SlideShare a Scribd company logo
ISBN : 974-8234-20-7
เจาของ ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร
ที่ปรึกษา ผูชวยศาสตราจารยเอนก เทพสุภรณกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร
อาจารยอุทิน รวยอารี รองอธิการบดีกิจการนักศึกษา
ผูชวยศาสตราจารยชุมศรี นพวงศ ณ อยุธยา ผูทรงคุณวุฒิ
คณะผูจัดทํา ผศ.ประเสริฐ ศีลรัตนา
อาจารยจินดา เนื่องจํานงค
อาจารยชูชาติ นาโพตอง
อาจารยกิจจา สิงหยศ
นางอรวรรณ แสงอรุณ
น.ส.นวลลออ อนุสิทธิ์
พิมพที่ : บริษัทเอ็มเอ็น คอมพิวออฟเซท จํากัด
๔๘๘-๔๙๐ สถานขนสงฉะเชิงเทรา อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒๔๐๐๐
โทร. / แฟกซ ๐-๓๘๕๑-๕๗๗๐ , ๐-๓๘๕๑-๕๕๓๐
พ.ศ. ๒๕๔๘
คํานํา
แนะนําจังหวัดฉะเชิงเทรา “ฉบับอําเภอพนมสารคาม” นี้ เปนโครงการรวบรวมและเผยแพรคุณคา
ทางประวัติศาสตร และวัฒนธรรมทองถิ่น ของอําเภอพนมสารคาม สวนใหญจะมุงเนนไปที่ “วัด” ทั้งนี้
เนื่องจาก “วัด” เปนศูนยรวมทางจิตใจและวิถีชีวิตของชุมชนในทองถิ่น นับตั้งแตอดีตเปนตนมา ซึ่งใน
ปจจุบันชุมชนไดรับวัฒนธรรมเมืองมาจากสวนกลาง ทําใหความรูความเขาใจในทองถิ่นถูกละเลย หรือลืม
เลือนไป อีกทั้งในพื้นที่มีความเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางภูมิทัศน และสิ่งกอสราง เพื่อใหทันตอยุคสมัยนิยม
จนทําใหคุณคาความเปนทองถิ่นและเอกลักษณของชุมชนถูกทําลายไปตามคานิยมใหม อยางนาเสียดาย
ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น เล็งเห็นความสําคัญในการอนุรักษ โดยการเก็บรวบรวม
ขอมูลภาพและขอมูลเชิงวิชาการ เพื่อเผยแพรใหอนุชนและผูสนใจไดตระหนักถึงคุณคาของทองถิ่น ทั้ง
เรื่องราวที่เปนประวัติศาสตร หรือภาพบรรยากาศในอดีต ที่ไมสามารถเรียกรองใหหวนกลับคืนมา โดย
เปรียบเทียบกับสิ่งที่พบเห็นไดในปจจุบัน และเพื่อสรางจิตสํานึกใหเกิดความรัก หวงแหนคุณคาในทองถิ่น
ของตน เทาที่ศักยภาพแหงกาลเวลา และขีดขั้นความสามารถจะเอื้ออํานวย
ขอขอบคุณ ผศ.นภาพร อมรเลิศสินไทย และผูที่มีสวนรวมในการผลักดันใหขอมูลภาพและขอมูล
เชิงวิชาการมีความสมบูรณในระดับหนึ่งทุกทาน
ทางศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น หวังเปนอยางยิ่งวา สวนที่ยังขาดหายไปคงไดรับการสานตอ
และเติมเต็มจากทานในวันขางหนา ไมวาจะเปนใครก็ตาม และนาจะเปนประโยชนตอการสรางหลักสูตร
ความรูเกี่ยวกับทองถิ่นไดในระดับหนึ่ง เราหวังเชนนั้นจริง ๆ
ประเสริฐ ศีลรัตนา
จินดา เนื่องจํานงค
อําเภอพนมสารคาม
อําเภอพนมสารคาม
อําเภอพนมสารคาม เปนอําเภอหนึ่งในจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว
รัชกาลที่ ๔ โปรดเกลาฯ ใหยกฐานะเปนเมืองพนมสารคาม เมื่อป พ.ศ. ๒๓๙๕ มีเจาเมืองปกครองใน
ตําแหนงพระพนมสารนรินทร แตเดิมศาลาวาการเมืองพนมสารคาม ตั้งอยูบริเวณขางวัดโพธิ์ใหญ
ศาลหลักเมืองพนมสารคาม อยูใกลโรงเรียนวัดทาลาดเหนือ ตอมาในป พ.ศ. ๒๔๔๔ พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ โปรดเกลาฯ ใหยุบเมืองพนมสารคามเปนอําเภอพนมสารคาม เมื่อป พ.ศ.
๒๔๔๔ โดยมีหลวงประเทศธุรารักษ (แหยม สาริกะภูติ) เปนนายอําเภอพนมสารคามคนแรก ตอมาในป
พ.ศ. ๒๔๔๙ สมัยหลวงรามบุรานุกิจ เปนนายอําเภอพนมสารคาม (คนที่ ๒) ไดยายที่วาการอําเภอพนมสาร
คามไปยังฝงตรงขามคลองทาลาด บริเวณโรงเรียนไพบูลยประชานุกูลในปจจุบัน และที่ตั้งเมืองพนมสารคาม
เดิมบริเวณขางวัดโพธิ์ใหญเปนตําบลเมืองเกา สวนที่ตั้งอําเภอใหม บริเวณโรงเรียนไพบูลยประชานุกูล
เรียกวา “เมืองใหม” (ปจจุบันตําบลเมืองใหมแยกไปเปนตําบลหนึ่งของอําเภอราชสาสน) ตอมาในราวป
พ.ศ. ๒๔๘๐ สมัยนายชวน สุริยจันทร เปนนายอําเภอพนมสารคาม ไดยายที่วาอําเภอมาตั้งที่ฝงตรงขาม
วัดทาเกวียน อันเปนที่ตั้งของที่วาการอําเภอพนมสารคามในปจจุบัน
ประวัติการตั้งชุมชนในเขตพื้นที่อําเภอพนมสารคาม
สภาพพื้นที่ในอําเภอพนมสารคาม นับแตอดีตสันนิษฐานวา มีการตั้งถิ่นฐานเปนชุมชนมายาวนาน
โดยอาศัยหลักฐานที่พบทั้งทางดานโบราณคดีและทางดานประวัติศาสตร ซึ่งแบงออกเปนลําดับยุคสมัยได
ดังนี้
๑. จากหลักฐานทางดานโบราณคดี
สมัยทวารวดี มีหลักฐานจากแหลงโบราณคดี ดังนี้
- แหลงโบราณคดีบานบึงกระจับ หมูที่ ๖ ตําบลเมืองเกา อําเภอพนมสารคาม พบเศษ
เครื่องปนดินเผาแบบเดียวกับเมืองศรีมโหสถ เศษเครื่องถวยจีนเคลือบสีเขียวสมัยราชวงศถัง ชุมชนแหงนี้อยู
ในสมัยประวัติศาสตรตอนตน ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๖
- แหลงโบราณคดีบานโคกหัวขาว (วัดอุดมธัญญาหาร) หมูที่ ๓ ตําบลทาถาน อําเภอพนม
สารคาม พบระฆังหินปูนขนาดใหญ ๓ ชิ้น ฐานประติมากรรมทําจากหินทรายสีเขียว ศิลปะแบบทวารวดี
โบราณสถานกอสรางดวยอิฐแบบทวารวดี เศษเครื่องปนดินเผา เครื่องสังคโลกและเครื่องถวยจีนสมัย
ราชวงศเหม็ง
- แหลงโบราณคดีบานคูเมือง หมูที่ ๓ ตําบลเกาะขนุน อําเภอพนมสารคาม พบเศษ
เครื่องปนดินเผา หินบดยา และโบราณสถานกอสรางดวยศิลาแลง ศิลปะสมัยทวารวดี
จากหลักฐานที่ปรากฏดังกลาว พื้นที่เขตพนมสารคามจึงมีชุมชนตั้งอยูตั้งแตสมัยทวารวดี ราว
พุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๖ เปนตนมา ประกอบกับบริเวณนี้เปนที่ราบลุมน้ําทวมถึง มีคลองทาลาดไหลผานลงสู
แมน้ําบางปะกงที่ปากน้ําโจโล อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ดังนั้นพนมสารคามจึงเหมาะที่จะเปนเมือง
ทา คาขายกับดินแดนอื่น ๆ ในระแวงใกลเคียงทั้งทางบกและทางน้ํากับเมืองโบราณในสมัยเดียวกัน เชน
เมืองศรีมโหสถ ชุมชนบริเวณโบราณสถานสระมรกต ชุมชนบานโคกขวาง อําเภอศรีมหาโพธิ์ จังหวัด
ปราจีนบุรี ชุมชนบานโคกหัวขาว ตําบลทาถาน อําเภอพนมสารคาม บานคูเมือง ตําบลเกาะขนุน อําเภอพนม
สารคาม เมืองพระรถ อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เมืองดงละคร อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก ชุมชน
โบราณบานโคกกระโดน อําเภอปากพลี จังหวัดนครนายก นอกจากนี้ยังติดตอกับดินแดนที่อยูไกลออกไป
เชน บุรีรัมย นครปฐม รวมทั้งดินแดนโพนทะเล เชน จีน อินเดีย เปอรเชีย เปนตน
สมัยกรุงศรีอยุธยา ชุมชนในบริเวณอําเภอพนมสารคาม มีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานในสมัยนี้ คือ
- บริเวณบานโคกหัวขาว และวัดอุดมธัญญาหาร หมูที่ ๓ ตําบลทาถาน อําเภอพนมสารคาม
พบใบเสมาทําดวยหินทรายแดง ปกอยูเปนคูขนานและลวดลายเหมือนกัน สลักเปนลวดลายศิลปะอยุธยา
ตอนปลาย-รัตนโกสินทร เครื่องปนดินเผาประเภทไห เชนเดียวกับที่พบในชุมชนอยุธยา
- บริเวณริมคลองทาลาด ดานทิศเหนือของวัดทาลาดเหนือและทาลาดใต ตําบลทาถาน อําเภอ
พนมสารคาม พบเศษเครื่องปนดินเผา เครื่องถวย เครื่องสังคโลกเคลือบสีเขียวและเขียนลายสีดําใตเคลือบ
ขาว เครื่องถวยจีนสมัยราชวงศหยวน และราชวงศเหม็ง อายุระหวางพุทธศตวรรษที่ ๑๘-๒๓
- บริเวณวัดทาลาดเหนือ พบใบเสมาหินทรายแดง มีลวดลายซึ่งเปนลักษณะศิลปะอยุธยา
ตอนตน และเจดียยอมุมไมสิบสอง แบบศิลปะอยุธยาตอนปลาย
จากหลักฐานดังกลาว สันนิษฐานวาบริเวณนี้นาจะเปนแหลงชุมชนมาตั้งแตชวงอยุธยาตอนตน
จนถึงสมัยรัตนโกสินทร และเปนเสนทางผานไปยังชุมชนอื่น โดยอาศัยคลองทาลาดไปยังปากน้ําโจโล ซึ่ง
ติดตอกับแมน้ําบางปะกง นอกจากนี้ยังเปนเสนทางระหวางปราจีนบุรีและชลบุรี อันเปนเสนทางชายฝง
ทะเลตะวันออก และจากหลักฐานโบราณคดีที่พบในเขตจังหวัดนครนายก ปราจีนบุรี ชลบุรี สันนิษฐานวา
เปนเสนทางวัฒนธรรมแบบทวารวดี โดยไดรับวัฒนธรรมจากอินเดีย ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดานการ
ปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมอยางชัดเจน เชน เมืองศรีมโหสถ เมืองดงละคร เมืองพระรถ เมืองบริเวณบาน
คายและเมืองเพนียด ในกลุมเมืองเหลานี้มักพบวัฒนธรรมเขมรสอดแทรกดวย โดยเฉพาะในชวงพุทธ
ศตวรรษที่ ๑๖-๑๘ เพราะความเสื่อมของวัฒนธรรมทวารวดี
ภายหลังพุทธศตวรรษที่ ๑๘ เขมรเสื่อมอํานาจลง ศูนยกลางอํานาจไดเปลี่ยนมาอยูที่อยุธยา
กลุมเมืองดังกลาวที่เปนชุมชนเล็ก ๆ มีการยายที่ตั้งเมืองไปตามลําน้ํา เพราะเหตุผลในทางเศรษฐกิจและ
การคา การคมนาคม การปองกันตัวเองจากภัยสงคราม อีกทั้งยังอาศัยแหลงน้ําเพื่อการเกษตรและใชใน
ชีวิตประจําวัน ดังนั้นชุมชนพนมสารคาม จึงมีการตั้งถิ่นฐานตามลําน้ําคลองทาลาดมาตลอดในชวงสมัย
อยุธยา ถึงสมัยรัตนโกสินทร
๒. จากหลักฐานทางประวัติศาสตร
สมัยกรุงธนบุรี ในป พ.ศ. ๒๓๒๑ สมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก เปนแมทัพไปตีเมือง
เวียงจันทนและหัวเมืองขึ้นมาเปนของไทย ไดกวาดตอนผูคนชาวเมืองเวียงจันทนลงมาอยูแถวเมืองลพบุรี
สระบุรี นครนายก และเมืองฉะเชิงเทรา ชาวลาวบางสวนจึงตั้งบานเรือนกระจัดกระจายอยูแถบบริเวณคลอง
ทาลาด และตั้งชื่อหมูบานและวัดตามชื่อบานเดิมในลาว เชน วัดจอมมณี วัดโพธิ์ใหญ วัดนาเหลาน้ํา วัด
เมืองแมด วัดบานเลอ วัดจอมศรี วัดเชียงใต วัดเตาเหล็ก วัดมหาเจดีย วัดเมืองกาย และวัดลาดฮวง ดังที่
ปรากฏในปจจุบัน
สมัยกรุงรัตนโกสิทรตอนตน
- รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๓ โปรดเกลาฯ ใหพระยาบดินทรเดชา
(สิงห สิงหเสนี) ยกกองทัพไปตีลาวและเขมรในป พ.ศ. ๒๓๗๖ ไดกวาดตอนชาวลาวและเขมรเขามาเปน
เชลยจํานวนมาก และกําหนดพื้นที่ใหไปตั้งบานเรือนโดยใหชาวลาวเวียงและลาวพวน ตั้งบานเรือนที่บานทา
ทราน ชุมชนบริเวณนี้จึงหนาแนนขึ้นเปนลําดับ
- รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๔ โปรดเกลาฯ ใหยกบานทาทราน ซึ่ง
ตั้งอยูริมคลองทาลาด เปนเมืองพนมสารคาม ในป พ.ศ. ๒๓๙๕ โดยแบงเขตแดนตั้งแตปากน้ําโจโล เขาไป
ตามลําคลองทาลาด ฝายใตเปนแขวงเมืองฉะเชิงเทรา ฝายเหนือเปนเมืองพนมสารคาม และมีพระพนมสาร
นรินทรเปนเจาเมือง
- รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ โปรดเกลาฯ ใหตั้งมณฑล
ปราจีน ในป พ.ศ. ๒๔๓๖ โดยรวมหัวเมืองทางลําแมน้ําบางปะกง คือ เมืองปราจีนบุรี เมืองฉะเชิงเทรา เมือง
นครนายก และเมืองพนมสารคาม มีที่ตั้งมณฑลอยูที่เมืองปราจีนบุรี ตอมาเมื่อป พ.ศ. ๒๔๔๔ ไดยุบเมือง
พนมสารคามเปนอําเภอเมืองพนมสารคาม และในป พ.ศ. ๒๔๔๗ ไดยายที่ตั้งมณฑลปราจีนมาตั้งที่เมือง
ฉะเชิงเทรา
คําขวัญของอําเภอพนมสารคาม
คลองทาลาดทิวทัศนนายล ถนนพระรถเสน อาชีพเดนเกษตรกรรม
วัฒนธรรมไทยพวน สวนพฤกษศาสตรล้ําคา ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน
สภาพทางภูมิศาสตร
อําเภอพนมสารคาม มีอาณาเขตติดตอดังนี้
ทิศเหนือ ติดตอกับ อําเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี
ทิศใต ติดตอกับ อําเภอแปลงยาว และสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศตะวันออก ติดตอกับ อําเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศตะวันตก ติดตอกับ อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา
การเดินทาง
การเดินทางเขาสูอําเภอพนมสารคาม มีถนนสายหลัก ดังนี้
- สาย ๓๐๔ (ฉะเชิงเทรา - กบินทรบุรี) จากฉะเชิงเทรา ถึงพนมสารคาม ระยะทาง ๓๑ กิโลเมตร
- สาย ๓๑๙ (พนมสารคาม - ปราจีนบุรี) จากปราจีนบุรี ถึงพนมสารคาม ระยะทาง ๓๔ กิโลเมตร
- สายพนมสารคาม – บางคลา หรือถนนฤทธิประศาสน ระยะทาง ๑๗ กิโลเมตร
- สาย ๓๓๔๗ (พนมสารคาม - บานสราง) จากปราจีนบุรี ถึงบานสราง ระยะทาง ๓๔ กิโลเมตร
- สาย ๓๒๔๕ (พนมสารคาม – สนามชัยเขต - ทาตะเกียบ) จากพนมสารคาม ถึงสนามชัยเขต ถึง
ทาตะเกียบ ระยะทาง ๑๖ และ ๔๖ กิโลเมตร มีรถโดยสารประจําทางผานไปจนถึงอําเภอคลองหาดและ
