและจิตวิญญาณ ของย่านเมืองเก่าลาปางให้คืนมาคึกคักอีก ครั้งตั้งแต่ปี 2548 เป็นต้นมา ปัจจุบัน เมืองลาปางได้ดาเนินการ หาข้อมูล และวางจุดที่ตั้งวัฒนธรรมทั้ง 5 C u l t u r a l M a p p i n g ที่มา : Steekelenburg, Ester Van (2016) FURD Cities Monitor January 2017 | 10 ประเภทเรียบร้อยแล้ว โดยกระบวนการดาเนินงานตั้งแต่สารวจ และสัมภาษณ์ การสังเคราะห์ข้อมูล และการบันทึกข้อมูล กระทา ด้วยการมีส่วนร่วมของคนลาปางทุกขั้นตอน และกาลังดาเนินการ เพื่อต่อยอดเป็น แอปพลิเคชั่น iDiscover City Walks อย่างเต็ม รูปแบบ และคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนที่วัฒนธรรมดังกล่าว จะ ช่วยสร้างความเข้าใจเรื่องวัฒนธรรมให้คนลาปาง รวมถึงคน ภายนอกที่สามารถมั่นใจได้เลยว่า ทุกจุดมีคุณค่า มีเรื่องราว เป็น วัฒนธรรมท้องถิ่นของคนลาปางจริงๆ เขียนโดย ณัฐธิดำ เย็นบำรุง จุฑำมำศ พูลสวัสดิ์ REFERENCE : - Steekelenburg, Ester Van. (2016) “iDiscover City Walk of Lam- pang”. ในโครงกำรฝึกอบรม “กำรจัดทำนครลำปำงให้เป็นเมืองน่ำอยู่โดย กำรปกป้ องรักษำมรดกอันมีคุณค่ำของเมือง” เมื่อวันที่ 10-15 มกรำคม 2559 ณ บ้ำนบริบูรณ์ ลำปำง. - กิติศักดิ์ เฮงษฎีกุล. (2553). กาดกองต้า ย่านเก่าเล่าเรื่องเมืองลาปาง. มูลนิธินิยม ปัทมะเสวี. - ปาริชาติ อ่อนทิมวงค์. (2559). การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้าน การพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City Walks Application. แผนงำน นโยบำยสำธำรณะเพื่อกำรพัฒนำอนำคตของเมือง โดยกำรสนับสนุนของ สำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ. - สามารถ สุวรรณรัตน์. (2559). แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคมเพื่อการ พัฒนาเมืองในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ : เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง แม่ฮ่องสอน แพร่. แผนงำนนโยบำยสำธำรณะเพื่อกำรพัฒนำอนำคตของ เมือง โดยกำรสนับสนุนของสำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ.
  • 8. 11 | FURD Cities Monitor January 2017 ญหาการจราจรเป็นปัญหา เรื้อรังของเมืองที่กาลังพัฒนามาหลายสิบปี นับวันคนยิ่งเข้ามาอาศัยอยู่ในเมืองกันมาก ขึ้นและต่างหันมาใช้รถยนต์ส่วนตัวกัน เพิ่มขึ้นทุกปี โดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร เมืองที่ได้รับการจัดอันดับให้เป็นเมืองที่รถ ติดมากที่สุดเป็นอันดับสองของโลก ใน ค.ศ. 2015 ยิ่งไปกว่านั้น ภาครัฐมักมุ่งแต่ สนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนต์เพื่อการ เติบโตทางเศรษฐกิจ ต่างจากเมืองที่พัฒนา แล้วที่หันกลับมาเน้นนโยบายการพัฒนา ทางเท้าทางจักรยาน อันเป็นแนวทางที่นา เมืองไปสู่สุขภาวะที่ดีและสร้างเศรษฐกิจได้ อย่างรอบด้าน ด้วยเหตุนี้ทางศูนย์ศึกษา มหานครและเมืองจึงได้เรียบเรียงบทความ ชิ้นนี้ขึ้นมา ซึ่งสรุปได้ดังนี้ การปั่นจักรยานกับการพัฒนา เศรษฐกิจเมือง ในทุก ๆ ปี การเดินทางด้วยจักรยาน เป็ นกิจกรรมที่สร้ างผลประโยชน์ทาง เศรษฐกิจให้กับสหภาพยุโรปมากถึง 5.13 แสนล้านยูโรต่อปี (แผนภาพที่ 1) หรือ มากกว่า 