SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
สินาด ตรีวรรณไชย
กฤตยา สังข์เกษม และ ปพิชญา แซ่ลิ่ม
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ทุนเมืองสงขลา
เมืองสงขลาเป็นเมืองที่มีความสาคัญยิ่งในจังหวัดสงขลา เนื่องจากเป็นเมืองแห่งการศึกษา ศูนย์
รวมของหน่วยงานราชการ และแหล่งท่องเที่ยงเชิงธรรมชาติ เชิงประวัติศาสตร์ และเชิงวัฒนธรรม โดย
หากพิจารณาทรัพยากรของเมืองสงขลาที่เป็น “ทุน” สาหรับการพัฒนาเมืองแล้ว สามารถแบ่งออกได้
เป็น 4 ทุนหลักคือ
หนึ่ง ทุนทรัพยากรธรรมชาติ ที่สาคัญคือ ชายหาดสมิหลา ชายหาดชลาทัศน์ คลองสาโรง และ
บริเวณฝั่งที่ติดกับปากทางเข้าทะเลสาบสงขลา โดยเฉพาะชายหาดเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของเมือง
ประชาชนมาใช้ประโยชน์โดยการพักผ่อนหย่อนใจ รวมถึงการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของเมือง แต่ที่ผ่านมา
ได้มีการสร้างสิ่งก่อสร้างไปรบกวนธรรมชาติก่อให้เกิดการทาลายชายหาด ตัวอย่างที่ชัดเจนคือบริเวณ
หาดชลาทัศน์ตั้งแต่บริเวณเก้าเส้งขึ้นไปทางทิศเหนือ ซึ่งมีการรบกวนชายหาดโดยการสร้างสิ่งปลูกสร้าง
ขนาดใหญ่รุกล้าลงไป เช่น บ่อสูบน้าเสียของเทศบาลเมืองสงขลา รวมถึงการสร้างเขื่อนกันคลื่น เป็นการ
ทาลายความสวยงามของหาดทรายและเสียงบประมาณไปเป็นจานวนมากโดยที่ไม่สามารถแก้ปัญหา
การกัดเซาะได้
เนื้อหาในเอกสาร มาจาก ”โครงการจัดการความรู้เมืองสงขลา” ภายใต้ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต โดยการสนับสนุนจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
POLICY BRIEF
ทรัพยากรสาคัญ
สาหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2
เพราะในทางวิชาการแล้วการรักษาหาดทรายที่ดีที่สุดคือการไม่สร้างสิ่งก่อสร้างรบกวนลงไปบริเวณ
ชายหาด ในส่วนทะเลสาบสงขลาที่อยู่ทางตะวันตก ปริมาณสัตว์น้าในทะเลสาบมีแนวโน้มลดลง ในขณะ
ที่เครื่องมือประมงในทะเลสาบมีเป็นจานวนมากเกินไป ได้มีความพยายามแก้ปัญหาโดยนโยบายการจัด
ระเบียบเครื่องมือประมงและโครงการขุดลอกทะเลสาบในแนวร่องน้า แต่ก็ยังมีคาถามถึงความคุ้มค่าของ
โครงการเนื่องจากใช้งบประมาณดาเนินการสูงและอาจมีงบประมาณผูกพันในการบารุงรักษามากอีกด้วย
สอง ทุนกายภาพ เนื่องจากพื้นที่ประมาณ 70% ของเมืองสงขลาเป็นของราชการ ทาให้เมือง
สงขลามีจานวนหน่วยงานราชการมากที่สุดในจังหวัด มีมหาวิทยาลัยถึง 3 แห่ง ในแง่นี้ ทุนกายภาพทั้ง
ในแง่อาคารสถานที่และงบประมาณจึงมีอยู่มาก และเมืองสงขลายังเกี่ยวข้องกับโครงการพัฒนาขนาด
ใหญ่ที่มีงบประมาณสูงอยู่เสมอมา เช่น การพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้หรือเซาเทิร์นซีบอร์ด การ
พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจสงขลา-สตูล การพัฒนาเขตเศรษฐกิจปีนัง-สงขลา จากแผนงานการพัฒนาเขต
พัฒนาเศรษฐกิจ 3 ฝ่าย อินโดนีเซีย – มาเลเซีย – ไทย (IMT-GT) เป็นต้น แต่ทุนกายภาพที่อาจเรียกได้
ว่าเป็นจุดเด่นที่สุดของเมืองสงขลาก็คือ สถาปัตยกรรมเมืองเก่าสงขลา ที่มีสถาปัตยกรรมทั้งแบบไทย
จีน ชิโน-โปตุกีส และตะวันตก อันมีคุณค่ามากต่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม รวมถึงความสุขของคน
ท้องถิ่นที่ต้องการรักษาวิถีชีวิตและสถานที่เก่าแก่ที่เป็นรากเหง้า
สาม ทุนวัฒนธรรม หากนิยามทุนวัฒนธรรมว่าหมายถึงนัยทางวัฒนธรรมที่ถูกใช้ประกอบใน