อําเภอวังน้ําเย็น จังหวัดสระแกว
และรถโดยสารประจําทางที่ผานอําเภอพนมสารคาม คือ พนมสารคาม - ฉะเชิงเทรา, กรุงเทพฯ -
พนมสารคาม, ปราจีนบุรี – ฉะเชิงเทรา, พัทยา - แมสาย, ระยอง - นครราชสีมา และอรัญประเทศ-
ฉะเชิงเทรา
การแบงเขตการปกครอง
อําเภอพนมสารคามมีพื้นที่ ๓๕๘,๐๑๔ ไร แบงการปกครองออกเปนตําบล ๘ ตําบล ๘๖ หมูบาน
ดังนี้
๑. ตําบลพนมสารคาม มี ๓ หมูบาน
๒. ตําบลเกาะขนุน มี ๑๕ หมูบาน
๓. ตําบลเขาหินซอน มี ๑๓ หมูบาน
๔. ตําบลเมืองเกา มี ๗ หมูบาน
๕. ตําบลทาถาน มี ๗ หมูบาน
๖. ตําบลหนองยาว มี ๑๒ หมูบาน
๗. ตําบลหนองแหน มี ๑๕ หมูบาน
๘. ตําบลบานซอง มี ๑๔ หมูบาน
และมีเทศบาลตําบล ๓ แหง คือ เทศบาลตําบลพนมสารคาม เทศบาลตําบลเกาะขนุน และ
เทศบาลตําบลเขาหินซอน
๑. ตําบลพนมสารคาม
ชื่อเดิมคือตําบลทาเกวียนและเมื่อประมาณ ๘๐ ป ที่ผานมาไดเปลี่ยนชื่อเปนตําบลพนมสารคาม
แบงเขตการประครองออกเปน ๓ หมู คือ
หมูที่ ๑ บานทาเกวียน
หมูที่ ๒ บานเมืองกาย
หมูที่ ๓ บานเชียงใต
ประวัติหมูบานตําบลพนมสารคาม
หมูที่ ๑ บานทาเกวียน
หมูบานตลาดทาเกวียน เดิมเรียกวา “ทาเกวียน” เหตุที่เรียกเชนนี้เนื่องจากบริเวณที่เปนตลาดทา
เกวียนในปจจุบันนี้ แตกอนเปนปาละเมาะเล็ก ๆ ริมคลองทาลาด ตลอดแนวริมคลองสวนใหญเปนตนไผ
เฉพาะตรงบริเวณที่เปนที่ตั้งตลาดทาเกวียนเปนปาไผหยอม ๆ เปนที่ลาดและราบริมคลอง ในขณะนั้นแรก ๆ
มีผูอยูอาศัยเพียง ๕-๖ หลังคาเรือน ตั้งบานอยูบนบกบาง อาศัยแพอยูริมน้ําบาง หมูบานเล็ก ๆ นี้เปนศูนย
รวมของเกวียนซึ่งเปนพาหนะในสมัยนั้น ที่บรรทุกสินคาจากทองถิ่นตาง ๆ ในภูมิภาคแถบนี้ อันไดแก
ขาวเปลือก พืชไร และของปา เชน ไตจุดไฟ น้ํามันยาง น้ําผึ้ง ฯลฯ จากโคกมอญ โคกปบ ทาประชุม
ดงนอย ฯลฯ ในแตละวันจะมีเกวียนบรรทุกสินคามาลงของที่ทาเกวียนแหงนี้นับเปนรอย ๆ เลม กลาวกัน
วาเสียงเกวียนที่มาจากทิศตาง ๆ ดังอยูตลอดวันไมขาดสาย ซึ่งสวนใหญจะออกจากบานบรรทุกสินคามา
ตั้งแตเชากอนสวาง เมื่อขนถายสินคาซื้อขายแลกเปลี่ยนเสร็จสรรพแลว ก็จะพักวัวควายเปนเวลาพอสมควร
จึงเริ่มออกเดินทางกลับบาน
ตอมาประชากรเริ่มขยายมากขึ้นโดยมีพวกชาวจีนบาง ชาวลางอพยพจากเวียงจันทนบางทยอยเขามา
ตั้งบานเรือนอยูอาศัย ชาวจีนที่มาคาขายทํามาหากินก็ตั้งถิ่นฐานรานคา ทําใหหมูบานกลายเปนตลาดมีสินคา
มากมายขยายวิวัฒนาการจากเดิมเปนเพียงที่ลงของถายเทสินคา มาเปนตลาดทาเกวียนอันเปนแหลงชุมชน
และยานการคาที่สําคัญของอําเภอพนมสารคามในปจจุบัน
หมูที่ ๒ บานเมืองกาย
(ไมสามารถหาขอมูลไดในขณะนี้)
หมูที่ ๓ บานเชียงใต
ตั้งขึ้นเมื่อสมัยเวียงจันทรแตก ประชาชนที่อพยพมาอยูที่นี่สวนใหญเปนเชื้อสายลาวเวียงจันทร ชื่อ
ของหมูบานจึงใชชื่อเดิมที่มาจากเวียงจันทร ตอมาไดมีการวิวัฒนาการขึ้นเรื่อย ๆ ตามลําดับจนถึงปจจุบัน
สถานที่ที่นาสนใจ
ในตําบลพนมสารคาม
วัดหนองรี
วัดหนองรี ตั้งอยูเลขที่ ๔๕๕ บานหนองรี ถนนพนม - ทาลาด หมูที่ ๑ ตําบลพนมสารคาม อําเภอ
พนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆมหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๖ ไร ๒๐ ตารางวา อาณาเขต
ทิศเหนือ และทิศใต จรดหมูบานหนองรี ทิศตะวันออก จรดคลองทาลาด ทิศตะวันตก จรดถนนพนมทาลาด
มีที่ธรณีสงฆ จํานวน ๑ แปลง เนื้อที่ ๑ ไร
วัดหนองรี ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๐ ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ.
๒๕๐๕ เขตวิสุงคามสีมา กวาง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร
สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้
รูปที่ ๑ พระอวบ
รูปที่ ๒ พระวอน
รูปที่ ๓ พระสังวร
รูปที่ ๔ พระครูปญญาธรรมคุณ พ.ศ. ๒๕๐๘ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๔
รูปที่ ๕ พระครูสังวรธรรมรักษ พ.ศ. ๒๕๓๔ ถึง ปจจุบัน
รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด
๑. พระอุโบสถ กวาง ๗ เมตร ยาว ๑๖ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๓ เปนอาคารคอนกรีต
เสริมเหล็ก
๒. ศาลาการเปรียญ กวาง ๑๓ เมตร ยาว ๒๔ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๗ เปนอาคารไมทรง
ไทย
๓. หอสวดมนต กวาง ๑๐ เมตร ยาว ๑๘ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๖ เปนอาคารไมทรงไทย
๔. กุฏิสงฆ จํานวน ๔ หลัง เปนอาคารไม ๓ หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม ๑ หลัง
๔. ศาลาบําเพ็ญกุศล จํานวน ๑ หลัง สรางดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก
นอกจากนี้ยังมีอาคารเสนาสนะตาง ๆ คือ ฌาปนสถาน จํานวน ๑ หลัง และโรงครัว จํานวน ๑
หลัง
เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดหนองรี
๑. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา. กรุงเทพฯ. หนา ๑๘๔–๑๘๕
ภาพสิ่งที่นาสนใจภายในวัดหนองรี
บน และ ลาง : พระอุโบสถดานหนาและดานหลัง
บน และ ลาง : ลายปนปูนหนาบันดานหนาและดานหลัง
บน และ ลาง : กลุมเสนาสนะภายในวัด
บน : เสนาสนะภายในวัด
ลาง : ทัศนียภาพคลองทาลาดบริเวณหนาวัด
บน : ฌาปนสถาน
ลาง : มรณานุสติสถาน
วัดเมืองกาย
วัดเมืองกาย ตั้งอยูเลขที่ ๕๘ บานเมืองกาย ถนนพนมสารคาม-บางคลา หมูที่ ๒ ตําบลพนมสาร
คาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆมหานิกาย ที่ดินวัดมีเนื้อที่ ๒๔ ไร มีที่ธรณีสงฆ
จํานวน ๑ แปลง เนื้อที่ ๒ ไร ๓ งาน
วัดเมืองกาย ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๗ สันนิษฐานวาผูสรางวัด คือ ชาวเวียงจันทน ที่ไดอพยพมาอยูใน
ประเทศไทย ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลที่ ๓ เพราะพระอุโบสถหลังเกา เดิมเปนศิลปะทางเวียงจันทน ไดมีการ
ปฏิสังขรณถึง ๒ ครั้ง เดิมมีเนื้อที่เพียง ๒ ไรเศษ ปจจุบันมีเนื้อที่ประมาณ ๒๔ ไร โดยมีผูมีจิตศรัทธา ถวาย
ที่ดินเพิ่มเติมใหวัด
การศึกษา มีโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม เปดสอนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๒
สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้
รูปที่ ๑ พระครูกิตติประยุต พ.ศ. ๒๕๐๗ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๓
รูปที่ ๒ พระบุญจันทร ชุติธมโม พ.ศ. ๒๔๓๖ ถึง ปจจุบัน
รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด
๑. พระอุโบสถ กวาง ๖ เมตร ยาว ๑๒ เมตร เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
๒. ศาลาการเปรียญ กวาง ๑๔ เมตร ยาว ๒๔.๕๐ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๖ เปนอาคาร
คอนกรีตเสริมเหล็ก
๓. กุฏิสงฆ จํานวน ๕ หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม ๒ หลัง และตึก ๓ หลัง
๔. ศาลาเอนกประสงค กวาง ๑๓.๕๙ เมตร ยาว ๒๔.๙๐ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๕ เปนอาคาร
คอนกรีตเสริมเหล็ก
๕. ศาลาบําเพ็ญกุศล จํานวน ๒ หลัง สรางดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก ๒ หลัง
นอกจากนี้ยังมีอาคารเสนาสนะตาง ๆ ดังนี้ คือ ศาลาอองแสวงชัย และศาลาจรัสไพบูลย01
เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดเมืองกาย
๑. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา. กรุงเทพฯ. หนา ๑๓๔-๑๓๕
ภาพสิ่งที่นาสนใจภายในวัดเมืองกาย
ภาพบน พระอุโบสถหลังใหม เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕
ภาพลาง พระอุโบสถหลังใหม เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘
พระอุโบสถหลังเกา
ถายเมื่อ วันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๒๔
พระอุโบสถหลังเกา
ถายเมื่อ วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕
พระอุโบสถหลังเกา
ถายเมื่อ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘
ภาพบนและภาพลาง ลายจําหลักไมหนาบันพระอุโบสถหลังเกาทั้งดานหนาและดานหลัง
ภายในพระอุโบสถหลังเกา มีจิตรกรรมฝาผนังรอบดาน
ภาพบน ศาลาและหอระฆัง
ภาพลาง หอสวดมนต
ศาลาการเปรียญ
วัดเจริญสถาพร (ราชฮวง)
วัดราชฮวง ตั้งอยูที่บานราชฮวง หมูที่ ๓ ตําบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัด
ฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆมหานิการ ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๗ ไร ๓ งาน ๓๙ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือจรด
คลองทาลาด ทิศใตจรดถนนสาธารณะ ทิศตะวันออก จรดถนนราชสราญ ทิศตะวันตก จรดคลองสาธารณะ
วัดราชฮวง ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๗
สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้
รูปที่ ๑ พระจํานงค พ.ศ. ๒๕๒๑ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๔
รูปที่ ๒ พระมานะ พ.ศ. ๒๕๒๕ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๘
รูปที่ ๓ พระสมพงศ พ.ศ. ๒๕๓๙ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๑
รูปที่ ๔ พระอรรถ
รูปที่ ๕ พระบุญสง พ.ศ. ๒๕๔๑ ถึง พ.ศ. ปจจุบัน
รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด
๑. พระอุโบสถ กวาง ๑๒ เมตร ยาว ๑๖ เมตร เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
๒. ศาลาการเปรียญ กวาง ๒๕ เมตร ยาว ๒๘ เมตร เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
๓. หอสวดมนต กวาง ๔๐ เมตร ยาว ๖๐ เมตร เปนอาคารไม
๔. กุฏิสงฆ จํานวน ๒ หลัง เปนอาคารไม ๑ หลัง และตึก ๑ หลัง
๕. วิหาร กวาง ๒๔ เมตร ยาว ๔๐ เมตร เปนอาคารไม สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๑
1F
2
เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดเจริญสถาพร (วัดราชฮวง)
๑. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา. กรุงเทพฯ. หนา ๑๓๗.
ภาพสิ่งที่นาสนใจภายในวัดเจริญสถาพร (ราชฮวง)
ภาพบน พระอุโบสถหลังเกา ถายเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕
ภาพลาง พระอุโบสถหลังใหม ถายเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘
ภาพซาย พระประธานภายในพระอุโบสถ
ภาพขวา ซุมหนาตางพระอุโบสถ
ภาพซาย ลายปนปูนหนาบันดานหนา
ภาพขวา ลายปนปูนหนาบันดานหลัง
ภาพบนและภาพลาง : ลายหนาบันซุมประตู
ศาลาการเปรียญ
ภาพบน ถายเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕
ภาพลาง ถายเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘
ภาพบนและภาพลาง : อนุสาวรียพระเจาตากสินมหาราช ซึ่งตั้งอยูขางศาลาการเปรียญ
ภาพบน ศาลพระเจาตากสินมหาราช
ภาพลาง หอกลอง
ภาพบนและภาพลาง : กลุมเสนาสนะภายในวัด
ภาพบน ศาลาทาน้ําริมคลองทาลาด
ภาพลาง มรณานุสติสถาน
วัดเชียงใต (วัดศรีพรหม)
วัดเชียงใต ตั้งอยูเลขที่ ๑๑๗ บานเชียงใต ถนนพนมสารคาม-บางคลา หมูที่ ๓ ตําบลพนมสาร
คาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆ มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๒๑ ไร ๗ ตาราง
วา อาณาเขต ทิศเหนือ จรดถนนสายพนมสารคาม-บางคลา ทิศใต จรดคลองทาลาด ทิศตะวันออก จรดที่
สาธารณะ ทิศตะวันตก จรดคูน้ําสาธารณะ
วัดเชียงใต ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๗ ประวัติของวัดทราบจากคําบอกเลาตอ ๆ กันมาวา ชาวบานเชียงใต
ซึ่งอพยพมาจากเวียงจันทน ประเทศลาว ในสมัยที่พระยาจักรี ยกทัพไปตีเมืองเวียงจันทน และไดกวาดตอน
ผูคนมาดวย เมื่อชาวบานไดตั้งหมูบานขึ้น จึงไดสรางวัดนี้ขึ้นเปนวัดประจําหมูบาน และมีพระไม จํานวน ๒