1 พันยูโรต่อคนต่อปี ซึ่งเป็นข้อมูล จากรายงาน “The EU Cycling Economy : Arguments for an integrated EU cycling policy” ของสมาพันธ์ผู้ใช้จักรยานแห่ง สหภาพยุโรป (European Cyclists' Feder- ation – ECF) โฮลเกอร์ ฮาวโบลด์ (Holger Hau- bold) หนึ่งในผู้เขียนรายงานได้กล่าวว่า การ พัฒนาความปลอดภัยด้านโครงสร้ าง พื้นฐานเป็ นส่วนสาคัญที่จะก่อให้เกิด ที่มา : Neun, M. and Haubold, H. (2016) แผนภาพที่ 1 มูลค่าผลประโยชน์ ที่เกิดจาก การปั่นจักรยาน FURD Cities Monitor January 2017 | 12 เศรษฐกิจตามมา ยกตัวอย่างเช่น โครงการ “Bike2Work” ที่รณรงค์ให้ คนเมืองปั่ น จักรยานไปทางาน ซึ่งมีการจูงใจทั้งทางการ คลังและการเงิน รวมถึงการเติบโตของ นักท่องเที่ยวที่เดินทางด้วยจักรยาน และ ระบบ E-Cycling ที่ช่วยเปิดประสบการณ์ ใหม่ให้กลุ่มผู้ที่ไม่เคยปั่นจักรยานมาก่อน ทาให้ตลาดจักรยานเติบโต โดยเฉพาะใน ประเทศเยอรมัน เนเธอร์แลนด์ และเบล เยี่ยม ประเด็นต่อมา โฮลเกอร์ได้กล่าวถึง แนวทางการสร้ างผลประโยชน์ทาง เศรษฐกิจในอนาคต ในขั้นแรก เราควรเริ่ม จากการนายุทธศาสตร์การใช้จักรยานแห่ง สหภาพยุโรป (EU Cycling Strategy) ไปใช้ เพื่อประสานนโยบายด้านการใช้จักรยาน ของแต่ละพื้นที่ในยุโรปให้มีความสอดคล้อง กัน ส่วนภาครัฐมีหน้าที่ให้ทุนสนับสนุนการ ปั่นจักรยานและสร้างแรงจูงใจทางการคลัง ให้คนหันมาปั่นจักรยานไปทางาน อีกทั้ง ควรผนวกระบบ E-Cycling เข้าไปอยู่ใน ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนด้วยพลังงาน ไฟฟ้ า (Electro-mobility) และให้เงินทุน สนับสนุนการใช้จักรยานไฟฟ้ า (E-Bike) นอกจากนี้ ควรสนับสนุนนักท่องเที่ยวที่ เดินทางด้วยจักรยาน ควบคู่ไปกับการสร้าง โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว เหล่านี้ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด ด้วย ประโยชน์ของการปั่นจักรยาน ในขณะเดียวกัน ข้อมูลจากรายงาน ยังชี้ให้เห็นว่า การปั่นจักรยานไม่ได้สร้าง ผลประโยชน์เพียงแค่ทาให้การคมนาคม หรือสิ่งแวดล้อมดีขึ้นเท่านั้น แต่ยังส่งผลดี ต่อภาคอุตสาหกรรม การจ้างงาน สุขภาพ และสังคมอีกด้วย ยกตัวอย่างประโยชน์ที่ สังคมจะได้รับ เช่น ผู้ลี้ภัยมีความกลมกลืน กับสังคมมากขึ้น คนเมืองเข้าถึงการขนส่งได้ ง่ายขึ้น แรงงานมีความสามารถในการ ทางานมากขึ้น เป็นต้น ส่วนด้านที่ได้รับ ประโยชน์จากการเดินทางด้วยจักรยานมาก ที่สุด คือ ด้านสุขภาพ เพราะการปั่น จักรยานส่งผลโดยตรงให้ผู้ขับขี่มีสุขภาพที่ดี และมีอายุที่ยืนยาวขึ้น เมื่อคนเมืองมี สุขภาพดี มีคนป่ วยลดลงแล้ว ก็ส่งผล สืบเนื่องให้ภาครัฐประหยัดงบประมาณใน ด้านสาธารณสุขได้มากขึ้นอีกด้วย ภาครัฐควรสนับสนุนการปั่น จักรยานเป็นอันดับต้น ๆ “การปั่นจักรยาน” นับเป็นหนทาง หนึ่งที่นาไปสู่การแก้ปัญหาการจราจร ภายในเมืองได้อย่างยั่งยืน เพราะการปั่น จักรยานสามารถพัฒนาเศรษฐกิจเมืองไป พร้อม ๆ กับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้ อีก ทั้งยังช่วยเสริมสร้างให้คนเมืองมีสุขภาวะที่ ดี แตกต่างจากการเดินทางด้วยวิธีอื่นที่มัก ก่อให้เกิดความแออัดตามมา จักรยานจึง เป็ นวิธีการเดินทางหนึ่งที่ภาครัฐควร