การผลิตสินค้าและบริการ หรือทุนวัฒนธรรมคือการใช้วัฒนธรรมเป็น “ทุน” ในการผลิตสินค้าและบริการ
แล้ว ตัวอย่างของวัฒนธรรมที่ถูกใช้เป็นทุนวัฒนธรรมที่เห็นเด่นชัดจึงได้แก่ จารีตขนบธรรมเนียม
ประเพณี ระบบความเชื่อและศรัทธา ระบบคุณค่า บรรทัดฐานทางจริยธรรม แบบแผนการดาเนินชีวิต
แบบแผนการบริโภค แบบแผนการพักผ่อนหย่อนใจ การแต่งกาย การละเล่นและกีฬา วรรณกรรมและ
สิ่งพิมพ์ และศิลปะ
เมืองสงขลาถือได้ว่าเป็นแหล่งรวมวัฒนธรรมอันหลากหลายตั้งแต่อดีตเป็นต้นมา โดยมีความ
เป็น “พหุวัฒนธรรม” ซึ่งสิ่งที่เป็นทุนวัฒนธรรมที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจและวิถีชีวิตความเป็นอยู่
ได้แก่ (1) อาหารการกิน เช่น ต้มใส่ไส้ เต้าคั่ว ข้าวสตูบ่อยาง สัมปันนี ไอศกรีมไข่แข็ง ซาลาเปาเกียดฟั่ง
ขนมไข่เตาถ่าน ขนมบอก เป็นต้น (2) ความเชื่อและประเพณี เช่น การทาบุญเดือนสิบ งานประเพณี
ลากพระและตักบาตรเทโว งานสมโภชปู่ทวดหัวเขาแดงซึ่งเป็นงานที่มีการกราบไหว้ทวดหุ่มที่เป็นชาว
มุสลิมด้วย แสดงถึงการหลอมรวมเป็นพหุวัฒนธรรมในทางความเชื่อและประเพณี (3) ศิลปะ เช่น ศิลปะ
ที่ถูกใช้ในสถาปัตยกรรมย่านเมืองเก่า ทั้งตัวอาคารและการตกแต่งอาคารทั้งภายในและภายนอก ที่เป็น
ศิลปะทั้งไทย จีน มลายู และตะวันตก นอกจากนี้ในปัจจุบัน ยังมีการใช้ศิลปะร่วมสมัยมาใช้ในการ
ปรับปรุงอาคารและภูมิทัศน์ในย่านเมืองเก่าสงขลา เพื่อทาให้ประชาชนเห็นคุณค่าในความงามอีกทั้งยัง
ได้ประโยชน์จากการท่องเที่ยวด้วย เช่น การบูรณะโรงสีแดง หับ โห้ หิ้น การสร้างประติมากรรม การ
วาดภาพผนังตึกเก่าแนวสตรีทอาร์ต เป็นต้น
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3
สี่ ทุนทางสังคม หากนิยามทุนทางสังคมว่าหมายถึง ความสัมพันธ์ทางสังคมหรือคุณค่า
ทางสังคมที่เราสามารถเรียกเอาผลประโยชน์หรือบรรลุเป้าหมายที่ต้องการได้ จากการจัดเวทีวิชาการ
ที่ผ่านมา อาจพอสรุปได้ว่าเป้าหมายที่สาคัญคือเรื่องของการผลิตสินค้าและบริการซึ่งเป็นเรื่องทาง
เศรษฐกิจ และอีกเป้าหมายคือการที่ผู้อยู่อาศัยในเมืองมีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีมีความสุข
ความสัมพันธ์ทางสังคมในลักษณะองค์กรหรือเครือข่ายส่งเสริมเป้าหมายดังกล่าวนั้นขึ้นอยู่กับภาค
ส่วนที่วิเคราะห์ กล่าวคือ ภาคส่วนรัฐบาลรวมถึงราชการส่วนภูมิภาคเน้นการพัฒนาในเชิงโครงสร้าง
พื้นฐาน โครงการเศรษฐกิจขนาดใหญ่ทั้งในแง่พื้นที่และงบประมาณ ภาคส่วนองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นมีจุดร่วมกับรัฐบาลในเรื่องการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโครงการเศรษฐกิจขนาดใหญ่ แต่
ส่วนหนึ่งจาเป็นต้องเน้นแก้ปัญหาท้องถิ่นด้วย เช่น เศรษฐกิจท้องถิ่น ความเป็นอยู่ ชุมชนแออัด ฟื้นฟู
และอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น สถาปัตยกรรมเก่า และแหล่งโบราณสถาน เป็นต้น ส่วนภาคประชาชนมี
จุดเน้นที่วิถีชีวิตความเป็นอยู่ ประเพณีวัฒนธรรม การผลักดันเมืองเก่าสงขลาสู่มรดกโลก การสร้าง
สานึกพลเมือง และการรักษาสิ่งแวดล้อม เช่น ภาคีคนรักเมืองสงขลา สงขลาฟอรั่ม เป็นต้น
ปัญหาการพัฒนาเมืองสงขลา
จุดร่วมที่สาคัญของทั้งสามภาคส่วนคือเรื่องเศรษฐกิจและเรื่องฟื้นฟูและอนุรักษ์วัฒนธรรม
ท้องถิ่น เพียงแต่ภาคประชาชนมองไปที่กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มาจากรากฐานของเมือง เช่น การ
ท่องเที่ยวและการค้าขายเชิงพาณิชย์ในสภาพแวดล้อมที่ดีและมีการฟื้นฟูและอนุรักษ์วัฒนธรรม