องค โดยไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ วันที่ ๓๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๑๔ เขตวิสุงคามสีมา กวาง
๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร
สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้
รูปที่ ๑ พระอธิการโห พ.ศ. ๒๔๓๕ ถึง พ.ศ. ๒๔๘๖
รูปที่ ๒ พระทองขาว วงศจําปา (ร.ก.) พ.ศ. ๒๔๘๖ ถึง พ.ศ. ๒๔๘๘
รูปที่ ๓ พระครูสารธรรมนิวิฐ พ.ศ. ๒๔๘๘ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๙
รูปที่ ๔ พระอธิการเกษม ปภากโร พ.ศ. ๒๕๓๙ ถึง ปจจุบัน
รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด
๑. พระอุโบสถ กวาง ๗ เมตร ยาว ๒๒ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๐ เปนอาคารคอนกรีต
เสริมเหล็ก
๒. ศาลาการเปรียญ กวาง ๑๓ เมตร ยาว ๒๓ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๒ เปนอาคารคอนกรีต
เสริมเหล็ก
๓. กุฏิสงฆ จํานวน ๒ หลัง เปนอาคารครึ่งตึกครึ่งไม ๒ หลัง
๔. วิหาร กวาง ๑๒ เมตร ยาว ๒๑.๔๐ เมตร เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
๕. ศาลาบําเพ็ญกุศล จํานวน ๑ หลัง สรางดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก กวาง ๑๐ เมตร ยาว ๒๕
เมตร
นอกจากนี้มีอาคารเสนาสนะตาง ๆ ดังนี้ คือ ฌาปนสถาน ๑ หลัง ปูชณียวัตถุ มีประธานประจํา
อุโบสถ ปางสมาธิ ขนาดหนาตักกวาง ๑.๕๐ เมตร เปนพระพุทธรูปปูนปน2F
3
ซึ่งทางวัดจะชลอไปประดิษฐาน
ที่วิหาร
เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดเชียงใต
๑. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา. กรุงเทพฯ. หนา ๓๗
ภาพสิ่งที่นาสนใจภายในวัดเชียงใต (วัดศรีพรหม)
ภาพบน พระอุโบสถหลังเกา ปพ.ศ. ๒๕๓๕
ภาพลาง ลานซีเมนตบริเวณที่ตั้งพระอุโบสถหลังเกา ปพ.ศ. ๒๕๔๘ ดานหลัง คือ ศาลาการเปรียญ
ภาพบน
พระอุโบสถหลังใหม
ถายเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕
ภาพลาง
พระอุโบสถหลังใหม
ถายเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘
ภาพบน พระอุโบสถดานหนา
ภาพลาง พระอุโบสถดานหลัง07
ภาพบนและภาพลาง : พระอุโบสถดานขาง
ภาพบน ลายปนปูนหนาบันพระอุโบสถดานหนา
ภาพลาง ลายปนปูนหนาบันพระอุโบสถดานหลัง
ภาพซายและภาพขวา : พระไมพุทธศิลปทรงลาวที่นํามาจากประเทศลาว เมื่อคราวอพยพ
ภาพซายและภาพขวา : พระไมพุทธศิลปทรงลาวที่นํามาจากประเทศลาว เมื่อคราวอพยพ
ภาพบน และภาพลาง : ศาลาการเปรียญ
พุทธศิลปทรงลาว พระประธานในพระอุโบสถหลังเกา ปจจุบันประดิษฐานในศาลาการเปรียญ
ภาพบนและภาพลาง : ศาลาทาน้ําคลองทาลาด
ภาพบน ศาลาทาน้ํา
ภาพลาง คลองทาลาด
ศาลเชื้อบาน ปพ.ศ. ๒๕๓๕
ศาลเชื้อบาน ปพ.ศ. ๒๕๔๘
ภาพบน ฌาปนสถานใหมกําลังกอสราง
ภาพลาง มรณานุสติสถาน
วัดมหาเจดีย (วัดนอก)
วัดมหาเจดีย ตั้งอยูเลขที่ ๑๑๘ บานเตาเหล็ก หมูที่ ๓ ตําบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม
จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆมหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๑๓ ไร ๑๒ ตารางวา
วัดมหาเจดีย ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๗ ไดรับพระราชทางวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๒
สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้
รูปที่ ๑ พระมหาอุต พ.ศ. ๒๔๒๐ ถึง พ.ศ. ๒๔๓๔
รูปที่ ๒ พระครูวิมลญาณสุนทร พ.ศ. ๒๔๔๐ ถึง พ.ศ. ๒๔๙๙
รูปที่ ๓ พระมิ่ง ทนฺตจาโร พ.ศ. ๒๕๐๐ ถึง พ.ศ. ๒๕๑๕
รูปที่ ๔ พระสมนึก อนาลโย พ.ศ. ๒๕๑๗ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๕
รูปที่ ๕ พระฉลวย สิริปุฺโญ พ.ศ. ๒๕๓๕ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๘
รูปที่ ๖ พระไพรวัลย สนฺติกโร พ.ศ. ๒๕๓๘ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๐
รูปที่ ๗ พระกมล จนฺทสาโร พ.ศ. ๒๕๔๐ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๑
รูปที่ ๘ พระสวาง สุขํชาโต พ.ศ. ๒๕๔๑ ถึง ปจจุบัน
รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด
๑. พระอุโบสถ แบบลานชาง ซึ่งเปนสถาปตยกรรมแบบลาว
๒. ศาลาการเปรียญ กวาง ๑๙.๒๐ เมตร ยาว ๒๗.๒๐ เมตร เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
๓. กุฏิสงฆ จํานวน ๑ หลัง เปนอาคารไม
๔. เจดียรูปทรงไมสิบสอง
๕. วิหารที่ประดิษฐานรูปหลอเหมือนหลวงพอกอย 3F
4
เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดมหาเจดีย (วัดนอก)
๑. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา. กรุงเทพฯ. หนา ๑๓๔.
ภาพสิ่งที่นาสนใจภายในวัดมหาเจดีย (วัดนอก)
บน และ ลาง : พระอุโบสถหลังเกาปจจุบันถูกรื้อถอนและสรางอุโบสถหลังใหมบนพื้นที่เดิม
บน และ ลาง : พระอุโบสถหลังใหม
บน และ ลาง : ลายปูนปนหนาบันอุโบสถทั้งดานหนา และดานหลัง
ซายและ ขวา : พระประธานภายในอุโบสถ
ประมวลภาพพระไม พุทธศิลปทรงลาว ที่ประดิษฐานชั้นใตดินอุโบสถหลังใหม
ประมวลภาพพระไม พุทธศิลปทรงลาว ที่ประดิษฐานชั้นใตดินอุโบสถหลังใหม
ประมวลภาพพระไม พุทธศิลปทรงลาว ที่ประดิษฐานชั้นใตดินอุโบสถหลังใหม
บน : เจดียที่ผูอพยพจากลาวสรางขึ้นในสมัยกรุงธนบุรี เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุและวัตถุมงคล
ที่มีคาซึ่งประกอบดวย พระพุทธรูปทองคํา และอัญมณี เปนภาพที่ถายเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๘
ลาง : ถายเมื่อ ๒๕๓๕
บน และลาง : ถายเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๘
บน : วิหารที่ประดิษฐานรูปหลอเหมือนหลวงพอกอย ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕
ลาง : วิหารที่ประดิษฐานรูปหลอเหมือนหลวงพอกอย ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘
บน ซายและขวา : รูปหลอเหมือนหลวงพอกอยทั้ง ๒ รูป ภายในวิหาร
บน : กลุมเสนาสนะภายในวัด
ลาง : บอน้ําใหญหลังอุโบสถ
บน : ฌาปนสถาน
ลาง : มรณานุสติสถาน
วัดเตาเหล็ก
วัดเตาเหล็ก ตั้งอยูเลขที่ ๑๑๙ บานเตาเหล็ก หมูที่ ๓ ตําบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม
จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆมหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๓ ไร ๓ งาน ๗๖ ตารางวา
วัดเตาเหล็ก ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๗ เดิมชื่อวัด ศรีธาตุ เริ่มสรางเมื่อประมาณ ๒๐๐ ปเศษ “ซึ่งนับวาเปน
วัดที่เกาแกที่สุดในคุงน้ําทาลาด” และเปนสถานที่ดื่มน้ําพระพิพัฒนสัตยา
มีเรื่องเลาสืบตอกันมาวา ชาวบานไดอพยพมาจากบานลานชาง ที่เมืองเวียงจันทน ประเทศลาว ใน
สมัยตนรัตนโกสินทร เมื่อตั้งบานเรือนเรียบรอยแลว จึงไดสรางวัดประจําหมูบานขึ้น พระพุทธรูป พระ
ประธานประจําวัดก็ไดอัญเชิญมาจากเมืองเวียงจันทน ตอนที่อพยพมาตั้งหมูบาน ซึ่งยังปรากฏอยูจนทุกวันนี้
ไดรับพระราชวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๙ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๐ เขตวิสุงคามสีมา กวาง ๒๐ เมตร
ยาว ๔๐ เมตร
พระอุโบสถหลังเกา สรางโดยพระทศพลดลศรี เวียงวโรดม เปนชาวเวียงในสมัยรัชกาลที่ ๓ ซึ่ง
มีการบูรณปฏิสังขรณ เมื่อป พ.ศ. ๒๔๙๔ โดย นางสละ สมบูรณทรัพย บริจาคเงิน ๕๐,๐๐๐ บาท เหตุที่ตอง
มีการบูรณะใหม เนื่องจากหลังคาที่เปนสังกะสีแผนใหญ หรือเรียกวา กระเบื้องวาว สมัยรัชกาลที่ ๕ ยุบ
เสียหายจึงตองเปลี่ยนหลังคาเปนสังกะสีแผนเล็ก แตก็ยังตองเปนสังกะสีเกา เมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๗
สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้
รูปที่ ๑ พระอาจารยประสงค
รูปที่ ๒ พระอาจารยติ้ง
รูปที่ ๓ พระอธิการพัน สุมาโณ
รูปที่ ๔ พระอาจารยนอย
รูปที่ ๕ พระอธิการสบู อิสโร
รูปที่ ๖ พระอธิการพร ปภาโส
รูปที่ ๗ พระพิทักษ ธิตญาโณ ตั้งแต พ.ศ. ๒๕๓๒ - พ.ศ. ๒๕๔๕
รูปที่ ๘ พระครูสถิตญาณคุณ พ.ศ. ๒๕๔๕ - ปจจุบัน
รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด
๑. พระอุโบสถ กวาง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ เปนอาคารคอนกรีต
เสริมเหล็ก
๒. ศาลาการเปรียญ กวาง ๑๒ เมตร ยาว ๒๔ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๕ เปนอาคารคอนกรีต
เสริมเหล็ก ๒ ชั้น
ปูชณียวัตถุ มีพระพุทธรูปสําริด ปางมารวิชัย ขนาดหนาตัก กวาง ๑๙ นิ้ว สูง ๑๘ นิ้ว สรางพรอมกับ
การสรางวัด 4F
5
เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดเตาเหล็ก
๑. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา. กรุงเทพฯ. หนา ๕๐-๕๑.
ภาพสิ่งที่นาสนใจภายในวัดเตาเหล็ก
ภาพบน พระอุโบสถหลังเกา ถายเมื่อ วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕
ภาพลาง พระอุโบสถหลังเกา ถายเมื่อ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘
ภาพบน ถายเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕
ภาพลาง ถายเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘
ภาพบนและภาพลาง : ดานหนาพระอุโบสถหลังเกา
ภาพซายและภาพขวา : หลวงพอหลวง พระประธานภายในพระอุโบสถหลังเกา
ภาพซาย จิตรกรรมฝาผนังภายในพระอุโบสถ ภายขวา จิตรกรรมฝาผนังภายนอกพระอุโบสถ
ภาพซาย คลองทาลาดขางวัด ภาพขวา สิงหบันไดหนาพระอุโบสถ
ภาพซาย พระอุโบสถหลังใหม ถายเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕
ภาพขวา พระอุโบสถหลังใหม ถายเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘
ภาพซาย ลายหนาบันดานหนาพระอุโบสถ ภาพขวา ลายหนาบันดานหลังพระอุโบสถ
ภาพซายและภาพขวา : พระไมพุทธศิลปทรงลาวที่ผูอพยพนําเขามาเมื่อแรกสรางวัด
ภาพบน เจดียเกาแก ถายเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕
ภาพลาง เจดียเกาแก ถายเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘
ภาพบน ศาลาและหอระฆัง ถายเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘
ภาพลาง กลายเปนหอประชุมใหญในปจจุบัน ถายเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕
ภาพซายและภาพขวา : กุฏิธรรมสังเวชของ พระอธิการสบู อิสโร ที่มรณภาพแลวรางกายไมเนาเปอย
ภาพซายและภาพขวา : ศาลาที่ประดิษฐานพระพุทธรูปและเทวรูป
ภาพซายและภาพขวา : ฌาปนสถานที่กําลังกอสราง
ภาพบนและภาพลาง : วัดเชียงใต วัดเพื่อนบานขางเคียง มุมมองบนศาลาการเปรียญวัดเตาเหล็ก
๒. ตําบลเกาะขนุน
ตําบลเกาะขนุน แบงการปกครองเปน ๑๕ หมูบานคือ
หมูที่ ๑ บานโรงเลื่อยจักร, สองพี่นอง
หมูที่ ๒ บานเกาะขนุน
หมูที่ ๓ บานปากคลองมวง, บางกระดี่, เกาะมะมวง, คูเมือง
หมูที่ ๔ บานหนองเสือ, แหลมทอง
หมูที่ ๕ บานแหลมตะครอ, ปากดง, เกาะมะมวง, ตะเขปูน
หมูที่ ๖ บานนานอย
หมูที่ ๗ บานชายเคือง
หมูที่ ๘ บานไรดอน
หมูที่ ๙ บานหนองปรือ, ชําปาหวาย
หมูที่ ๑๐ บานหวยพลู
หมูที่ ๑๑ บานหนองประดูลาย
หมูที่ ๑๒ บานหนองอีโถน, หนองน้ําดํา
หมูที่ ๑๓ บานดอนขี้เหล็ก
หมูที่ ๑๔ บานหนองบอ
หมูที่ ๑๕ บานหวยสาม
ประวัติหมูบานตําบลเกาะขนุน
หมูที่ ๑ บานโรงเลื่อยจักร, สองพี่นอง
หมูบานแหงนี้ตั้งขึ้นในราวป พ.ศ. ๒๔๕๐ เดิมเปนหมูบานเล็ก ๆ รวมอยูกับหมูบานเกาะขนุน ตอนแรกมีพี่
นองสองครอบครัวมาปลูกบานทํามาหากินอยูจึงเรียกวา “บานสองพี่นอง” ตอมามีผูคนยายถิ่นฐานเขามาทํา
มาหากินมากขึ้นจึงแยกเปนหมูบานขึ้นใหม และตอมามีพอคาไมไดมาตั้งโรงเลื่อยจักรทําการเลื่อยไม ดวย
ชวงสมัยนั้นตําบลเกาะขนุนมีปาทั่วทั้งตําบล เมื่อกิจการโรงเลื่อยจักรเจริญขึ้น บริษัทเอื้อวิทยาผูกอตั้ง