สนับสนุนให้คนเมืองหันมาใช้เป็นอย่างยิ่ง อย่างไรก็ตาม ทุกวันนี้ภาครัฐทั้ง ส่วนกลางและท้องถิ่น ยังให้ความสนใจกับ โครงการสนับสนุนการปั่นจักรยานไม่มาก นัก ซึ่งแท้จริงแล้ว ภาครัฐควรหันมาให้ ความสาคัญกับการปั่นจักรยานเป็นอันดับ ต้น ๆ ด้วยการออกนโยบายสนับสนุนอย่าง จริงจังและครอบคลุมทั้งระบบ โดยเริ่มจาก การพิจารณาจากประโยชน์ที่ได้รับจากการ ปั่นจักรยานให้รอบด้าน ดังคากล่าวของโฮล เกอร์ที่ทิ้งท้ายไว้ว่า “การมองประโยชน์จาก การปั่นจักรยานแบบองค์รวม จะทาให้ ภาครัฐเข้าใจและออกนโยบายร่วมกับผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละพื้นที่ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ” แปลและเรียบเรียงโดย อรุณ สถิตพงศ์สถำพร REFERENCE : - Michell, N. (2016). Cycling creates €513 billion annually in Europe, says new report. Cities Today. Retrieved from https://cities- today.com/cycling-creates-e513-billion- annually-europe-says-new-report - Neun, M. and Haubold, H. (2016). The EU Cycling Economy – Arguments for an integrat- ed EU cycling policy. European Cyclists’ Fed- eration, Brussels. - TomTom. (2016). Traffic Index. Retrieved from TomTom Traffic Index, http:// www.tomtom.com/en_gb/trafficindex/list
  • 9. 13 | FURD Cities Monitor January 2017 นวันที่พื้นที่ต่างๆ ทั่วโลก เปลี่ยนจากชนบทสู่เมือง มิได้มีเฉพาะความ ทันสมัยและความสะดวกสบายเท่านั้นที่ เกิดขึ้น แต่เมืองจานวนมากยังต้องเผชิญกับ ปัญหาหลากหลายที่ขัดขวางการพัฒนา ทั้ง ความไม่เท่าเทียมในสังคมและบริการ สาธารณะที่ไม่ทั่วถึง รวมไปถึงมลพิษทาง สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ บรรดาเมืองใหญ่ และมหานครในปัจจุบันจึงมีล้วนมีความหวัง ที่จะมุ่งสู่การเป็นเมืองน่าอยู่มากขึ้น รายงานของ Metropolis Observato- ry ได้อธิบายถึงแนวโน้มและทิศทางของมหา นครทั่วโลกซึ่งให้ความสาคัญกับการปฏิรูป และขับเคลื่อนโครงสร้างธรรมาภิบาลเพื่อ นาไปสู่การวางแผนประสานงานและการ จัดบริการสาธารณะที่มีคุณภาพโดยจะต้อง ขจัดความขาดแคลนต่างๆ ให้หมดไปทั้ง ด้านที่อยู่อาศัย การศึกษา สาธารณสุข อาหารและพลังงาน นอกจากนี้รายงานวิจัย ของ Mariona Tomàs ผู้เชี่ยวชาญด้าน รัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยบาเซโลน่ายังยก ให้เมืองเป็ นเครื่องมือสาคัญสาหรับการ พัฒนา ผู้นาเมืองจะต้องสร้างและขยาย “วิสัยทัศน์เมือง” ให้เป็ นแนวทางการ วางแผนและสร้างระบบบริหารจัดการที่ดี ตัว แบบใหม่นี้เป็นสิ่งจาเป็นที่จะช่วยลดความ แตกแยกและความไม่เท่าเทียมระหว่างคน กลุ่มต่างๆ ในเมืองลงได้ อย่างไรก็ดี Tomàs ได้เน้นย้าถึงความท้าทาย 4 ประการที่ควร พิจารณาในการสร้างธรรมาภิบาลของเมือง อันได้แก่ การกาหนดหน้าที่ เท่าที่ผ่านมา แผนพัฒนาเมืองส่วนใหญ่มักมุ่งไปที่ Hard Policy หรือนโยบายที่เน้นเฉพาะการสร้าง หรือพัฒนาเชิงวัตถุ อย่างโครงสร้างพื้นฐาน ระบบขนส่งสาธารณะ มากเป็ นพิเศษ ขณะที่แผนดังกล่าวให้ความสาคัญกับ Soft Policy หรือนโยบายพัฒนาเชิงโครงสร้างใน ระยะยาวน้อยลงไป เช่น นโยบายการศึกษา สาธารณสุข