ท้องถิ่นในระยะยาว ต่างกับรัฐบาลและราชการส่วนภูมิภาคที่เน้นโครงการขนาดใหญ่ หลายครั้ง
โครงการเหล่านั้นนอกจากจะมิได้สอดคล้องกับทรัพยากรของเมืองแล้ว ยังทาลายทุนทรัพยากรที่
สาคัญของเมืองที่เป็นฐานการท่องเที่ยวที่สาคัญด้วย เช่น การสร้างสิ่งรบกวนและโครงสร้างแข็งบน
ชายหาด การใช้งบประมาณในโครงการขนาดใหญ่ที่มีผลประโยชน์สุทธิไม่ชัดเจน ซึ่งมีค่าเสียโอกาส
อย่างสูงต่อการนาเงินงบประมาณส่วนหนึ่งเหล่านั้นมาใช้พัฒนาเมืองสงขลา เช่น การขุดลอกทะเลสาบ
หรือการสร้างสิ่งรบกวนชายหาดด้วยงบประมาณนับพันล้านบาทแทนที่จะนางบประมาณมาบารุงรักษา
ปรับปรุงย่านเมืองเก่าที่มีความทรุดโทรมให้ดีขึ้น ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมหรือใช้ใน
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลักดันเมืองเก่าสงขลาสู่มรดกโลก เป็นต้น การที่หน่วยงานส่วนกลางไม่มี
ทิศทางเดียวกับความต้องการของคนเมืองสงขลาเป็นภาพย่อของภาพใหญ่จากปัญหาการกระจาย
อานาจสู่ท้องถิ่นของประเทศไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชาวเมืองมิได้มีอานาจพื้นฐานทาง
อานาจหน้าที่และอานาจทางการคลังในการจัดการทรัพยากรของเมือง ทั้ง ๆ เป็นผู้ใช้ประโยชน์และ
รับภาระความล้มเหลวของโครงการพัฒนาต่าง ๆ ในแง่นี้ กฎ ระเบียบข้อบังคับ กฎหมายที่ยังไม่มีการ
กระจายอานาจหน้าที่และอานาจทางการคลังในเรื่องการพัฒนาเมืองจึงยังไม่เป็นทุนทางสังคมที่ดี
เช่นกันสาหรับภาคประชาชน
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 4
สรุป
ทรัพยากรธรรมชาติ ทุนกายภาพในเชิงสถาปัตยกรรมและโบราณสถานโบราณวัตถุ และทุน
วัฒนธรรม เป็นรากฐานสาคัญของเมืองสงขลา แต่ทุนทางสังคมที่ส่งเสริมในการใช้และรักษาทุนเหล่านี้
ยังไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน การรวมศูนย์อานาจทั้งการการกาหนดนโยบายและการคลัง รวมถึง
รูปแบบการใช้งบประมาณที่เน้นหน่วยงาน นาไปสู่โครงการใช้งบประมาณที่ไม่ตอบโจทย์ทุนที่เป็น
รากฐานของเมือง และไม่คานึงถึงค่าเสียโอกาสของงบประมาณในการนาไปใช้ในทางอื่นที่ตอบโจทย์
ของพื้นที่ได้มากกว่า กรณีการขุดลอกทะเลสาบและการสร้างสิ่งก่อสร้างรบกวนชายหาดด้วย
งบประมาณรวมกว่าพันล้านบาทเป็นประจักษ์พยานได้เป็นอย่างดี
ข้อเสนอแนะสาหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
1. แนวทางพัฒนาเมืองของทั้งรัฐบาลส่วนกลาง องค์กรปกครองท้องถิ่น และภาคประชาชน
จาเป็นต้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้โครงการต่าง ๆ เป็นไปในทิศทางเดียวกันและลด
โครงการที่ทาลายทุนทรัพยากรของเมือง
2. แนวคิดทางการพัฒนาเมืองที่น่าจะเหมาะสมกับการผลักดันเมืองสงขลาสู่มรดกโลกคือ แนวคิด
“เมืองภูมิทัศน์ทางประวัติศาสตร์ (historic urban landscape)” เนื่องจากเป็นแนวคิดของ
UNESCO ใช้เมื่อปี ค.ศ.2011 เป็นแนวคิดที่ไม่ได้เน้นมองแต่การตั้งพื้นที่เมืองเก่า หรือเรื่อง
ขอบเขต แต่สนใจว่าเมืองนั้นมีการเชื่อมโยงระหว่างคน พื้นที่ การวางแผน และตัดสินใจอย่างไร
3. การก่อสร้างสิ่งก่อสร้างรบกวนชายหาดเพื่อแก้ปัญหาการกัดเซาะเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณ
โดยไม่จาเป็น จึงสมควรยุติเพราะไม่สามารถแก้ปัญหาการกัดเซาะได้
4. การใช้งบประมาณจาเป็นต้องคานึงถึงค่าเสียโอกาส เนื่องจากมีการใช้งบประมาณในโครงการ
ขนาดใหญ่กว่าพันล้านบาท โดยที่ผลประโยชน์สุทธิไม่ชัดเจนและไม่สอดคล้องกับทุนทรัพยากร