โรงเลื่อยไดขยายกิจการเปนโรงเลื่อยจักรขนาดใหญ มีการวางรางรถไฟเขาไปบรรทุกไมซุงถึงบานลาด
กระทิงในเขตอําเภอสนามชัยเขต มีตลาดการคาและผูคนอพยพมาทํางานเปนกรรมกรมากขึ้น จึงเกิดชื่อ
เรียกวา “บานโรงเลื่อยจักร” ขึ้นอีกชื่อหนึ่ง ตอมาการทําไมของบริษัทไดลดนอยลงจนกระทั่งเลิกกิจการ
คงเหลือเพียงโรงเลื่อยขนาดเล็ก สวนตลาดการคาเลิกกิจการ ผูคนอพยพออกไปทํามาหากินในถิ่นอื่น ทําให
กลายสภาพเปนหมูบานขนาดเล็กดังที่ปรากฏอยูในปจจุบัน
หมูที่ ๒ บานเกาะขนุน
หมูบานแหงนี้ตั้งขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ.๒๔๓๗ เดิมเปนหมูบานเล็ก ๆ ตั้งอยูริมคลองทาลาด มีสภาพ
คลายเกาะน้ําทวมไมถึงแตเดิมมีทั้งขนุนปาและขนุนบานขึ้นอยูเต็มไปหมด จึงไดชื่อวา “เกาะขนุน” และรอบ
ๆ บริเวณหมูบานมีตนไมยืนตนขนาดใหญมากมาย ผูคนจากถิ่นฐานตาง ๆ อพยพเขามาจับจองหักลางถางพง
ทํานาทําไรและตั้งโรงเลื่อยดวยแรงคนจนเกิดเปนยานการคา มีตลาด มีเรือเขามาบรรทุกสินคาไมวาจะเปนไม
ซุง ไมแปรรูป ของปา หรือพืชไรออกไปขายยังตางอําเภอ ตางจังหวัด
หมูที่ ๓ บานปากคลองมวง, บางกระดี่, เกาะมะมวง, คูเมือง
หมูบานแหงนี้มีชื่อเรียกหลายชื่อ เนื่องจากประชากรไดแยกกันอยูเปนหยอม ๆ ที่ตั้งบานเรือนอยูริม
คลองตอนเหนือตรงลําคลองสองสายคือ คลองลัดกับคลองมวงมาบรรจบกันเปนคลองทาลาด เรียกหมูบาน
นี้วาปากคลองมวง สวนหมูบานตอนใตลงมาเรียกบานบางกระดี่ สวนหมูบานที่แยกไปอยูบนที่สูงอีกสอง
หมูบาน เรียกวา บานเกาะบุญนาคและหมูบานเกาะมวง คูเมือง
หมูที่ ๔ บานหนองเสือ, แหลมทอง
ตั้งขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๕ สภาพเดิมของหมูบานมีประมาณ ๒๐ หลังคาเรือน ที่เรียกวา
หมูบานหนองเสือ เพราะ สมัยกอนมีหนองน้ําซึ่งบริเวณหนองน้ําเปนปา เสือลงมากินน้ําที่หนองนี้จึงเรียกวา
“หนองเสือ” ประชาชนสวนใหญของหมูบานราว ๘๐ เปอรเซ็นต เปนชาวลาวอพยพมาจากเมืองเวียงจันทน
นอกนั้นเปนชาวไทยและจีน
หมูที่ ๕ บานแหลมตะครอ, ปากดง, เกาะมะมวง, ตะเขปูน
หมูบานแหงนี้ตั้งขึ้นในราวรอยกวาปมาแลว เดิมบริเวณแหงนี้เปนปาไมเบญจพรรณตอมาบริษัทเอื้อ
วิทยาไดทําการตัดไมใหญแปรสภาพเปนซุงและไมแปรรูป กอปรกับมีชาวจีนอพยพขึ้นมาถากถางพื้นที่จับ
จองทําไรปลูกพืชไร หลังจากนั้นราว ๕ – ๖ ป มีคนไทยทยอยเขามาจับจองที่ทํามาหากินอีกและอพยพกันเขา
มาหักรางถางพงบุกเบิกจนสภาพกลายเปนนาและสวน สิ้นสภาพความเปนปาไปจนหมดดังที่ปรากฏใหเห็น
อยูในปจจุบัน สวนชื่อเรียกหมูบานเรียกตามสภาพพื้นที่ที่เปนเนินสูงมีลําลางลอม ๓ ดาน มีลักษณะเปนหลัง
เตาและเปนแหลมยื่นไปทางทิศตะวันตก
หมูที่ ๖ บานนานอย
หมูบานแหงนี้ตั้งขึ้นในราวป พ.ศ. ๒๔๒๐ โดยมีหลวงองคเปนหัวหนา และนางคําเปนลาม
แปลภาษาพื้นบานใหหลวงองคทราบ ทั้งนี้เนื่องจากสวนใหญประชาชนมีเชื้อสายลาวที่อพยพมาจากนคร
เวียงจันทนแตเดิมมาอยูที่บานหนองอิ่ม และอพยพจากบานหนองอิ่มมาจับจองที่ทํากินอยูที่บานนานอย
สวนบานหนองอิ่มขณะนี้เปนบานรางอยูในเขตตําบลหนองแหน อําเภอพนมสารคาม หมูบานนานอยแตเดิม
มีชาวลาวอพยพมาตั้งบานอยูไมกี่หลังคาเรือน ทํามาหากินในทางทํานาและทําไร ตอนแรกสภาพของหมูบาน
เปนหมูบานเล็ก ๆ รวมกันอยูเปนกลุม มีที่นาทํากันอยูเพียงเล็กนอย จึงไดเรียกชื่อบานตามสภาพของนาที่มี
ทํากันอยูในขณะนั้นวา “บานนานอย” ตอมาประชาชนไดอพยพเขามาตั้งบานเรือนเพิ่มขึ้น เพราะเปนที่อุดม
สมบูรณมีลําคลองน้ําไมขาด มีที่ทํามาหากินมากมายจนชุมชนขยายกลายเปนสภาพใหญ แตยังคงเรียกชื่อ
หมูบานตามสภาพความจริงเดิมวา “บานนานอย” จนปจจุบัน
หมูที่ ๗ บานชายเคือง
ระยะแรกเริ่มผูคนตั้งหมูบานอยูบริเวณหลังโรงเรียนวัดชายเคือง ประมาณ ๗ – ๘ หลังคาเรือน และ
เรียกชื่อวา บานหนองบางนา ตอมาไดสรางวัดขึ้นที่บริเวณวัดชายเคืองปจจุบัน เรียกวา “วัดหนองบางนา แต
เนื่องจากบริเวณที่ตั้งบานเรือนอยูนั้นเปนที่ต่ําเมื่อถึงฤดูฝนน้ําจะหลากมาทวมอยูเสมอ ๆ นายขุนทองซึ่งเปน
ผูใหญบานในสมัยนั้นจึงไดโยกยาย วัว ควาย ขึ้นไปอยูที่ดอนทาไทร ตอมาก็ยายไปอยูที่นั่นเลย วัดหนอง
บางนาถูกปลอยใหเปนวัดราง พรอมกันนั้นก็ไดสรางวัดใหมขึ้นที่ดอนทาไทรปจจุบัน
ตอมา หลวงตาวร ไดพิจารณาเห็นวาคนที่จะมาทําบุญซึ่งมาจากหมูบานทากงนั้นไปมาลําบากเพราะ
หนทางไกล จึงไดยายวัดกลับมาอยูที่เดิม คือ บริเวณวัดหนองบางนาเกาสวนสาเหตุอีกประการนั้น เนื่องจาก
ไดมีผูคนพบหลวงพอหมี (พระประธานซึ่งอยูในโบสถปจจุบัน)ที่ในปา สวนสาเหตุแหงชื่อเรียกวาวัดและ
หมูบาน “ชายเคือง” เนื่องดวย ๒ มูลเหตุแหงการสันนิษฐาน คือ
สาเหตุแรก หากมีการจัดงานเทศกาลตาง ๆ ขึ้นที่วัดนี้ จะเกิดเหตุการณทะเลาะวิวาทกันบอย ๆ กับ
อีกสาเหตุหนึ่งมีเรื่องเลาวา ไดมีชายหญิงคูหนึ่งไดหนีตามกันมานอนอยูใตถุนวัด เสือไดคาบผูหญิงไปกิน
ชายนั้นโกรธและตามไปฆาเสือตาย จึงไดชื่อวา “วัดชายเคือง”
หมูที่ ๘ บานไรดอน
แตเดิมราวป พ.ศ.๒๔๔๕ เขตหมูบานไรดอนยังเปนปาทึบไมมีผูคนอาศัย ตอมาเริ่มมีผูคนเขาไป
บุกเบิกที่ทางทํากิน พื้นที่เริ่มเตียนผูคนคอย ๆ ทยอยเขาไปตั้งบานเรือนอยูทํากิน สวนที่ใหชื่อวา “ไรดอน” ก็
เนื่องจากบริเวณพื้นที่เปนที่ดอนมีลักษณะเปนเนินสูงมีน้ําซับชุมฉ่ําอยูเกือบทั้งปเหมาะแกการทําไร ตางไป
จากที่ดอนโดยทั่วไปที่มักจะแหงแลวทําการเพาะปลูกไมไดผล
หมูที่ ๙ บานหนองปรือ, ชําปาหวาย
เดิมที่เดียวหมูที่ ๙ นี้ ตั้งขึ้นรวมกับหมูที่ ๔ และแยกมาเปนหมู ๑๒ ภายหลังจึงแยกตัวเองเปนหมูที่
๙ เมื่อแรกเริ่มมีบานเรือนราว ๑๐ กวาหลังคาเรือน สวนที่เรียกชื่อ “หนองปรือ–ชําปาหวาย” ก็เนื่องจาก มี
ปรือที่นํามาทําฝาบาน และหวายมาก ชาวบานสวนมากเปนลาวพวนที่มาจากเวียงจันทน
หมูที่ ๑๐ บานหวยพลู
หมูบานแหงนี้ตั้งขึ้นในราวป พ.ศ. ๒๔๘๐ ผูเริ่มตั้งคือ นายกมล เอื้อวิทยา ซึ่งไดรับสัมปทานปาไม
โดยใชชื่อบริษัทวา “บริษัทเอื้อวิทยา” สวนสาเหตุแหงการเรียกชื่อหมูบานหวยพลูก็เนื่องจาก เมื่อครั้งกอน
หมูบานนี้มีลําหวยไหลผาน ซึ่งบริเวณลําหวยดังกลาวมีตนพลูขึ้นอยูมากมาย จึงเรียกคํา “หวยพลู” จนติดปาก
กระทั่งกลายเปนชื่อหมูบาน ในอดีตภูมิภาคแถบนี้เปนปามีสัตวชุกชุม แตสภาพปจจุบันคือที่ทําไรทํานา
หมูที่ ๑๑ บานหนองประดูลาย
ตั้งขึ้นเมื่อใดไมปรากฏหลักฐานแนชัด สภาพเดิมเปนปาซึ่งมีไมประดูขึ้นอยูเปนจํานวนมาก ใน
จํานวนนี้มีประดูใหญตนหนึ่งขางหนองน้ําชาวบานไดตัดมาปรากฏวามีลายไมสวยงามมากจนเปนที่กลาวกัน
ติดปากเรื่อยมาและเปนชื่อเรียกวา “หนองประดูลาย” ไปในที่สุด
หมูที่ ๑๒ บานหนองอีโถน, หนองน้ําดํา
ตั้งขึ้นในราวป พ.ศ.๒๔๗๗ ไมปรากฏหลักฐานผูตั้ง สภาพเดิมเปนปารกมีลําหวยไหลผานตลอดป
เปนที่อาศัยของสัตวปานานาชนิด ตอมามีประชาชนในเขตตําบลหนองแหน และเกาะขนุน เขามาบุกเบิกทํา
ไรมันสําปะหลังและไรขาว และเนื่องจากเปนพื้นที่อุดมสมบูรณตอมาก็มีผูคนทยอยเขามาทําผลประโยชน
มากขึ้น เหตุที่เรียกชื่อวา “หมูบานหนองอีโถน” เนื่องจากมีหนองน้ําลักษณะเหมือนกระโถนอยู จึงเอา
ลักษณะหนองน้ํานี้มาตั้งเปนชื่อหมูบาน เดิมเรียกหมูบานหนองกระโถน ตอมาเพี้ยนเปน “หนองอีโถน”
หมูที่ ๑๓ บานดอนขี้เหล็ก
ตั้งขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๐ ผูตั้งคือ นายหยวก เข็มรุง สภาพเดิมของหมูบานเปนปามีตน
ขี้เหล็กขึ้นเปนจํานวนมาก ประชาชนเขามาอยูครั้งแรกจํานวน ๓ หลัง อยูตอมาก็มีประชาชนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
จึงเรียกเปนหมูบาน ประกอบอาชีพทํานา ทําไร ปจจุบันมีอาชีพทําไรเปนสวนใหญ
หมูที่ ๑๔ บานหนองบอ
(ไมสามารถหาขอมูลไดในขณะนี้)
หมูที่ ๑๕ บานหวยสาม
(ไมสามารถหาขอมูลไดในขณะนี้)
สถานที่ที่นาสนใจ
ในตําบลเกาะขนุน
วัดพงษาราม
วัดพงษาราม ตั้งอยูเลขที่ ๔๐๘ บานเกาะขนุน หมูที่ ๒ ตําบลเกาะขนุน อําเภอพนมสารคาม จังหวัด
ฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆมหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๓๙ ไร ๑ งาน ๙๙ ตารางวา น.ส. ๓ ก เลขที่ ๔๓๔
อาณาเขต ทิศเหนือจรดที่สาธารณะ ทิศใตจรดคลองทาลาด ทิศตะวันออกและทิศตะวันตก จรดที่ดินนางหรุม
เข็มราช มีที่ธรณีสงฆจํานวน ๑ แปลง เนื้อที่ ๕ ไร ๒๐ ตารางวา โฉนดเลขที่ ๓๑๕
วัดพงษาราม ตั้งเมื่อ ๒๔๐๙ ไมปรากฏหลักฐานนามผูสราง พระประธานในอุโบสถเปนพระพุทธรูป
สมัยสุโขทัย มีลักษณะงดงามยิ่ง ชาวบานเรียกกันวา “หลวงพองาม” ไดรับพระราชวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๗
กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๙๘ เขตวิสุงคามสีมา กวาง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร
การศึกษามีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปดสอนเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ โรงเรียนผูใหญวัดเปด
สอนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๙
สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้
รูปที่ ๑ พระอธิการจันทร
รูปที่ ๒ พระอธิการสิทธิ์
รูปที่ ๓ พระอธิการจิ๋ว
รูปที่ ๔ พระอธิการมหัสไทย
รูปที่ ๕ พระอธิการบุญรอด
รูปที่ ๖ พระอธิการครุฑ
รูปที่ ๗ พระอธิการทองแดง
รูปที่ ๘ พระอธิการสุวรรณ พ.ศ. ๒๔๗๖
รูปที่ ๙ พระครูวารีสมานคุณ พ.ศ. ๒๔๗๗ ถึง พ.ศ. ๒๕๑๐
รูปที่ ๑๐ พระครูปญญาสารธรรม พ.ศ. ๒๕๑๒ ถึง ปจจุบัน
รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด
๑. พระอุโบสถ กวาง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๑ เปนอาคารทรงไทย
๒. ศาลาการเปรียญ กวาง ๑๘ เมตร ยาว ๔๖ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๗ เปนอาคารคอนกรีต
เสริมเหล็ก ทรงไทย
๓. หอสวดมนต กวาง ๖ เมตร ยาว ๑๐ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๓ เปนอาคารทรงไทย
๔. กุฏิสงฆ จํานวน ๑๑ หลัง เปนอาคารไม ๙ หลัง และตึก ๒ หลัง
๕. ศาลาอเนกประสงค กวาง ๒๐ เมตร ยาว ๓๐ เมตร เปนอาคารทรงไทย
๖. ศาลาบําเพ็ญกุศล จํานวน ๒ หลัง สรางดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก ๑ หลัง สรางดวยไม ๑ หลัง
นอกจากนี้ยังมีโรงครัว ๑ หลัง ปูชนียวัตถุ มีพระประธานประจําอุโบสถ ศิลปะสมัยสุโขทัย นามวา
“หลวงพองาม”
5F
6
เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดพงษาราม
๑. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา. กรุงเทพฯ. หนา ๑๑๗-๑๑๘
ภาพสิ่งที่นาสนใจภายในวัดพงษาราม
บน : พระอุโบสถ
ลาง : ลายปนปูนหนาบันพระอุโบสถ
บน : พระอุโบสถดานขาง
ลาง : กลุมเสนาสนะภายในวัด
บน : หอระฆัง
ลาง : ตนสาละและกลุมผูออกเก็บขอมูล
บน และ ลาง : ศาลากลางน้ําหนาวัด
บน : ศาลาบําเพ็ญบุญ
ลาง : ฌาปนสถาน
๓. ตําบลเขาหินซอน
ตําบลเขาหินซอนไดตั้งรากฐานมาประมาณ ๘๐ ป เศษ โดยแตเดิมประชากรที่มาตั้งถิ่นฐานนั้น
อพยพมาจากตําบลขางเคียงเขา ต.หนองยาว ต.บานซอง ต.เกาะขนุน เพื่อมาทํามาหากิน สําหรับชื่อตําบล
เขาหินซอนนาจะเปนเพราะพื้นที่เดิมเคยเปนทะเลมากอนเมื่อแหงลงไปเกิดการธรรมชาติแปรปรวน มี
กระแสน้ําพัดพานําหินชิ้นเล็กบางโตบางมาทับถมเกิดภูเขาหินที่ซอนกันโดยธรรมชาติ ชาวบานจึงตั้งชื่อวา
เขาหินซอน แบงการปกครองออกเปน ๑๓ หมูบาน คือ
หมูที่ ๑ บานมวงโพรง
หมูที่ ๒ บานเขาหินซอน
หมูที่ ๓ บานแหลมเขาจันทร
หมูที่ ๔ บานปรือวาย
หมูที่ ๕ บานหนองวานเหลือง
หมูที่ ๖ บานหนองแสง
หมูที่ ๗ บานลํามหาชัย
หมูที่ ๘ บานหนองยายแจม
หมูที่ ๙ บานหนองกลางดง
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม

More Related Content

What's hot

สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กAriaty KiKi Sang
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครู
niralai
 
การเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐาน
การเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐานการเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐาน
การเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐาน
Prachyanun Nilsook
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์MilkOrapun
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
วิวัฒนาการของศิลปะไทย ร7-ร 9
วิวัฒนาการของศิลปะไทย ร7-ร 9วิวัฒนาการของศิลปะไทย ร7-ร 9
วิวัฒนาการของศิลปะไทย ร7-ร 9
Pattharapong Sirisuwan
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
kkrunuch
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
kanghanlom
 
15 เขียนคำขวัญ 1
15 เขียนคำขวัญ 115 เขียนคำขวัญ 1
15 เขียนคำขวัญ 1
กึม จันทิภา
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ครูพัฒวิทย์ ครูพัฒวิทย์
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
Warodom Techasrisutee
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรัก
พัน พัน
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
Taraya Srivilas
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
chanon leedee
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2
tayanon
 

What's hot (20)

สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครู
 
การเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐาน
การเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐานการเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐาน
การเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐาน
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
วิวัฒนาการของศิลปะไทย ร7-ร 9
วิวัฒนาการของศิลปะไทย ร7-ร 9วิวัฒนาการของศิลปะไทย ร7-ร 9
วิวัฒนาการของศิลปะไทย ร7-ร 9
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
15 เขียนคำขวัญ 1
15 เขียนคำขวัญ 115 เขียนคำขวัญ 1
15 เขียนคำขวัญ 1
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรัก
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2
 

Similar to แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม

Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothaiThaiway Thanathep
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลาHeritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
FURD_RSU
 
โครงงงาน1
โครงงงาน1โครงงงาน1
โครงงงาน1
Arety Araya
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD_RSU
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
Calvinlok
 
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD_RSU
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
KKloveyou
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
วัฒนธรรมไทย งานคู่
วัฒนธรรมไทย งานคู่วัฒนธรรมไทย งานคู่
วัฒนธรรมไทย งานคู่
Thanwarat Twrp
 
News library kku
News library kkuNews library kku
News library kku
tipzaa
 
News library kku
News library kkuNews library kku
News library kkutipzaa
 
News library kku
News library kkuNews library kku
News library kkutipzaa
 
News library kku
News library kkuNews library kku
News library kkutipzaa
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2teacherhistory
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.Tor Jt
 

Similar to แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม (20)

Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
 
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลาHeritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
 
โครงงงาน1
โครงงงาน1โครงงงาน1
โครงงงาน1
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
 
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.9 (FEBRUARY 2018)
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
วัฒนธรรมไทย งานคู่
วัฒนธรรมไทย งานคู่วัฒนธรรมไทย งานคู่
วัฒนธรรมไทย งานคู่
 
News library kku
News library kkuNews library kku
News library kku
 
News library kku
News library kkuNews library kku
News library kku
 
News library kku
News library kkuNews library kku
News library kku
 
News library kku
News library kkuNews library kku
News library kku
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม

  • 1.
  • 2. ISBN : 974-8234-20-7 เจาของ ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร ที่ปรึกษา ผูชวยศาสตราจารยเอนก เทพสุภรณกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร อาจารยอุทิน รวยอารี รองอธิการบดีกิจการนักศึกษา ผูชวยศาสตราจารยชุมศรี นพวงศ ณ อยุธยา ผูทรงคุณวุฒิ คณะผูจัดทํา ผศ.ประเสริฐ ศีลรัตนา อาจารยจินดา เนื่องจํานงค อาจารยชูชาติ นาโพตอง อาจารยกิจจา สิงหยศ นางอรวรรณ แสงอรุณ น.ส.นวลลออ อนุสิทธิ์ พิมพที่ : บริษัทเอ็มเอ็น คอมพิวออฟเซท จํากัด ๔๘๘-๔๙๐ สถานขนสงฉะเชิงเทรา อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒๔๐๐๐ โทร. / แฟกซ ๐-๓๘๕๑-๕๗๗๐ , ๐-๓๘๕๑-๕๕๓๐ พ.ศ. ๒๕๔๘
  • 3. คํานํา แนะนําจังหวัดฉะเชิงเทรา “ฉบับอําเภอพนมสารคาม” นี้ เปนโครงการรวบรวมและเผยแพรคุณคา ทางประวัติศาสตร และวัฒนธรรมทองถิ่น ของอําเภอพนมสารคาม สวนใหญจะมุงเนนไปที่ “วัด” ทั้งนี้ เนื่องจาก “วัด” เปนศูนยรวมทางจิตใจและวิถีชีวิตของชุมชนในทองถิ่น นับตั้งแตอดีตเปนตนมา ซึ่งใน ปจจุบันชุมชนไดรับวัฒนธรรมเมืองมาจากสวนกลาง ทําใหความรูความเขาใจในทองถิ่นถูกละเลย หรือลืม เลือนไป อีกทั้งในพื้นที่มีความเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางภูมิทัศน และสิ่งกอสราง เพื่อใหทันตอยุคสมัยนิยม จนทําใหคุณคาความเปนทองถิ่นและเอกลักษณของชุมชนถูกทําลายไปตามคานิยมใหม อยางนาเสียดาย ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น เล็งเห็นความสําคัญในการอนุรักษ โดยการเก็บรวบรวม ขอมูลภาพและขอมูลเชิงวิชาการ เพื่อเผยแพรใหอนุชนและผูสนใจไดตระหนักถึงคุณคาของทองถิ่น ทั้ง เรื่องราวที่เปนประวัติศาสตร หรือภาพบรรยากาศในอดีต ที่ไมสามารถเรียกรองใหหวนกลับคืนมา โดย เปรียบเทียบกับสิ่งที่พบเห็นไดในปจจุบัน และเพื่อสรางจิตสํานึกใหเกิดความรัก หวงแหนคุณคาในทองถิ่น ของตน เทาที่ศักยภาพแหงกาลเวลา และขีดขั้นความสามารถจะเอื้ออํานวย ขอขอบคุณ ผศ.นภาพร อมรเลิศสินไทย และผูที่มีสวนรวมในการผลักดันใหขอมูลภาพและขอมูล เชิงวิชาการมีความสมบูรณในระดับหนึ่งทุกทาน ทางศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น หวังเปนอยางยิ่งวา สวนที่ยังขาดหายไปคงไดรับการสานตอ และเติมเต็มจากทานในวันขางหนา ไมวาจะเปนใครก็ตาม และนาจะเปนประโยชนตอการสรางหลักสูตร ความรูเกี่ยวกับทองถิ่นไดในระดับหนึ่ง เราหวังเชนนั้นจริง ๆ ประเสริฐ ศีลรัตนา จินดา เนื่องจํานงค
  • 5. อําเภอพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม เปนอําเภอหนึ่งในจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๔ โปรดเกลาฯ ใหยกฐานะเปนเมืองพนมสารคาม เมื่อป พ.ศ. ๒๓๙๕ มีเจาเมืองปกครองใน ตําแหนงพระพนมสารนรินทร แตเดิมศาลาวาการเมืองพนมสารคาม ตั้งอยูบริเวณขางวัดโพธิ์ใหญ ศาลหลักเมืองพนมสารคาม อยูใกลโรงเรียนวัดทาลาดเหนือ ตอมาในป พ.ศ. ๒๔๔๔ พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ โปรดเกลาฯ ใหยุบเมืองพนมสารคามเปนอําเภอพนมสารคาม เมื่อป พ.ศ. ๒๔๔๔ โดยมีหลวงประเทศธุรารักษ (แหยม สาริกะภูติ) เปนนายอําเภอพนมสารคามคนแรก ตอมาในป พ.ศ. ๒๔๔๙ สมัยหลวงรามบุรานุกิจ เปนนายอําเภอพนมสารคาม (คนที่ ๒) ไดยายที่วาการอําเภอพนมสาร คามไปยังฝงตรงขามคลองทาลาด บริเวณโรงเรียนไพบูลยประชานุกูลในปจจุบัน และที่ตั้งเมืองพนมสารคาม เดิมบริเวณขางวัดโพธิ์ใหญเปนตําบลเมืองเกา สวนที่ตั้งอําเภอใหม บริเวณโรงเรียนไพบูลยประชานุกูล เรียกวา “เมืองใหม” (ปจจุบันตําบลเมืองใหมแยกไปเปนตําบลหนึ่งของอําเภอราชสาสน) ตอมาในราวป พ.ศ. ๒๔๘๐ สมัยนายชวน สุริยจันทร เปนนายอําเภอพนมสารคาม ไดยายที่วาอําเภอมาตั้งที่ฝงตรงขาม วัดทาเกวียน อันเปนที่ตั้งของที่วาการอําเภอพนมสารคามในปจจุบัน
  • 6. ประวัติการตั้งชุมชนในเขตพื้นที่อําเภอพนมสารคาม สภาพพื้นที่ในอําเภอพนมสารคาม นับแตอดีตสันนิษฐานวา มีการตั้งถิ่นฐานเปนชุมชนมายาวนาน โดยอาศัยหลักฐานที่พบทั้งทางดานโบราณคดีและทางดานประวัติศาสตร ซึ่งแบงออกเปนลําดับยุคสมัยได ดังนี้ ๑. จากหลักฐานทางดานโบราณคดี สมัยทวารวดี มีหลักฐานจากแหลงโบราณคดี ดังนี้ - แหลงโบราณคดีบานบึงกระจับ หมูที่ ๖ ตําบลเมืองเกา อําเภอพนมสารคาม พบเศษ เครื่องปนดินเผาแบบเดียวกับเมืองศรีมโหสถ เศษเครื่องถวยจีนเคลือบสีเขียวสมัยราชวงศถัง ชุมชนแหงนี้อยู ในสมัยประวัติศาสตรตอนตน ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๖ - แหลงโบราณคดีบานโคกหัวขาว (วัดอุดมธัญญาหาร) หมูที่ ๓ ตําบลทาถาน อําเภอพนม สารคาม พบระฆังหินปูนขนาดใหญ ๓ ชิ้น ฐานประติมากรรมทําจากหินทรายสีเขียว ศิลปะแบบทวารวดี โบราณสถานกอสรางดวยอิฐแบบทวารวดี เศษเครื่องปนดินเผา เครื่องสังคโลกและเครื่องถวยจีนสมัย ราชวงศเหม็ง - แหลงโบราณคดีบานคูเมือง หมูที่ ๓ ตําบลเกาะขนุน อําเภอพนมสารคาม พบเศษ เครื่องปนดินเผา หินบดยา และโบราณสถานกอสรางดวยศิลาแลง ศิลปะสมัยทวารวดี จากหลักฐานที่ปรากฏดังกลาว พื้นที่เขตพนมสารคามจึงมีชุมชนตั้งอยูตั้งแตสมัยทวารวดี ราว พุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๖ เปนตนมา ประกอบกับบริเวณนี้เปนที่ราบลุมน้ําทวมถึง มีคลองทาลาดไหลผานลงสู แมน้ําบางปะกงที่ปากน้ําโจโล อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ดังนั้นพนมสารคามจึงเหมาะที่จะเปนเมือง ทา คาขายกับดินแดนอื่น ๆ ในระแวงใกลเคียงทั้งทางบกและทางน้ํากับเมืองโบราณในสมัยเดียวกัน เชน เมืองศรีมโหสถ ชุมชนบริเวณโบราณสถานสระมรกต ชุมชนบานโคกขวาง อําเภอศรีมหาโพธิ์ จังหวัด ปราจีนบุรี ชุมชนบานโคกหัวขาว ตําบลทาถาน อําเภอพนมสารคาม บานคูเมือง ตําบลเกาะขนุน อําเภอพนม สารคาม เมืองพระรถ อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เมืองดงละคร อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก ชุมชน โบราณบานโคกกระโดน อําเภอปากพลี จังหวัดนครนายก นอกจากนี้ยังติดตอกับดินแดนที่อยูไกลออกไป เชน บุรีรัมย นครปฐม รวมทั้งดินแดนโพนทะเล เชน จีน อินเดีย เปอรเชีย เปนตน สมัยกรุงศรีอยุธยา ชุมชนในบริเวณอําเภอพนมสารคาม มีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานในสมัยนี้ คือ - บริเวณบานโคกหัวขาว และวัดอุดมธัญญาหาร หมูที่ ๓ ตําบลทาถาน อําเภอพนมสารคาม พบใบเสมาทําดวยหินทรายแดง ปกอยูเปนคูขนานและลวดลายเหมือนกัน สลักเปนลวดลายศิลปะอยุธยา ตอนปลาย-รัตนโกสินทร เครื่องปนดินเผาประเภทไห เชนเดียวกับที่พบในชุมชนอยุธยา - บริเวณริมคลองทาลาด ดานทิศเหนือของวัดทาลาดเหนือและทาลาดใต ตําบลทาถาน อําเภอ พนมสารคาม พบเศษเครื่องปนดินเผา เครื่องถวย เครื่องสังคโลกเคลือบสีเขียวและเขียนลายสีดําใตเคลือบ ขาว เครื่องถวยจีนสมัยราชวงศหยวน และราชวงศเหม็ง อายุระหวางพุทธศตวรรษที่ ๑๘-๒๓
  • 7. - บริเวณวัดทาลาดเหนือ พบใบเสมาหินทรายแดง มีลวดลายซึ่งเปนลักษณะศิลปะอยุธยา ตอนตน และเจดียยอมุมไมสิบสอง แบบศิลปะอยุธยาตอนปลาย จากหลักฐานดังกลาว สันนิษฐานวาบริเวณนี้นาจะเปนแหลงชุมชนมาตั้งแตชวงอยุธยาตอนตน จนถึงสมัยรัตนโกสินทร และเปนเสนทางผานไปยังชุมชนอื่น โดยอาศัยคลองทาลาดไปยังปากน้ําโจโล ซึ่ง ติดตอกับแมน้ําบางปะกง นอกจากนี้ยังเปนเสนทางระหวางปราจีนบุรีและชลบุรี อันเปนเสนทางชายฝง ทะเลตะวันออก และจากหลักฐานโบราณคดีที่พบในเขตจังหวัดนครนายก ปราจีนบุรี ชลบุรี สันนิษฐานวา เปนเสนทางวัฒนธรรมแบบทวารวดี โดยไดรับวัฒนธรรมจากอินเดีย ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดานการ ปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมอยางชัดเจน เชน เมืองศรีมโหสถ เมืองดงละคร เมืองพระรถ เมืองบริเวณบาน คายและเมืองเพนียด ในกลุมเมืองเหลานี้มักพบวัฒนธรรมเขมรสอดแทรกดวย โดยเฉพาะในชวงพุทธ ศตวรรษที่ ๑๖-๑๘ เพราะความเสื่อมของวัฒนธรรมทวารวดี ภายหลังพุทธศตวรรษที่ ๑๘ เขมรเสื่อมอํานาจลง ศูนยกลางอํานาจไดเปลี่ยนมาอยูที่อยุธยา กลุมเมืองดังกลาวที่เปนชุมชนเล็ก ๆ มีการยายที่ตั้งเมืองไปตามลําน้ํา เพราะเหตุผลในทางเศรษฐกิจและ การคา การคมนาคม การปองกันตัวเองจากภัยสงคราม อีกทั้งยังอาศัยแหลงน้ําเพื่อการเกษตรและใชใน ชีวิตประจําวัน ดังนั้นชุมชนพนมสารคาม จึงมีการตั้งถิ่นฐานตามลําน้ําคลองทาลาดมาตลอดในชวงสมัย อยุธยา ถึงสมัยรัตนโกสินทร ๒. จากหลักฐานทางประวัติศาสตร สมัยกรุงธนบุรี ในป พ.ศ. ๒๓๒๑ สมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก เปนแมทัพไปตีเมือง เวียงจันทนและหัวเมืองขึ้นมาเปนของไทย ไดกวาดตอนผูคนชาวเมืองเวียงจันทนลงมาอยูแถวเมืองลพบุรี สระบุรี นครนายก และเมืองฉะเชิงเทรา ชาวลาวบางสวนจึงตั้งบานเรือนกระจัดกระจายอยูแถบบริเวณคลอง ทาลาด และตั้งชื่อหมูบานและวัดตามชื่อบานเดิมในลาว เชน วัดจอมมณี วัดโพธิ์ใหญ วัดนาเหลาน้ํา วัด เมืองแมด วัดบานเลอ วัดจอมศรี วัดเชียงใต วัดเตาเหล็ก วัดมหาเจดีย วัดเมืองกาย และวัดลาดฮวง ดังที่ ปรากฏในปจจุบัน สมัยกรุงรัตนโกสิทรตอนตน - รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๓ โปรดเกลาฯ ใหพระยาบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ยกกองทัพไปตีลาวและเขมรในป พ.ศ. ๒๓๗๖ ไดกวาดตอนชาวลาวและเขมรเขามาเปน เชลยจํานวนมาก และกําหนดพื้นที่ใหไปตั้งบานเรือนโดยใหชาวลาวเวียงและลาวพวน ตั้งบานเรือนที่บานทา ทราน ชุมชนบริเวณนี้จึงหนาแนนขึ้นเปนลําดับ - รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๔ โปรดเกลาฯ ใหยกบานทาทราน ซึ่ง ตั้งอยูริมคลองทาลาด เปนเมืองพนมสารคาม ในป พ.ศ. ๒๓๙๕ โดยแบงเขตแดนตั้งแตปากน้ําโจโล เขาไป ตามลําคลองทาลาด ฝายใตเปนแขวงเมืองฉะเชิงเทรา ฝายเหนือเปนเมืองพนมสารคาม และมีพระพนมสาร นรินทรเปนเจาเมือง
  • 8. - รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ โปรดเกลาฯ ใหตั้งมณฑล ปราจีน ในป พ.ศ. ๒๔๓๖ โดยรวมหัวเมืองทางลําแมน้ําบางปะกง คือ เมืองปราจีนบุรี เมืองฉะเชิงเทรา เมือง นครนายก และเมืองพนมสารคาม มีที่ตั้งมณฑลอยูที่เมืองปราจีนบุรี ตอมาเมื่อป พ.ศ. ๒๔๔๔ ไดยุบเมือง พนมสารคามเปนอําเภอเมืองพนมสารคาม และในป พ.ศ. ๒๔๔๗ ไดยายที่ตั้งมณฑลปราจีนมาตั้งที่เมือง ฉะเชิงเทรา คําขวัญของอําเภอพนมสารคาม คลองทาลาดทิวทัศนนายล ถนนพระรถเสน อาชีพเดนเกษตรกรรม วัฒนธรรมไทยพวน สวนพฤกษศาสตรล้ําคา ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน สภาพทางภูมิศาสตร อําเภอพนมสารคาม มีอาณาเขตติดตอดังนี้ ทิศเหนือ ติดตอกับ อําเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี ทิศใต ติดตอกับ อําเภอแปลงยาว และสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศตะวันออก ติดตอกับ อําเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศตะวันตก ติดตอกับ อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา การเดินทาง การเดินทางเขาสูอําเภอพนมสารคาม มีถนนสายหลัก ดังนี้ - สาย ๓๐๔ (ฉะเชิงเทรา - กบินทรบุรี) จากฉะเชิงเทรา ถึงพนมสารคาม ระยะทาง ๓๑ กิโลเมตร - สาย ๓๑๙ (พนมสารคาม - ปราจีนบุรี) จากปราจีนบุรี ถึงพนมสารคาม ระยะทาง ๓๔ กิโลเมตร - สายพนมสารคาม – บางคลา หรือถนนฤทธิประศาสน ระยะทาง ๑๗ กิโลเมตร - สาย ๓๓๔๗ (พนมสารคาม - บานสราง) จากปราจีนบุรี ถึงบานสราง ระยะทาง ๓๔ กิโลเมตร - สาย ๓๒๔๕ (พนมสารคาม – สนามชัยเขต - ทาตะเกียบ) จากพนมสารคาม ถึงสนามชัยเขต ถึง ทาตะเกียบ ระยะทาง ๑๖ และ ๔๖ กิโลเมตร มีรถโดยสารประจําทางผานไปจนถึงอําเภอคลองหาดและ อําเภอวังน้ําเย็น จังหวัดสระแกว และรถโดยสารประจําทางที่ผานอําเภอพนมสารคาม คือ พนมสารคาม - ฉะเชิงเทรา, กรุงเทพฯ - พนมสารคาม, ปราจีนบุรี – ฉะเชิงเทรา, พัทยา - แมสาย, ระยอง - นครราชสีมา และอรัญประเทศ- ฉะเชิงเทรา
  • 9. การแบงเขตการปกครอง อําเภอพนมสารคามมีพื้นที่ ๓๕๘,๐๑๔ ไร แบงการปกครองออกเปนตําบล ๘ ตําบล ๘๖ หมูบาน ดังนี้ ๑. ตําบลพนมสารคาม มี ๓ หมูบาน ๒. ตําบลเกาะขนุน มี ๑๕ หมูบาน ๓. ตําบลเขาหินซอน มี ๑๓ หมูบาน ๔. ตําบลเมืองเกา มี ๗ หมูบาน ๕. ตําบลทาถาน มี ๗ หมูบาน ๖. ตําบลหนองยาว มี ๑๒ หมูบาน ๗. ตําบลหนองแหน มี ๑๕ หมูบาน ๘. ตําบลบานซอง มี ๑๔ หมูบาน และมีเทศบาลตําบล ๓ แหง คือ เทศบาลตําบลพนมสารคาม เทศบาลตําบลเกาะขนุน และ เทศบาลตําบลเขาหินซอน
  • 10. ๑. ตําบลพนมสารคาม ชื่อเดิมคือตําบลทาเกวียนและเมื่อประมาณ ๘๐ ป ที่ผานมาไดเปลี่ยนชื่อเปนตําบลพนมสารคาม แบงเขตการประครองออกเปน ๓ หมู คือ หมูที่ ๑ บานทาเกวียน หมูที่ ๒ บานเมืองกาย หมูที่ ๓ บานเชียงใต ประวัติหมูบานตําบลพนมสารคาม หมูที่ ๑ บานทาเกวียน หมูบานตลาดทาเกวียน เดิมเรียกวา “ทาเกวียน” เหตุที่เรียกเชนนี้เนื่องจากบริเวณที่เปนตลาดทา เกวียนในปจจุบันนี้ แตกอนเปนปาละเมาะเล็ก ๆ ริมคลองทาลาด ตลอดแนวริมคลองสวนใหญเปนตนไผ เฉพาะตรงบริเวณที่เปนที่ตั้งตลาดทาเกวียนเปนปาไผหยอม ๆ เปนที่ลาดและราบริมคลอง ในขณะนั้นแรก ๆ มีผูอยูอาศัยเพียง ๕-๖ หลังคาเรือน ตั้งบานอยูบนบกบาง อาศัยแพอยูริมน้ําบาง หมูบานเล็ก ๆ นี้เปนศูนย รวมของเกวียนซึ่งเปนพาหนะในสมัยนั้น ที่บรรทุกสินคาจากทองถิ่นตาง ๆ ในภูมิภาคแถบนี้ อันไดแก ขาวเปลือก พืชไร และของปา เชน ไตจุดไฟ น้ํามันยาง น้ําผึ้ง ฯลฯ จากโคกมอญ โคกปบ ทาประชุม
  • 11. ดงนอย ฯลฯ ในแตละวันจะมีเกวียนบรรทุกสินคามาลงของที่ทาเกวียนแหงนี้นับเปนรอย ๆ เลม กลาวกัน วาเสียงเกวียนที่มาจากทิศตาง ๆ ดังอยูตลอดวันไมขาดสาย ซึ่งสวนใหญจะออกจากบานบรรทุกสินคามา ตั้งแตเชากอนสวาง เมื่อขนถายสินคาซื้อขายแลกเปลี่ยนเสร็จสรรพแลว ก็จะพักวัวควายเปนเวลาพอสมควร จึงเริ่มออกเดินทางกลับบาน ตอมาประชากรเริ่มขยายมากขึ้นโดยมีพวกชาวจีนบาง ชาวลางอพยพจากเวียงจันทนบางทยอยเขามา ตั้งบานเรือนอยูอาศัย ชาวจีนที่มาคาขายทํามาหากินก็ตั้งถิ่นฐานรานคา ทําใหหมูบานกลายเปนตลาดมีสินคา มากมายขยายวิวัฒนาการจากเดิมเปนเพียงที่ลงของถายเทสินคา มาเปนตลาดทาเกวียนอันเปนแหลงชุมชน และยานการคาที่สําคัญของอําเภอพนมสารคามในปจจุบัน หมูที่ ๒ บานเมืองกาย (ไมสามารถหาขอมูลไดในขณะนี้) หมูที่ ๓ บานเชียงใต ตั้งขึ้นเมื่อสมัยเวียงจันทรแตก ประชาชนที่อพยพมาอยูที่นี่สวนใหญเปนเชื้อสายลาวเวียงจันทร ชื่อ ของหมูบานจึงใชชื่อเดิมที่มาจากเวียงจันทร ตอมาไดมีการวิวัฒนาการขึ้นเรื่อย ๆ ตามลําดับจนถึงปจจุบัน