บริการสาธารณะ ปัจจุบัน รัฐบาลท้องถิ่นหรือผู้กาหนดนโยบายจึง ประสบปัญหาในการสร้างสมดุลของการ พัฒนาทั้งสองด้านอยู่ไม่น้อย การระดมทุน ประเด็นเรื่อง งบประมาณนับเป็นปัญหาสาคัญอีกหนึ่ง ประการที่เมืองต้องเผชิญ เนื่องจากเงินทุนที่ รัฐบาลท้องถิ่นของแต่ละเมืองหามาได้มี จานวนไม่เพียงพอสาหรับการแก้ปัญหา ทั้งหมดของเมือง อีกทั้งงบประมาณส่วน ใหญ่ยังเป็นทุนที่ได้รับการจัดสรรจากรัฐบาล ส่วนกลางจึงทาให้มีข้อจากัดในการนาไปใช้ FURD Cities Monitor January 2017 | 14 ประโยชน์มากกว่าเงินที่ท้องถิ่นระดมทุนมา ด้วยตนเอง โดยมหานครลอนดอนเป็ น ตัวอย่างหนึ่งของเมืองที่ยังคงพึ่งพาเงิน อุดหนุนจากรัฐบาลส่วนกลางในระดับสูงซึ่ง การสนับสนุนดังกล่าวได้กลายเป็นดาบสอง คมที่ฉุดรั้งการพัฒนาเมืองไปในเวลา เดียวกัน เครื่องมือทางการคลังรูปแบบใหม่ จึงเป็นความหวังที่จะช่วยปฏิรูปให้เมืองมี ระบบการระดมทุนที่มีประสิทธิผลยิ่งขึ้น การมีส่วนร่วมของคนเมือง ที่มาของบุคลากรซึ่งทาหน้าที่บริหารจัดการ ท้องถิ่นซึ่งมีอยู่ในปัจจุบันโดยปกติแล้วจะมิ ได้มาจากการเลือกตั้งทางตรงของคนใน พื้นที่หรือหากมีก็อยู่ในสัดส่วนที่น้อยมาก กรณีดังกล่าวสะท้อนปัญหาในเรื่องการระบุ ตัวตนในฐานะพลเมืองของคนในพื้นที่ซึ่งมี บทบาทในการกาหนดชะตาเมืองของตนเอง น้อยเกินไป ด้วยเหตุนี้จึงต้องมีการทบทวน ถึงข้อบกพร่องเรื่องกระบวนการมีส่วนร่วม และสร้างวิธีการที่จะช่วยให้คนรู้สึกว่าตน เป็นส่วนหนึ่งของเมือง เป็นเจ้าของเมือง มี บทบาทในฐานะพลเมืองอย่างแท้จริง การประสานความร่วมมือ ระหว่างภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง อุปสรรค ใหญ่ที่กีดขวางการพัฒนาระบบบริหาร จัดการและธรรมาภิบาลของเมืองในปัจจุบัน คือการขาดความร่วมมืออันดีและการ สนับสนุนระหว่างภาคส่วนที่ทางานคู่ขนาน กัน เช่น หน่วยงานระดับเทศบาล ระดับ จังหวัด รวมไปถึงหน่วยงานการปกครอง ระดับภูมิภาค สิ่งที่จะเอาชนะอุปสรรคนี้ได้ คือ การเริ่มต้นสร้างการยอมรับและการ สนับสนุนจากรัฐบาลกลางซึ่งเป็นหน่วยงาน สูงสุดที่มีอานาจออกกฎหมายควบคุมและ กาหนดขีดความสามารถในการบริหาร จัดการของเมือง การเปลี่ยนท่าทีของรัฐบาล จะนาไปสู่นโยบายและแนวทางปฏิบัติ สาหรับหน่วยงานในระดับที่ลดหลั่นลงมา จนถึงท้องถิ่น ขณะเดียวกันก็ควรขยายความ ร่วมมือไปยังภาคเอกชนโดยเปิดโอกาสให้ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนานโยบายของ เมือง ข้อเสนอดังกล่าวจะช่วยให้ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียแต่ละฝ่ายมีพื้นที่ในการร่วมสร้าง ความก้าวหน้าและจัดการกับความท้าทายที่ ต้องเผชิญร่วมกัน แม้เมืองแต่ละเมืองจะมีขั้นตอน การพัฒนาและพลวัตในบริบทที่แตกต่างกัน ไป แต่ก็มิอาจปฏิเสธได้ว่า การพัฒนาของ ทั้งเมืองเล็กและเมืองใหญ่ต่างอยู่ภายใต้ ระบบการเมืองการปกครองของรัฐด้วยกัน ทั้งสิ้น เมืองของไทยก็เช่นกัน ศูนย์ศึกษา มหานครและเมือง ในฐานะหน่วยงานที่ให้ ความสาคัญกับการขับเคลื่อนนโยบาย สาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง จึงเห็นว่าบทวิเคราะห์ที่ได้จากรายงานวิจัย ดังกล่าวในประเด็นความท้าทายทั้ง 4 ประเด็น ถือเป็นข้อเท็จจริงสาคัญที่ไม่ใช่ เฉพาะปัญหาของเมืองในต่างประเทศ เท่านั้น ทว่าเมืองของไทยก็เผชิญกับ อุปสรรคด้านการบริหารเหล่านี้ด้วยเช่นกัน ข้อเสนอแนะที่ได้จากงานวิจัยดังกล่าวจึง นับเป็นบทเรียนที่เป็นประโยชน์ซึ่งภาคส่วนที่ เกี่ยวข้องจะสามารถเรียนรู้และนามาปรับใช้ เพื่อพัฒนาระบบธรรมาภิบาลให้เติบโตไป พร้อมกับเมืองได้อย่างเหมาะสม แปลและเรียบเรียงโดย จุฑำมำศ พูลสวัสดิ์ REFERENCE : - Hatch, D. (2016). Four Challenges to Metro- politan Governance. Citiscope. Retrieved from http://citiscope.org/story/2017/four-challenges- metropolitan-governance Image by S.Borisov/Shutterstock.com
  • 10. เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนาคต ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง ศ.ดร. อานันท์ กาญจนพันธุ์ เมืองขวางน้า ศ. กิตติคุณ เดชา บุญค้า ชุดหนังสือเมือง เมืองนิยม ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ สัมผัสเมืองสายบุรี (Wasa Telubae) ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ หนังสือออกใหม่ สั่งซื้อได้ที่ ... 1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com 2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ) 3) Facebook Page : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง Center for Megacity and City Studies วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริ ของ ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนจาก ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความปรารถนาที่ ต้องการให้เป็นคลังปัญญาเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยมีพันธกิจดังนี้ เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และ จัดการความรู้ให้สามารถเชื่อมโยงสู่นโยบายสาธารณะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งในระดับพื้นที่ และระดับประเทศ ให้เกิดการเชื่อมประสานเครือข่ายภาคีพัฒนาเมืองทั้ง ภายในและต่างประเทศ เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนให้มี ประสิทธิภาพ ในการสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองสุขภาวะ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ ” และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ ” โดย การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน้าที่หลักคือ สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่ ตอบสนองต่อการพัฒนาเมืองของไทย จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักคิดและผู้นาการพัฒนาเมือง และสร้างเครือข่าย การพัฒนาเมือง นอกจากนี้ได้ริเริ่ม โดยมหาวิทยาลัยรังสิตมอบรางวัลเป็นประจาทุกปี เพื่อเชิดชูยกย่อง ผู้นาหรือผู้สร้างบ้านแปงเมือง อันจะเป็นกาลังใจสร้างให้เกิดความภูมิใจและเป็นพลังสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนใน อนาคตสืบไป
  • 11. ศูนย์ศึกษำมหำนครและเมือง วิทยำลัยรัฐกิจ มหำวิทยำลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 Website: www.furd-rsu.org Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864