ของเมืองสงขลา
5. มีความจาเป็นต้องผนวกการใช้ที่ดินในส่วนที่รัฐเป็นเจ้าของให้สอดคล้องกับแผนการพัฒนาเมือง
ที่ตกลงร่วมกัน เนื่องจากพื้นที่กว่า 70% ของเมืองสงขลาเป็นของภาครัฐซึ่งถูกจากัดจาก
กฎหมายควบคุมต่าง ๆ น้อยกว่าที่ดินของเอกชน และการตัดสินใจลักษณะการใช้ประโยชน์
ขึ้นอยู่กับหน่วยงานและราชการส่วนกลาง ทาให้หากต้องการใช้ที่ดินของรัฐดังกล่าวเพื่อการ
พัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนจาเป็นต้องรวมประเด็นดังกล่าวนี้ด้วย
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 5
6. มีความจาเป็นต้องสร้างสานึกพลเมืองให้กับผู้คนที่มาใช้ประโยชน์จากเมืองสงขลา ให้ตระหนักและรู้สึก
ถึงความเป็นเจ้าของเมือง เนื่องจากเมืองสงขลามีประชากรแฝงจานวนกว่า 70% จากการที่เป็นแหล่ง
รวมของหน่วยงานราชการและสถานศึกษา รวมถึงส่วนหนึ่งมีการย้ายเข้ามาของแรงงานไทยและต่างด้าว
จึงทาให้สัดส่วนคนท้องถิ่นที่เกิดในเมืองสงขลามีน้อยกว่า ซึ่งเป็นการยากลาบากต่อคนสงขลาดั้งเดิมใน
การกดดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและรัฐบาลส่วนกลางสนับสนุนโครงการที่สอดคล้องและไม่
ทาลายทุนของเมืองสงขลา
ข้อเสนอแนะที่กล่าวถึงมาทั้งหมดนี้ แสดงให้ให้ถึงความซับซ้อนของการจัดการเมืองได้เป็นอย่างดี โดย
พื้นฐานผู้ที่เกี่ยวข้องจาเป็นต้องมีเป้าหมายร่วมกันว่าต้องการให้เมืองมีลักษณะอย่างไร รวมถึงจาเป็นต้องมี
พื้นที่ให้กับความแตกต่างหลากหลาย การมีส่วนร่วมของประชาชนจึงเป็นเรื่องสาคัญ นอกจากนี้ เมื่อได้
เป้าหมายร่วมกันแล้ว อานาจในการกาหนดนโยบายและการใช้งบประมาณจาเป็นจะต้องกระจายลงสู่ท้องถิ่น
เพื่อลดปัญหาการเกิดโครงการที่ไม่สอดคล้องหรือทาลายทรัพยากรของเมืองได้ ปัญหาการจัดการเมืองสงขลา
จึงเป็นภาพสะท้อนของการบริหารแบบรวมศูนย์ที่สร้างปัญหาให้กับสังคมไทยมาอย่างยาวนาน หากจะมี
ข้อเสนอที่สาคัญที่สุดสาหรับการพัฒนาเมืองสงขลาอย่างยั่งยืนแล้ว ก็น่าจะเป็นข้อเสนอแนะถึงความ
จาเป็นต้องปรับเปลี่ยนการกาหนดนโยบายการพัฒนาจากรูปแบบของ Top-down และเน้นการใช้งบประมาณ
ของหน่วยงาน มาเป็นการกาหนดนโยบายการพัฒนาตามโจทย์ของพื้นที่โดยการมีส่วนร่วมกาหนดจากภาค
ประชาชนอย่างสาคัญ โดยหน่วยงานส่วนกลางมีหน้าที่สนับสนุนมิใช่เป็นผู้กาหนดและปฏิบัติงานหลักโดยที่มี
ความขัดแย้งกับประชาชนในท้องถิ่นเสียเอง เพราะนั่นแสดงถึงการพัฒนาเมืองที่สร้างปัญหามากกว่าการมุ่ง
พัฒนาให้เมืองมีทรัพยากรที่สาคัญไว้ใช้อย่างมีคุณภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
เพิ่มเติมได้ที่ furd-rsu.org หรือ
https://www.facebook.com/furd.rsu
ประธานกากับทิศทางแผนงาน นพม. : ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ผู้อานวยการศูนย์ศึกษามหานครและเมือง : น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ : น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้ช่วยบรรณาธิการ : น.ส.ณัฐธิดา เย็นบารุง
ผู้เขียน : สินาด ตรีวรรณไชย และคณะ
รูปเล่ม : น.ส.ณัฐธิดา เย็นบารุง
ปก : อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ปีที่เผยแพร่ : กันยายน 2558
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
ที่อยู่ติดต่อ
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เลขที่ 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัด
ปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216