  • 13. วัดหนองรี วัดหนองรี ตั้งอยูเลขที่ ๔๕๕ บานหนองรี ถนนพนม - ทาลาด หมูที่ ๑ ตําบลพนมสารคาม อําเภอ พนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆมหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๖ ไร ๒๐ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือ และทิศใต จรดหมูบานหนองรี ทิศตะวันออก จรดคลองทาลาด ทิศตะวันตก จรดถนนพนมทาลาด มีที่ธรณีสงฆ จํานวน ๑ แปลง เนื้อที่ ๑ ไร วัดหนองรี ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๐ ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ เขตวิสุงคามสีมา กวาง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้ รูปที่ ๑ พระอวบ รูปที่ ๒ พระวอน รูปที่ ๓ พระสังวร รูปที่ ๔ พระครูปญญาธรรมคุณ พ.ศ. ๒๕๐๘ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๔ รูปที่ ๕ พระครูสังวรธรรมรักษ พ.ศ. ๒๕๓๔ ถึง ปจจุบัน
  • 14. รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด ๑. พระอุโบสถ กวาง ๗ เมตร ยาว ๑๖ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๓ เปนอาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก ๒. ศาลาการเปรียญ กวาง ๑๓ เมตร ยาว ๒๔ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๗ เปนอาคารไมทรง ไทย ๓. หอสวดมนต กวาง ๑๐ เมตร ยาว ๑๘ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๖ เปนอาคารไมทรงไทย ๔. กุฏิสงฆ จํานวน ๔ หลัง เปนอาคารไม ๓ หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม ๑ หลัง ๔. ศาลาบําเพ็ญกุศล จํานวน ๑ หลัง สรางดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนี้ยังมีอาคารเสนาสนะตาง ๆ คือ ฌาปนสถาน จํานวน ๑ หลัง และโรงครัว จํานวน ๑ หลัง เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดหนองรี ๑. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา. กรุงเทพฯ. หนา ๑๘๔–๑๘๕
  • 15. ภาพสิ่งที่นาสนใจภายในวัดหนองรี บน และ ลาง : พระอุโบสถดานหนาและดานหลัง
  • 16. บน และ ลาง : ลายปนปูนหนาบันดานหนาและดานหลัง
  • 17. บน และ ลาง : กลุมเสนาสนะภายในวัด
  • 18. บน : เสนาสนะภายในวัด ลาง : ทัศนียภาพคลองทาลาดบริเวณหนาวัด
  • 19. บน : ฌาปนสถาน ลาง : มรณานุสติสถาน
  • 20. วัดเมืองกาย วัดเมืองกาย ตั้งอยูเลขที่ ๕๘ บานเมืองกาย ถนนพนมสารคาม-บางคลา หมูที่ ๒ ตําบลพนมสาร คาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆมหานิกาย ที่ดินวัดมีเนื้อที่ ๒๔ ไร มีที่ธรณีสงฆ จํานวน ๑ แปลง เนื้อที่ ๒ ไร ๓ งาน วัดเมืองกาย ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๗ สันนิษฐานวาผูสรางวัด คือ ชาวเวียงจันทน ที่ไดอพยพมาอยูใน ประเทศไทย ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลที่ ๓ เพราะพระอุโบสถหลังเกา เดิมเปนศิลปะทางเวียงจันทน ไดมีการ ปฏิสังขรณถึง ๒ ครั้ง เดิมมีเนื้อที่เพียง ๒ ไรเศษ ปจจุบันมีเนื้อที่ประมาณ ๒๔ ไร โดยมีผูมีจิตศรัทธา ถวาย ที่ดินเพิ่มเติมใหวัด การศึกษา มีโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม เปดสอนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๒ สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้ รูปที่ ๑ พระครูกิตติประยุต พ.ศ. ๒๕๐๗ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๓ รูปที่ ๒ พระบุญจันทร ชุติธมโม พ.ศ. ๒๔๓๖ ถึง ปจจุบัน
  • 21. รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด ๑. พระอุโบสถ กวาง ๖ เมตร ยาว ๑๒ เมตร เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๒. ศาลาการเปรียญ กวาง ๑๔ เมตร ยาว ๒๔.๕๐ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๖ เปนอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก ๓. กุฏิสงฆ จํานวน ๕ หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม ๒ หลัง และตึก ๓ หลัง ๔. ศาลาเอนกประสงค กวาง ๑๓.๕๙ เมตร ยาว ๒๔.๙๐ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๕ เปนอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก ๕. ศาลาบําเพ็ญกุศล จํานวน ๒ หลัง สรางดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก ๒ หลัง นอกจากนี้ยังมีอาคารเสนาสนะตาง ๆ ดังนี้ คือ ศาลาอองแสวงชัย และศาลาจรัสไพบูลย01 เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดเมืองกาย ๑. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา. กรุงเทพฯ. หนา ๑๓๔-๑๓๕
  • 22. ภาพสิ่งที่นาสนใจภายในวัดเมืองกาย ภาพบน พระอุโบสถหลังใหม เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕ ภาพลาง พระอุโบสถหลังใหม เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘
  • 23. พระอุโบสถหลังเกา ถายเมื่อ วันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๒๔ พระอุโบสถหลังเกา ถายเมื่อ วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕
  • 24. พระอุโบสถหลังเกา ถายเมื่อ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘ ภาพบนและภาพลาง ลายจําหลักไมหนาบันพระอุโบสถหลังเกาทั้งดานหนาและดานหลัง
  • 28. วัดเจริญสถาพร (ราชฮวง) วัดราชฮวง ตั้งอยูที่บานราชฮวง หมูที่ ๓ ตําบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัด ฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆมหานิการ ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๗ ไร ๓ งาน ๓๙ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือจรด คลองทาลาด ทิศใตจรดถนนสาธารณะ ทิศตะวันออก จรดถนนราชสราญ ทิศตะวันตก จรดคลองสาธารณะ วัดราชฮวง ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๗ สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้ รูปที่ ๑ พระจํานงค พ.ศ. ๒๕๒๑ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๔ รูปที่ ๒ พระมานะ พ.ศ. ๒๕๒๕ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๘ รูปที่ ๓ พระสมพงศ พ.ศ. ๒๕๓๙ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๑ รูปที่ ๔ พระอรรถ รูปที่ ๕ พระบุญสง พ.ศ. ๒๕๔๑ ถึง พ.ศ. ปจจุบัน
  • 29. รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด ๑. พระอุโบสถ กวาง ๑๒ เมตร ยาว ๑๖ เมตร เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๒. ศาลาการเปรียญ กวาง ๒๕ เมตร ยาว ๒๘ เมตร เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๓. หอสวดมนต กวาง ๔๐ เมตร ยาว ๖๐ เมตร เปนอาคารไม ๔. กุฏิสงฆ จํานวน ๒ หลัง เปนอาคารไม ๑ หลัง และตึก ๑ หลัง ๕. วิหาร กวาง ๒๔ เมตร ยาว ๔๐ เมตร เปนอาคารไม สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๑ 1F 2 เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดเจริญสถาพร (วัดราชฮวง) ๑. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา. กรุงเทพฯ. หนา ๑๓๗.
  • 30. ภาพสิ่งที่นาสนใจภายในวัดเจริญสถาพร (ราชฮวง) ภาพบน พระอุโบสถหลังเกา ถายเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕ ภาพลาง พระอุโบสถหลังใหม ถายเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘
  • 31. ภาพซาย พระประธานภายในพระอุโบสถ ภาพขวา ซุมหนาตางพระอุโบสถ ภาพซาย ลายปนปูนหนาบันดานหนา ภาพขวา ลายปนปูนหนาบันดานหลัง
  • 33. ศาลาการเปรียญ ภาพบน ถายเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕ ภาพลาง ถายเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘
  • 34. ภาพบนและภาพลาง : อนุสาวรียพระเจาตากสินมหาราช ซึ่งตั้งอยูขางศาลาการเปรียญ
  • 38. วัดเชียงใต (วัดศรีพรหม) วัดเชียงใต ตั้งอยูเลขที่ ๑๑๗ บานเชียงใต ถนนพนมสารคาม-บางคลา หมูที่ ๓ ตําบลพนมสาร คาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆ มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๒๑ ไร ๗ ตาราง วา อาณาเขต ทิศเหนือ จรดถนนสายพนมสารคาม-บางคลา ทิศใต จรดคลองทาลาด ทิศตะวันออก จรดที่ สาธารณะ ทิศตะวันตก จรดคูน้ําสาธารณะ วัดเชียงใต ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๗ ประวัติของวัดทราบจากคําบอกเลาตอ ๆ กันมาวา ชาวบานเชียงใต ซึ่งอพยพมาจากเวียงจันทน ประเทศลาว ในสมัยที่พระยาจักรี ยกทัพไปตีเมืองเวียงจันทน และไดกวาดตอน ผูคนมาดวย เมื่อชาวบานไดตั้งหมูบานขึ้น จึงไดสรางวัดนี้ขึ้นเปนวัดประจําหมูบาน และมีพระไม จํานวน ๒ องค โดยไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ วันที่ ๓๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๑๔ เขตวิสุงคามสีมา กวาง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้ รูปที่ ๑ พระอธิการโห พ.ศ. ๒๔๓๕ ถึง พ.ศ. ๒๔๘๖ รูปที่ ๒ พระทองขาว วงศจําปา (ร.ก.) พ.ศ. ๒๔๘๖ ถึง พ.ศ. ๒๔๘๘
  • 39. รูปที่ ๓ พระครูสารธรรมนิวิฐ พ.ศ. ๒๔๘๘ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๙ รูปที่ ๔ พระอธิการเกษม ปภากโร พ.ศ. ๒๕๓๙ ถึง ปจจุบัน รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด ๑. พระอุโบสถ กวาง ๗ เมตร ยาว ๒๒ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๐ เปนอาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก ๒. ศาลาการเปรียญ กวาง ๑๓ เมตร ยาว ๒๓ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๒ เปนอาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก ๓. กุฏิสงฆ จํานวน ๒ หลัง เปนอาคารครึ่งตึกครึ่งไม ๒ หลัง ๔. วิหาร กวาง ๑๒ เมตร ยาว ๒๑.๔๐ เมตร เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๕. ศาลาบําเพ็ญกุศล จํานวน ๑ หลัง สรางดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก กวาง ๑๐ เมตร ยาว ๒๕ เมตร นอกจากนี้มีอาคารเสนาสนะตาง ๆ ดังนี้ คือ ฌาปนสถาน ๑ หลัง ปูชณียวัตถุ มีประธานประจํา อุโบสถ ปางสมาธิ ขนาดหนาตักกวาง ๑.๕๐ เมตร เปนพระพุทธรูปปูนปน2F 3 ซึ่งทางวัดจะชลอไปประดิษฐาน ที่วิหาร เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดเชียงใต ๑. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา. กรุงเทพฯ. หนา ๓๗
  • 40. ภาพสิ่งที่นาสนใจภายในวัดเชียงใต (วัดศรีพรหม) ภาพบน พระอุโบสถหลังเกา ปพ.ศ. ๒๕๓๕ ภาพลาง ลานซีเมนตบริเวณที่ตั้งพระอุโบสถหลังเกา ปพ.ศ. ๒๕๔๘ ดานหลัง คือ ศาลาการเปรียญ
  • 41. ภาพบน พระอุโบสถหลังใหม ถายเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕ ภาพลาง พระอุโบสถหลังใหม ถายเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘
  • 45. ภาพซายและภาพขวา : พระไมพุทธศิลปทรงลาวที่นํามาจากประเทศลาว เมื่อคราวอพยพ ภาพซายและภาพขวา : พระไมพุทธศิลปทรงลาวที่นํามาจากประเทศลาว เมื่อคราวอพยพ
  • 46. ภาพบน และภาพลาง : ศาลาการเปรียญ
  • 53. วัดมหาเจดีย (วัดนอก) วัดมหาเจดีย ตั้งอยูเลขที่ ๑๑๘ บานเตาเหล็ก หมูที่ ๓ ตําบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆมหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๑๓ ไร ๑๒ ตารางวา วัดมหาเจดีย ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๗ ไดรับพระราชทางวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๒ สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้ รูปที่ ๑ พระมหาอุต พ.ศ. ๒๔๒๐ ถึง พ.ศ. ๒๔๓๔ รูปที่ ๒ พระครูวิมลญาณสุนทร พ.ศ. ๒๔๔๐ ถึง พ.ศ. ๒๔๙๙ รูปที่ ๓ พระมิ่ง ทนฺตจาโร พ.ศ. ๒๕๐๐ ถึง พ.ศ. ๒๕๑๕ รูปที่ ๔ พระสมนึก อนาลโย พ.ศ. ๒๕๑๗ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๕ รูปที่ ๕ พระฉลวย สิริปุฺโญ พ.ศ. ๒๕๓๕ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๘ รูปที่ ๖ พระไพรวัลย สนฺติกโร พ.ศ. ๒๕๓๘ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๐ รูปที่ ๗ พระกมล จนฺทสาโร พ.ศ. ๒๕๔๐ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๑ รูปที่ ๘ พระสวาง สุขํชาโต พ.ศ. ๒๕๔๑ ถึง ปจจุบัน
  • 54. รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด ๑. พระอุโบสถ แบบลานชาง ซึ่งเปนสถาปตยกรรมแบบลาว ๒. ศาลาการเปรียญ กวาง ๑๙.๒๐ เมตร ยาว ๒๗.๒๐ เมตร เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๓. กุฏิสงฆ จํานวน ๑ หลัง เปนอาคารไม ๔. เจดียรูปทรงไมสิบสอง ๕. วิหารที่ประดิษฐานรูปหลอเหมือนหลวงพอกอย 3F 4 เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดมหาเจดีย (วัดนอก) ๑. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา. กรุงเทพฯ. หนา ๑๓๔.
  • 55. ภาพสิ่งที่นาสนใจภายในวัดมหาเจดีย (วัดนอก) บน และ ลาง : พระอุโบสถหลังเกาปจจุบันถูกรื้อถอนและสรางอุโบสถหลังใหมบนพื้นที่เดิม
  • 56. บน และ ลาง : พระอุโบสถหลังใหม
  • 57. บน และ ลาง : ลายปูนปนหนาบันอุโบสถทั้งดานหนา และดานหลัง
  • 58. ซายและ ขวา : พระประธานภายในอุโบสถ ประมวลภาพพระไม พุทธศิลปทรงลาว ที่ประดิษฐานชั้นใตดินอุโบสถหลังใหม
  • 60. ประมวลภาพพระไม พุทธศิลปทรงลาว ที่ประดิษฐานชั้นใตดินอุโบสถหลังใหม บน : เจดียที่ผูอพยพจากลาวสรางขึ้นในสมัยกรุงธนบุรี เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุและวัตถุมงคล ที่มีคาซึ่งประกอบดวย พระพุทธรูปทองคํา และอัญมณี เปนภาพที่ถายเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๘ ลาง : ถายเมื่อ ๒๕๓๕
  • 61. บน และลาง : ถายเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๘
  • 62. บน : วิหารที่ประดิษฐานรูปหลอเหมือนหลวงพอกอย ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕ ลาง : วิหารที่ประดิษฐานรูปหลอเหมือนหลวงพอกอย ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘
  • 63. บน ซายและขวา : รูปหลอเหมือนหลวงพอกอยทั้ง ๒ รูป ภายในวิหาร
  • 64. บน : กลุมเสนาสนะภายในวัด ลาง : บอน้ําใหญหลังอุโบสถ
  • 65. บน : ฌาปนสถาน ลาง : มรณานุสติสถาน
  • 66. วัดเตาเหล็ก วัดเตาเหล็ก ตั้งอยูเลขที่ ๑๑๙ บานเตาเหล็ก หมูที่ ๓ ตําบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆมหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๓ ไร ๓ งาน ๗๖ ตารางวา วัดเตาเหล็ก ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๗ เดิมชื่อวัด ศรีธาตุ เริ่มสรางเมื่อประมาณ ๒๐๐ ปเศษ “ซึ่งนับวาเปน วัดที่เกาแกที่สุดในคุงน้ําทาลาด” และเปนสถานที่ดื่มน้ําพระพิพัฒนสัตยา มีเรื่องเลาสืบตอกันมาวา ชาวบานไดอพยพมาจากบานลานชาง ที่เมืองเวียงจันทน ประเทศลาว ใน สมัยตนรัตนโกสินทร เมื่อตั้งบานเรือนเรียบรอยแลว จึงไดสรางวัดประจําหมูบานขึ้น พระพุทธรูป พระ ประธานประจําวัดก็ไดอัญเชิญมาจากเมืองเวียงจันทน ตอนที่อพยพมาตั้งหมูบาน ซึ่งยังปรากฏอยูจนทุกวันนี้ ไดรับพระราชวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๙ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๐ เขตวิสุงคามสีมา กวาง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร พระอุโบสถหลังเกา สรางโดยพระทศพลดลศรี เวียงวโรดม เปนชาวเวียงในสมัยรัชกาลที่ ๓ ซึ่ง มีการบูรณปฏิสังขรณ เมื่อป พ.ศ. ๒๔๙๔ โดย นางสละ สมบูรณทรัพย บริจาคเงิน ๕๐,๐๐๐ บาท เหตุที่ตอง มีการบูรณะใหม เนื่องจากหลังคาที่เปนสังกะสีแผนใหญ หรือเรียกวา กระเบื้องวาว สมัยรัชกาลที่ ๕ ยุบ เสียหายจึงตองเปลี่ยนหลังคาเปนสังกะสีแผนเล็ก แตก็ยังตองเปนสังกะสีเกา เมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๗