More Related Content

Similar to ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา

การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...สถาบันราชบุรีศึกษา
 
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองFURD_RSU
 
Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...
Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...
Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...Klangpanya
 
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...ปิยนันท์ ราชธานี
 
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)ปิยนันท์ ราชธานี
 
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมือง
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมืองPower Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมือง
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมืองFURD_RSU
 
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงFURD_RSU
 
ย่านตาขาวโมเดล
ย่านตาขาวโมเดลย่านตาขาวโมเดล
ย่านตาขาวโมเดลPattie Pattie
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖Manoonpong Srivirat
 
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่FURD_RSU
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)SAKANAN ANANTASOOK
 
เครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน
เครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูนเครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน
เครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูนปิยนันท์ ราชธานี
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559Klangpanya
 
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนบทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนMaykin Likitboonyalit
 
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...Research team Silpakorn University
 
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ Korawan Sangkakorn
 

Similar to ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา (20)

การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
 
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
 
Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...
Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...
Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...
 
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
 
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
 
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมือง
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมืองPower Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมือง
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมือง
 
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
 
ย่านตาขาวโมเดล
ย่านตาขาวโมเดลย่านตาขาวโมเดล
ย่านตาขาวโมเดล
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
 
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
 
เครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน
เครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูนเครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน
เครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
 
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนบทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
 
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
รายงานการศึกษาโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ กรณีศึกษาเ...
 
แบบ ยท.๐๔
แบบ ยท.๐๔แบบ ยท.๐๔
แบบ ยท.๐๔
 
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
 
Youth clever project
Youth clever                        projectYouth clever                        project
Youth clever project
 
Youth clever project
Youth clever projectYouth clever project
Youth clever project
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 

ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา

  • 1. 1 สินาด ตรีวรรณไชย กฤตยา สังข์เกษม และ ปพิชญา แซ่ลิ่ม คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ทุนเมืองสงขลา เมืองสงขลาเป็นเมืองที่มีความสาคัญยิ่งในจังหวัดสงขลา เนื่องจากเป็นเมืองแห่งการศึกษา ศูนย์ รวมของหน่วยงานราชการ และแหล่งท่องเที่ยงเชิงธรรมชาติ เชิงประวัติศาสตร์ และเชิงวัฒนธรรม โดย หากพิจารณาทรัพยากรของเมืองสงขลาที่เป็น “ทุน” สาหรับการพัฒนาเมืองแล้ว สามารถแบ่งออกได้ เป็น 4 ทุนหลักคือ หนึ่ง ทุนทรัพยากรธรรมชาติ ที่สาคัญคือ ชายหาดสมิหลา ชายหาดชลาทัศน์ คลองสาโรง และ บริเวณฝั่งที่ติดกับปากทางเข้าทะเลสาบสงขลา โดยเฉพาะชายหาดเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของเมือง ประชาชนมาใช้ประโยชน์โดยการพักผ่อนหย่อนใจ รวมถึงการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของเมือง แต่ที่ผ่านมา ได้มีการสร้างสิ่งก่อสร้างไปรบกวนธรรมชาติก่อให้เกิดการทาลายชายหาด ตัวอย่างที่ชัดเจนคือบริเวณ หาดชลาทัศน์ตั้งแต่บริเวณเก้าเส้งขึ้นไปทางทิศเหนือ ซึ่งมีการรบกวนชายหาดโดยการสร้างสิ่งปลูกสร้าง ขนาดใหญ่รุกล้าลงไป เช่น บ่อสูบน้าเสียของเทศบาลเมืองสงขลา รวมถึงการสร้างเขื่อนกันคลื่น เป็นการ ทาลายความสวยงามของหาดทรายและเสียงบประมาณไปเป็นจานวนมากโดยที่ไม่สามารถแก้ปัญหา การกัดเซาะได้ เนื้อหาในเอกสาร มาจาก ”โครงการจัดการความรู้เมืองสงขลา” ภายใต้ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต โดยการสนับสนุนจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) POLICY BRIEF ทรัพยากรสาคัญ สาหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
  • 2. แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2 เพราะในทางวิชาการแล้วการรักษาหาดทรายที่ดีที่สุดคือการไม่สร้างสิ่งก่อสร้างรบกวนลงไปบริเวณ ชายหาด ในส่วนทะเลสาบสงขลาที่อยู่ทางตะวันตก ปริมาณสัตว์น้าในทะเลสาบมีแนวโน้มลดลง ในขณะ ที่เครื่องมือประมงในทะเลสาบมีเป็นจานวนมากเกินไป ได้มีความพยายามแก้ปัญหาโดยนโยบายการจัด ระเบียบเครื่องมือประมงและโครงการขุดลอกทะเลสาบในแนวร่องน้า แต่ก็ยังมีคาถามถึงความคุ้มค่าของ โครงการเนื่องจากใช้งบประมาณดาเนินการสูงและอาจมีงบประมาณผูกพันในการบารุงรักษามากอีกด้วย สอง ทุนกายภาพ เนื่องจากพื้นที่ประมาณ 70% ของเมืองสงขลาเป็นของราชการ ทาให้เมือง สงขลามีจานวนหน่วยงานราชการมากที่สุดในจังหวัด มีมหาวิทยาลัยถึง 3 แห่ง ในแง่นี้ ทุนกายภาพทั้ง ในแง่อาคารสถานที่และงบประมาณจึงมีอยู่มาก และเมืองสงขลายังเกี่ยวข้องกับโครงการพัฒนาขนาด ใหญ่ที่มีงบประมาณสูงอยู่เสมอมา เช่น การพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้หรือเซาเทิร์นซีบอร์ด การ พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจสงขลา-สตูล การพัฒนาเขตเศรษฐกิจปีนัง-สงขลา จากแผนงานการพัฒนาเขต พัฒนาเศรษฐกิจ 3 ฝ่าย อินโดนีเซีย – มาเลเซีย – ไทย (IMT-GT) เป็นต้น แต่ทุนกายภาพที่อาจเรียกได้ ว่าเป็นจุดเด่นที่สุดของเมืองสงขลาก็คือ สถาปัตยกรรมเมืองเก่าสงขลา ที่มีสถาปัตยกรรมทั้งแบบไทย จีน ชิโน-โปตุกีส และตะวันตก อันมีคุณค่ามากต่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม รวมถึงความสุขของคน ท้องถิ่นที่ต้องการรักษาวิถีชีวิตและสถานที่เก่าแก่ที่เป็นรากเหง้า สาม ทุนวัฒนธรรม หากนิยามทุนวัฒนธรรมว่าหมายถึงนัยทางวัฒนธรรมที่ถูกใช้ประกอบใน การผลิตสินค้าและบริการ หรือทุนวัฒนธรรมคือการใช้วัฒนธรรมเป็น “ทุน” ในการผลิตสินค้าและบริการ แล้ว ตัวอย่างของวัฒนธรรมที่ถูกใช้เป็นทุนวัฒนธรรมที่เห็นเด่นชัดจึงได้แก่ จารีตขนบธรรมเนียม ประเพณี ระบบความเชื่อและศรัทธา ระบบคุณค่า บรรทัดฐานทางจริยธรรม แบบแผนการดาเนินชีวิต แบบแผนการบริโภค แบบแผนการพักผ่อนหย่อนใจ การแต่งกาย การละเล่นและกีฬา วรรณกรรมและ สิ่งพิมพ์ และศิลปะ เมืองสงขลาถือได้ว่าเป็นแหล่งรวมวัฒนธรรมอันหลากหลายตั้งแต่อดีตเป็นต้นมา โดยมีความ เป็น “พหุวัฒนธรรม” ซึ่งสิ่งที่เป็นทุนวัฒนธรรมที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ได้แก่ (1) อาหารการกิน เช่น ต้มใส่ไส้ เต้าคั่ว ข้าวสตูบ่อยาง สัมปันนี ไอศกรีมไข่แข็ง ซาลาเปาเกียดฟั่ง ขนมไข่เตาถ่าน ขนมบอก เป็นต้น (2) ความเชื่อและประเพณี เช่น การทาบุญเดือนสิบ งานประเพณี ลากพระและตักบาตรเทโว งานสมโภชปู่ทวดหัวเขาแดงซึ่งเป็นงานที่มีการกราบไหว้ทวดหุ่มที่เป็นชาว มุสลิมด้วย แสดงถึงการหลอมรวมเป็นพหุวัฒนธรรมในทางความเชื่อและประเพณี (3) ศิลปะ เช่น ศิลปะ ที่ถูกใช้ในสถาปัตยกรรมย่านเมืองเก่า ทั้งตัวอาคารและการตกแต่งอาคารทั้งภายในและภายนอก ที่เป็น ศิลปะทั้งไทย จีน มลายู และตะวันตก นอกจากนี้ในปัจจุบัน ยังมีการใช้ศิลปะร่วมสมัยมาใช้ในการ ปรับปรุงอาคารและภูมิทัศน์ในย่านเมืองเก่าสงขลา เพื่อทาให้ประชาชนเห็นคุณค่าในความงามอีกทั้งยัง ได้ประโยชน์จากการท่องเที่ยวด้วย เช่น การบูรณะโรงสีแดง หับ โห้ หิ้น การสร้างประติมากรรม การ วาดภาพผนังตึกเก่าแนวสตรีทอาร์ต เป็นต้น
  • 3. แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3 สี่ ทุนทางสังคม หากนิยามทุนทางสังคมว่าหมายถึง ความสัมพันธ์ทางสังคมหรือคุณค่า ทางสังคมที่เราสามารถเรียกเอาผลประโยชน์หรือบรรลุเป้าหมายที่ต้องการได้ จากการจัดเวทีวิชาการ ที่ผ่านมา อาจพอสรุปได้ว่าเป้าหมายที่สาคัญคือเรื่องของการผลิตสินค้าและบริการซึ่งเป็นเรื่องทาง เศรษฐกิจ และอีกเป้าหมายคือการที่ผู้อยู่อาศัยในเมืองมีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีมีความสุข ความสัมพันธ์ทางสังคมในลักษณะองค์กรหรือเครือข่ายส่งเสริมเป้าหมายดังกล่าวนั้นขึ้นอยู่กับภาค ส่วนที่วิเคราะห์ กล่าวคือ ภาคส่วนรัฐบาลรวมถึงราชการส่วนภูมิภาคเน้นการพัฒนาในเชิงโครงสร้าง พื้นฐาน โครงการเศรษฐกิจขนาดใหญ่ทั้งในแง่พื้นที่และงบประมาณ ภาคส่วนองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นมีจุดร่วมกับรัฐบาลในเรื่องการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโครงการเศรษฐกิจขนาดใหญ่ แต่ ส่วนหนึ่งจาเป็นต้องเน้นแก้ปัญหาท้องถิ่นด้วย เช่น เศรษฐกิจท้องถิ่น ความเป็นอยู่ ชุมชนแออัด ฟื้นฟู และอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น สถาปัตยกรรมเก่า และแหล่งโบราณสถาน เป็นต้น ส่วนภาคประชาชนมี จุดเน้นที่วิถีชีวิตความเป็นอยู่ ประเพณีวัฒนธรรม การผลักดันเมืองเก่าสงขลาสู่มรดกโลก การสร้าง สานึกพลเมือง และการรักษาสิ่งแวดล้อม เช่น ภาคีคนรักเมืองสงขลา สงขลาฟอรั่ม เป็นต้น ปัญหาการพัฒนาเมืองสงขลา จุดร่วมที่สาคัญของทั้งสามภาคส่วนคือเรื่องเศรษฐกิจและเรื่องฟื้นฟูและอนุรักษ์วัฒนธรรม ท้องถิ่น เพียงแต่ภาคประชาชนมองไปที่กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มาจากรากฐานของเมือง เช่น การ ท่องเที่ยวและการค้าขายเชิงพาณิชย์ในสภาพแวดล้อมที่ดีและมีการฟื้นฟูและอนุรักษ์วัฒนธรรม ท้องถิ่นในระยะยาว ต่างกับรัฐบาลและราชการส่วนภูมิภาคที่เน้นโครงการขนาดใหญ่ หลายครั้ง โครงการเหล่านั้นนอกจากจะมิได้สอดคล้องกับทรัพยากรของเมืองแล้ว ยังทาลายทุนทรัพยากรที่ สาคัญของเมืองที่เป็นฐานการท่องเที่ยวที่สาคัญด้วย เช่น การสร้างสิ่งรบกวนและโครงสร้างแข็งบน ชายหาด การใช้งบประมาณในโครงการขนาดใหญ่ที่มีผลประโยชน์สุทธิไม่ชัดเจน ซึ่งมีค่าเสียโอกาส อย่างสูงต่อการนาเงินงบประมาณส่วนหนึ่งเหล่านั้นมาใช้พัฒนาเมืองสงขลา เช่น การขุดลอกทะเลสาบ หรือการสร้างสิ่งรบกวนชายหาดด้วยงบประมาณนับพันล้านบาทแทนที่จะนางบประมาณมาบารุงรักษา ปรับปรุงย่านเมืองเก่าที่มีความทรุดโทรมให้ดีขึ้น ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมหรือใช้ใน กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลักดันเมืองเก่าสงขลาสู่มรดกโลก เป็นต้น การที่หน่วยงานส่วนกลางไม่มี ทิศทางเดียวกับความต้องการของคนเมืองสงขลาเป็นภาพย่อของภาพใหญ่จากปัญหาการกระจาย อานาจสู่ท้องถิ่นของประเทศไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชาวเมืองมิได้มีอานาจพื้นฐานทาง อานาจหน้าที่และอานาจทางการคลังในการจัดการทรัพยากรของเมือง ทั้ง ๆ เป็นผู้ใช้ประโยชน์และ รับภาระความล้มเหลวของโครงการพัฒนาต่าง ๆ ในแง่นี้ กฎ ระเบียบข้อบังคับ กฎหมายที่ยังไม่มีการ กระจายอานาจหน้าที่และอานาจทางการคลังในเรื่องการพัฒนาเมืองจึงยังไม่เป็นทุนทางสังคมที่ดี เช่นกันสาหรับภาคประชาชน
  • 4. แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 4 สรุป ทรัพยากรธรรมชาติ ทุนกายภาพในเชิงสถาปัตยกรรมและโบราณสถานโบราณวัตถุ และทุน วัฒนธรรม เป็นรากฐานสาคัญของเมืองสงขลา แต่ทุนทางสังคมที่ส่งเสริมในการใช้และรักษาทุนเหล่านี้ ยังไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน การรวมศูนย์อานาจทั้งการการกาหนดนโยบายและการคลัง รวมถึง รูปแบบการใช้งบประมาณที่เน้นหน่วยงาน นาไปสู่โครงการใช้งบประมาณที่ไม่ตอบโจทย์ทุนที่เป็น รากฐานของเมือง และไม่คานึงถึงค่าเสียโอกาสของงบประมาณในการนาไปใช้ในทางอื่นที่ตอบโจทย์ ของพื้นที่ได้มากกว่า กรณีการขุดลอกทะเลสาบและการสร้างสิ่งก่อสร้างรบกวนชายหาดด้วย งบประมาณรวมกว่าพันล้านบาทเป็นประจักษ์พยานได้เป็นอย่างดี ข้อเสนอแนะสาหรับการพัฒนาเมืองสงขลา 1. แนวทางพัฒนาเมืองของทั้งรัฐบาลส่วนกลาง องค์กรปกครองท้องถิ่น และภาคประชาชน จาเป็นต้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้โครงการต่าง ๆ เป็นไปในทิศทางเดียวกันและลด โครงการที่ทาลายทุนทรัพยากรของเมือง 2. แนวคิดทางการพัฒนาเมืองที่น่าจะเหมาะสมกับการผลักดันเมืองสงขลาสู่มรดกโลกคือ แนวคิด “เมืองภูมิทัศน์ทางประวัติศาสตร์ (historic urban landscape)” เนื่องจากเป็นแนวคิดของ UNESCO ใช้เมื่อปี ค.ศ.2011 เป็นแนวคิดที่ไม่ได้เน้นมองแต่การตั้งพื้นที่เมืองเก่า หรือเรื่อง ขอบเขต แต่สนใจว่าเมืองนั้นมีการเชื่อมโยงระหว่างคน พื้นที่ การวางแผน และตัดสินใจอย่างไร 3. การก่อสร้างสิ่งก่อสร้างรบกวนชายหาดเพื่อแก้ปัญหาการกัดเซาะเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณ โดยไม่จาเป็น จึงสมควรยุติเพราะไม่สามารถแก้ปัญหาการกัดเซาะได้ 4. การใช้งบประมาณจาเป็นต้องคานึงถึงค่าเสียโอกาส เนื่องจากมีการใช้งบประมาณในโครงการ ขนาดใหญ่กว่าพันล้านบาท โดยที่ผลประโยชน์สุทธิไม่ชัดเจนและไม่สอดคล้องกับทุนทรัพยากร ของเมืองสงขลา 5. มีความจาเป็นต้องผนวกการใช้ที่ดินในส่วนที่รัฐเป็นเจ้าของให้สอดคล้องกับแผนการพัฒนาเมือง ที่ตกลงร่วมกัน เนื่องจากพื้นที่กว่า 70% ของเมืองสงขลาเป็นของภาครัฐซึ่งถูกจากัดจาก กฎหมายควบคุมต่าง ๆ น้อยกว่าที่ดินของเอกชน และการตัดสินใจลักษณะการใช้ประโยชน์ ขึ้นอยู่กับหน่วยงานและราชการส่วนกลาง ทาให้หากต้องการใช้ที่ดินของรัฐดังกล่าวเพื่อการ พัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนจาเป็นต้องรวมประเด็นดังกล่าวนี้ด้วย
  • 5. แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 5 6. มีความจาเป็นต้องสร้างสานึกพลเมืองให้กับผู้คนที่มาใช้ประโยชน์จากเมืองสงขลา ให้ตระหนักและรู้สึก ถึงความเป็นเจ้าของเมือง เนื่องจากเมืองสงขลามีประชากรแฝงจานวนกว่า 70% จากการที่เป็นแหล่ง รวมของหน่วยงานราชการและสถานศึกษา รวมถึงส่วนหนึ่งมีการย้ายเข้ามาของแรงงานไทยและต่างด้าว จึงทาให้สัดส่วนคนท้องถิ่นที่เกิดในเมืองสงขลามีน้อยกว่า ซึ่งเป็นการยากลาบากต่อคนสงขลาดั้งเดิมใน การกดดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและรัฐบาลส่วนกลางสนับสนุนโครงการที่สอดคล้องและไม่ ทาลายทุนของเมืองสงขลา ข้อเสนอแนะที่กล่าวถึงมาทั้งหมดนี้ แสดงให้ให้ถึงความซับซ้อนของการจัดการเมืองได้เป็นอย่างดี โดย พื้นฐานผู้ที่เกี่ยวข้องจาเป็นต้องมีเป้าหมายร่วมกันว่าต้องการให้เมืองมีลักษณะอย่างไร รวมถึงจาเป็นต้องมี พื้นที่ให้กับความแตกต่างหลากหลาย การมีส่วนร่วมของประชาชนจึงเป็นเรื่องสาคัญ นอกจากนี้ เมื่อได้ เป้าหมายร่วมกันแล้ว อานาจในการกาหนดนโยบายและการใช้งบประมาณจาเป็นจะต้องกระจายลงสู่ท้องถิ่น เพื่อลดปัญหาการเกิดโครงการที่ไม่สอดคล้องหรือทาลายทรัพยากรของเมืองได้ ปัญหาการจัดการเมืองสงขลา จึงเป็นภาพสะท้อนของการบริหารแบบรวมศูนย์ที่สร้างปัญหาให้กับสังคมไทยมาอย่างยาวนาน หากจะมี ข้อเสนอที่สาคัญที่สุดสาหรับการพัฒนาเมืองสงขลาอย่างยั่งยืนแล้ว ก็น่าจะเป็นข้อเสนอแนะถึงความ จาเป็นต้องปรับเปลี่ยนการกาหนดนโยบายการพัฒนาจากรูปแบบของ Top-down และเน้นการใช้งบประมาณ ของหน่วยงาน มาเป็นการกาหนดนโยบายการพัฒนาตามโจทย์ของพื้นที่โดยการมีส่วนร่วมกาหนดจากภาค ประชาชนอย่างสาคัญ โดยหน่วยงานส่วนกลางมีหน้าที่สนับสนุนมิใช่เป็นผู้กาหนดและปฏิบัติงานหลักโดยที่มี ความขัดแย้งกับประชาชนในท้องถิ่นเสียเอง เพราะนั่นแสดงถึงการพัฒนาเมืองที่สร้างปัญหามากกว่าการมุ่ง พัฒนาให้เมืองมีทรัพยากรที่สาคัญไว้ใช้อย่างมีคุณภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
  • 6. เพิ่มเติมได้ที่ furd-rsu.org หรือ https://www.facebook.com/furd.rsu ประธานกากับทิศทางแผนงาน นพม. : ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ผู้อานวยการศูนย์ศึกษามหานครและเมือง : น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ : น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้ช่วยบรรณาธิการ : น.ส.ณัฐธิดา เย็นบารุง ผู้เขียน : สินาด ตรีวรรณไชย และคณะ รูปเล่ม : น.ส.ณัฐธิดา เย็นบารุง ปก : อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ปีที่เผยแพร่ : กันยายน 2558 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ ที่อยู่ติดต่อ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เลขที่ 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัด ปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216