  • 67. สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้ รูปที่ ๑ พระอาจารยประสงค รูปที่ ๒ พระอาจารยติ้ง รูปที่ ๓ พระอธิการพัน สุมาโณ รูปที่ ๔ พระอาจารยนอย รูปที่ ๕ พระอธิการสบู อิสโร รูปที่ ๖ พระอธิการพร ปภาโส รูปที่ ๗ พระพิทักษ ธิตญาโณ ตั้งแต พ.ศ. ๒๕๓๒ - พ.ศ. ๒๕๔๕ รูปที่ ๘ พระครูสถิตญาณคุณ พ.ศ. ๒๕๔๕ - ปจจุบัน รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด ๑. พระอุโบสถ กวาง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ เปนอาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก ๒. ศาลาการเปรียญ กวาง ๑๒ เมตร ยาว ๒๔ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๕ เปนอาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก ๒ ชั้น ปูชณียวัตถุ มีพระพุทธรูปสําริด ปางมารวิชัย ขนาดหนาตัก กวาง ๑๙ นิ้ว สูง ๑๘ นิ้ว สรางพรอมกับ การสรางวัด 4F 5 เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดเตาเหล็ก ๑. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา. กรุงเทพฯ. หนา ๕๐-๕๑.
  • 68. ภาพสิ่งที่นาสนใจภายในวัดเตาเหล็ก ภาพบน พระอุโบสถหลังเกา ถายเมื่อ วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕ ภาพลาง พระอุโบสถหลังเกา ถายเมื่อ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘
  • 69. ภาพบน ถายเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕ ภาพลาง ถายเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘
  • 71. ภาพซายและภาพขวา : หลวงพอหลวง พระประธานภายในพระอุโบสถหลังเกา ภาพซาย จิตรกรรมฝาผนังภายในพระอุโบสถ ภายขวา จิตรกรรมฝาผนังภายนอกพระอุโบสถ
  • 72. ภาพซาย คลองทาลาดขางวัด ภาพขวา สิงหบันไดหนาพระอุโบสถ ภาพซาย พระอุโบสถหลังใหม ถายเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕ ภาพขวา พระอุโบสถหลังใหม ถายเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘ ภาพซาย ลายหนาบันดานหนาพระอุโบสถ ภาพขวา ลายหนาบันดานหลังพระอุโบสถ
  • 73. ภาพซายและภาพขวา : พระไมพุทธศิลปทรงลาวที่ผูอพยพนําเขามาเมื่อแรกสรางวัด ภาพบน เจดียเกาแก ถายเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕ ภาพลาง เจดียเกาแก ถายเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘ ภาพบน ศาลาและหอระฆัง ถายเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘ ภาพลาง กลายเปนหอประชุมใหญในปจจุบัน ถายเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕
  • 74. ภาพซายและภาพขวา : กุฏิธรรมสังเวชของ พระอธิการสบู อิสโร ที่มรณภาพแลวรางกายไมเนาเปอย ภาพซายและภาพขวา : ศาลาที่ประดิษฐานพระพุทธรูปและเทวรูป ภาพซายและภาพขวา : ฌาปนสถานที่กําลังกอสราง
  • 75. ภาพบนและภาพลาง : วัดเชียงใต วัดเพื่อนบานขางเคียง มุมมองบนศาลาการเปรียญวัดเตาเหล็ก
  • 76. ๒. ตําบลเกาะขนุน ตําบลเกาะขนุน แบงการปกครองเปน ๑๕ หมูบานคือ หมูที่ ๑ บานโรงเลื่อยจักร, สองพี่นอง หมูที่ ๒ บานเกาะขนุน หมูที่ ๓ บานปากคลองมวง, บางกระดี่, เกาะมะมวง, คูเมือง หมูที่ ๔ บานหนองเสือ, แหลมทอง หมูที่ ๕ บานแหลมตะครอ, ปากดง, เกาะมะมวง, ตะเขปูน หมูที่ ๖ บานนานอย หมูที่ ๗ บานชายเคือง หมูที่ ๘ บานไรดอน หมูที่ ๙ บานหนองปรือ, ชําปาหวาย หมูที่ ๑๐ บานหวยพลู หมูที่ ๑๑ บานหนองประดูลาย หมูที่ ๑๒ บานหนองอีโถน, หนองน้ําดํา หมูที่ ๑๓ บานดอนขี้เหล็ก หมูที่ ๑๔ บานหนองบอ หมูที่ ๑๕ บานหวยสาม
  • 77. ประวัติหมูบานตําบลเกาะขนุน หมูที่ ๑ บานโรงเลื่อยจักร, สองพี่นอง หมูบานแหงนี้ตั้งขึ้นในราวป พ.ศ. ๒๔๕๐ เดิมเปนหมูบานเล็ก ๆ รวมอยูกับหมูบานเกาะขนุน ตอนแรกมีพี่ นองสองครอบครัวมาปลูกบานทํามาหากินอยูจึงเรียกวา “บานสองพี่นอง” ตอมามีผูคนยายถิ่นฐานเขามาทํา มาหากินมากขึ้นจึงแยกเปนหมูบานขึ้นใหม และตอมามีพอคาไมไดมาตั้งโรงเลื่อยจักรทําการเลื่อยไม ดวย ชวงสมัยนั้นตําบลเกาะขนุนมีปาทั่วทั้งตําบล เมื่อกิจการโรงเลื่อยจักรเจริญขึ้น บริษัทเอื้อวิทยาผูกอตั้ง โรงเลื่อยไดขยายกิจการเปนโรงเลื่อยจักรขนาดใหญ มีการวางรางรถไฟเขาไปบรรทุกไมซุงถึงบานลาด กระทิงในเขตอําเภอสนามชัยเขต มีตลาดการคาและผูคนอพยพมาทํางานเปนกรรมกรมากขึ้น จึงเกิดชื่อ เรียกวา “บานโรงเลื่อยจักร” ขึ้นอีกชื่อหนึ่ง ตอมาการทําไมของบริษัทไดลดนอยลงจนกระทั่งเลิกกิจการ คงเหลือเพียงโรงเลื่อยขนาดเล็ก สวนตลาดการคาเลิกกิจการ ผูคนอพยพออกไปทํามาหากินในถิ่นอื่น ทําให กลายสภาพเปนหมูบานขนาดเล็กดังที่ปรากฏอยูในปจจุบัน หมูที่ ๒ บานเกาะขนุน หมูบานแหงนี้ตั้งขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ.๒๔๓๗ เดิมเปนหมูบานเล็ก ๆ ตั้งอยูริมคลองทาลาด มีสภาพ คลายเกาะน้ําทวมไมถึงแตเดิมมีทั้งขนุนปาและขนุนบานขึ้นอยูเต็มไปหมด จึงไดชื่อวา “เกาะขนุน” และรอบ ๆ บริเวณหมูบานมีตนไมยืนตนขนาดใหญมากมาย ผูคนจากถิ่นฐานตาง ๆ อพยพเขามาจับจองหักลางถางพง ทํานาทําไรและตั้งโรงเลื่อยดวยแรงคนจนเกิดเปนยานการคา มีตลาด มีเรือเขามาบรรทุกสินคาไมวาจะเปนไม ซุง ไมแปรรูป ของปา หรือพืชไรออกไปขายยังตางอําเภอ ตางจังหวัด หมูที่ ๓ บานปากคลองมวง, บางกระดี่, เกาะมะมวง, คูเมือง หมูบานแหงนี้มีชื่อเรียกหลายชื่อ เนื่องจากประชากรไดแยกกันอยูเปนหยอม ๆ ที่ตั้งบานเรือนอยูริม คลองตอนเหนือตรงลําคลองสองสายคือ คลองลัดกับคลองมวงมาบรรจบกันเปนคลองทาลาด เรียกหมูบาน นี้วาปากคลองมวง สวนหมูบานตอนใตลงมาเรียกบานบางกระดี่ สวนหมูบานที่แยกไปอยูบนที่สูงอีกสอง หมูบาน เรียกวา บานเกาะบุญนาคและหมูบานเกาะมวง คูเมือง หมูที่ ๔ บานหนองเสือ, แหลมทอง ตั้งขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๕ สภาพเดิมของหมูบานมีประมาณ ๒๐ หลังคาเรือน ที่เรียกวา หมูบานหนองเสือ เพราะ สมัยกอนมีหนองน้ําซึ่งบริเวณหนองน้ําเปนปา เสือลงมากินน้ําที่หนองนี้จึงเรียกวา “หนองเสือ” ประชาชนสวนใหญของหมูบานราว ๘๐ เปอรเซ็นต เปนชาวลาวอพยพมาจากเมืองเวียงจันทน นอกนั้นเปนชาวไทยและจีน
  • 78. หมูที่ ๕ บานแหลมตะครอ, ปากดง, เกาะมะมวง, ตะเขปูน หมูบานแหงนี้ตั้งขึ้นในราวรอยกวาปมาแลว เดิมบริเวณแหงนี้เปนปาไมเบญจพรรณตอมาบริษัทเอื้อ วิทยาไดทําการตัดไมใหญแปรสภาพเปนซุงและไมแปรรูป กอปรกับมีชาวจีนอพยพขึ้นมาถากถางพื้นที่จับ จองทําไรปลูกพืชไร หลังจากนั้นราว ๕ – ๖ ป มีคนไทยทยอยเขามาจับจองที่ทํามาหากินอีกและอพยพกันเขา มาหักรางถางพงบุกเบิกจนสภาพกลายเปนนาและสวน สิ้นสภาพความเปนปาไปจนหมดดังที่ปรากฏใหเห็น อยูในปจจุบัน สวนชื่อเรียกหมูบานเรียกตามสภาพพื้นที่ที่เปนเนินสูงมีลําลางลอม ๓ ดาน มีลักษณะเปนหลัง เตาและเปนแหลมยื่นไปทางทิศตะวันตก หมูที่ ๖ บานนานอย หมูบานแหงนี้ตั้งขึ้นในราวป พ.ศ. ๒๔๒๐ โดยมีหลวงองคเปนหัวหนา และนางคําเปนลาม แปลภาษาพื้นบานใหหลวงองคทราบ ทั้งนี้เนื่องจากสวนใหญประชาชนมีเชื้อสายลาวที่อพยพมาจากนคร เวียงจันทนแตเดิมมาอยูที่บานหนองอิ่ม และอพยพจากบานหนองอิ่มมาจับจองที่ทํากินอยูที่บานนานอย สวนบานหนองอิ่มขณะนี้เปนบานรางอยูในเขตตําบลหนองแหน อําเภอพนมสารคาม หมูบานนานอยแตเดิม มีชาวลาวอพยพมาตั้งบานอยูไมกี่หลังคาเรือน ทํามาหากินในทางทํานาและทําไร ตอนแรกสภาพของหมูบาน เปนหมูบานเล็ก ๆ รวมกันอยูเปนกลุม มีที่นาทํากันอยูเพียงเล็กนอย จึงไดเรียกชื่อบานตามสภาพของนาที่มี ทํากันอยูในขณะนั้นวา “บานนานอย” ตอมาประชาชนไดอพยพเขามาตั้งบานเรือนเพิ่มขึ้น เพราะเปนที่อุดม สมบูรณมีลําคลองน้ําไมขาด มีที่ทํามาหากินมากมายจนชุมชนขยายกลายเปนสภาพใหญ แตยังคงเรียกชื่อ หมูบานตามสภาพความจริงเดิมวา “บานนานอย” จนปจจุบัน หมูที่ ๗ บานชายเคือง ระยะแรกเริ่มผูคนตั้งหมูบานอยูบริเวณหลังโรงเรียนวัดชายเคือง ประมาณ ๗ – ๘ หลังคาเรือน และ เรียกชื่อวา บานหนองบางนา ตอมาไดสรางวัดขึ้นที่บริเวณวัดชายเคืองปจจุบัน เรียกวา “วัดหนองบางนา แต เนื่องจากบริเวณที่ตั้งบานเรือนอยูนั้นเปนที่ต่ําเมื่อถึงฤดูฝนน้ําจะหลากมาทวมอยูเสมอ ๆ นายขุนทองซึ่งเปน ผูใหญบานในสมัยนั้นจึงไดโยกยาย วัว ควาย ขึ้นไปอยูที่ดอนทาไทร ตอมาก็ยายไปอยูที่นั่นเลย วัดหนอง บางนาถูกปลอยใหเปนวัดราง พรอมกันนั้นก็ไดสรางวัดใหมขึ้นที่ดอนทาไทรปจจุบัน ตอมา หลวงตาวร ไดพิจารณาเห็นวาคนที่จะมาทําบุญซึ่งมาจากหมูบานทากงนั้นไปมาลําบากเพราะ หนทางไกล จึงไดยายวัดกลับมาอยูที่เดิม คือ บริเวณวัดหนองบางนาเกาสวนสาเหตุอีกประการนั้น เนื่องจาก ไดมีผูคนพบหลวงพอหมี (พระประธานซึ่งอยูในโบสถปจจุบัน)ที่ในปา สวนสาเหตุแหงชื่อเรียกวาวัดและ หมูบาน “ชายเคือง” เนื่องดวย ๒ มูลเหตุแหงการสันนิษฐาน คือ
  • 79. สาเหตุแรก หากมีการจัดงานเทศกาลตาง ๆ ขึ้นที่วัดนี้ จะเกิดเหตุการณทะเลาะวิวาทกันบอย ๆ กับ อีกสาเหตุหนึ่งมีเรื่องเลาวา ไดมีชายหญิงคูหนึ่งไดหนีตามกันมานอนอยูใตถุนวัด เสือไดคาบผูหญิงไปกิน ชายนั้นโกรธและตามไปฆาเสือตาย จึงไดชื่อวา “วัดชายเคือง” หมูที่ ๘ บานไรดอน แตเดิมราวป พ.ศ.๒๔๔๕ เขตหมูบานไรดอนยังเปนปาทึบไมมีผูคนอาศัย ตอมาเริ่มมีผูคนเขาไป บุกเบิกที่ทางทํากิน พื้นที่เริ่มเตียนผูคนคอย ๆ ทยอยเขาไปตั้งบานเรือนอยูทํากิน สวนที่ใหชื่อวา “ไรดอน” ก็ เนื่องจากบริเวณพื้นที่เปนที่ดอนมีลักษณะเปนเนินสูงมีน้ําซับชุมฉ่ําอยูเกือบทั้งปเหมาะแกการทําไร ตางไป จากที่ดอนโดยทั่วไปที่มักจะแหงแลวทําการเพาะปลูกไมไดผล หมูที่ ๙ บานหนองปรือ, ชําปาหวาย เดิมที่เดียวหมูที่ ๙ นี้ ตั้งขึ้นรวมกับหมูที่ ๔ และแยกมาเปนหมู ๑๒ ภายหลังจึงแยกตัวเองเปนหมูที่ ๙ เมื่อแรกเริ่มมีบานเรือนราว ๑๐ กวาหลังคาเรือน สวนที่เรียกชื่อ “หนองปรือ–ชําปาหวาย” ก็เนื่องจาก มี ปรือที่นํามาทําฝาบาน และหวายมาก ชาวบานสวนมากเปนลาวพวนที่มาจากเวียงจันทน หมูที่ ๑๐ บานหวยพลู หมูบานแหงนี้ตั้งขึ้นในราวป พ.ศ. ๒๔๘๐ ผูเริ่มตั้งคือ นายกมล เอื้อวิทยา ซึ่งไดรับสัมปทานปาไม โดยใชชื่อบริษัทวา “บริษัทเอื้อวิทยา” สวนสาเหตุแหงการเรียกชื่อหมูบานหวยพลูก็เนื่องจาก เมื่อครั้งกอน หมูบานนี้มีลําหวยไหลผาน ซึ่งบริเวณลําหวยดังกลาวมีตนพลูขึ้นอยูมากมาย จึงเรียกคํา “หวยพลู” จนติดปาก กระทั่งกลายเปนชื่อหมูบาน ในอดีตภูมิภาคแถบนี้เปนปามีสัตวชุกชุม แตสภาพปจจุบันคือที่ทําไรทํานา หมูที่ ๑๑ บานหนองประดูลาย ตั้งขึ้นเมื่อใดไมปรากฏหลักฐานแนชัด สภาพเดิมเปนปาซึ่งมีไมประดูขึ้นอยูเปนจํานวนมาก ใน จํานวนนี้มีประดูใหญตนหนึ่งขางหนองน้ําชาวบานไดตัดมาปรากฏวามีลายไมสวยงามมากจนเปนที่กลาวกัน ติดปากเรื่อยมาและเปนชื่อเรียกวา “หนองประดูลาย” ไปในที่สุด หมูที่ ๑๒ บานหนองอีโถน, หนองน้ําดํา ตั้งขึ้นในราวป พ.ศ.๒๔๗๗ ไมปรากฏหลักฐานผูตั้ง สภาพเดิมเปนปารกมีลําหวยไหลผานตลอดป เปนที่อาศัยของสัตวปานานาชนิด ตอมามีประชาชนในเขตตําบลหนองแหน และเกาะขนุน เขามาบุกเบิกทํา ไรมันสําปะหลังและไรขาว และเนื่องจากเปนพื้นที่อุดมสมบูรณตอมาก็มีผูคนทยอยเขามาทําผลประโยชน มากขึ้น เหตุที่เรียกชื่อวา “หมูบานหนองอีโถน” เนื่องจากมีหนองน้ําลักษณะเหมือนกระโถนอยู จึงเอา ลักษณะหนองน้ํานี้มาตั้งเปนชื่อหมูบาน เดิมเรียกหมูบานหนองกระโถน ตอมาเพี้ยนเปน “หนองอีโถน”
  • 80. หมูที่ ๑๓ บานดอนขี้เหล็ก ตั้งขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๐ ผูตั้งคือ นายหยวก เข็มรุง สภาพเดิมของหมูบานเปนปามีตน ขี้เหล็กขึ้นเปนจํานวนมาก ประชาชนเขามาอยูครั้งแรกจํานวน ๓ หลัง อยูตอมาก็มีประชาชนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จึงเรียกเปนหมูบาน ประกอบอาชีพทํานา ทําไร ปจจุบันมีอาชีพทําไรเปนสวนใหญ หมูที่ ๑๔ บานหนองบอ (ไมสามารถหาขอมูลไดในขณะนี้) หมูที่ ๑๕ บานหวยสาม (ไมสามารถหาขอมูลไดในขณะนี้)
  • 82. วัดพงษาราม วัดพงษาราม ตั้งอยูเลขที่ ๔๐๘ บานเกาะขนุน หมูที่ ๒ ตําบลเกาะขนุน อําเภอพนมสารคาม จังหวัด ฉะเชิงเทรา สังกัดคณะสงฆมหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๓๙ ไร ๑ งาน ๙๙ ตารางวา น.ส. ๓ ก เลขที่ ๔๓๔ อาณาเขต ทิศเหนือจรดที่สาธารณะ ทิศใตจรดคลองทาลาด ทิศตะวันออกและทิศตะวันตก จรดที่ดินนางหรุม เข็มราช มีที่ธรณีสงฆจํานวน ๑ แปลง เนื้อที่ ๕ ไร ๒๐ ตารางวา โฉนดเลขที่ ๓๑๕ วัดพงษาราม ตั้งเมื่อ ๒๔๐๙ ไมปรากฏหลักฐานนามผูสราง พระประธานในอุโบสถเปนพระพุทธรูป สมัยสุโขทัย มีลักษณะงดงามยิ่ง ชาวบานเรียกกันวา “หลวงพองาม” ไดรับพระราชวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๗ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๙๘ เขตวิสุงคามสีมา กวาง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร การศึกษามีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปดสอนเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ โรงเรียนผูใหญวัดเปด สอนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๙ สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้ รูปที่ ๑ พระอธิการจันทร
  • 83. รูปที่ ๒ พระอธิการสิทธิ์ รูปที่ ๓ พระอธิการจิ๋ว รูปที่ ๔ พระอธิการมหัสไทย รูปที่ ๕ พระอธิการบุญรอด รูปที่ ๖ พระอธิการครุฑ รูปที่ ๗ พระอธิการทองแดง รูปที่ ๘ พระอธิการสุวรรณ พ.ศ. ๒๔๗๖ รูปที่ ๙ พระครูวารีสมานคุณ พ.ศ. ๒๔๗๗ ถึง พ.ศ. ๒๕๑๐ รูปที่ ๑๐ พระครูปญญาสารธรรม พ.ศ. ๒๕๑๒ ถึง ปจจุบัน รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด ๑. พระอุโบสถ กวาง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๑ เปนอาคารทรงไทย ๒. ศาลาการเปรียญ กวาง ๑๘ เมตร ยาว ๔๖ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๗ เปนอาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก ทรงไทย ๓. หอสวดมนต กวาง ๖ เมตร ยาว ๑๐ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๓ เปนอาคารทรงไทย ๔. กุฏิสงฆ จํานวน ๑๑ หลัง เปนอาคารไม ๙ หลัง และตึก ๒ หลัง ๕. ศาลาอเนกประสงค กวาง ๒๐ เมตร ยาว ๓๐ เมตร เปนอาคารทรงไทย ๖. ศาลาบําเพ็ญกุศล จํานวน ๒ หลัง สรางดวยคอนกรีตเสริมเหล็ก ๑ หลัง สรางดวยไม ๑ หลัง นอกจากนี้ยังมีโรงครัว ๑ หลัง ปูชนียวัตถุ มีพระประธานประจําอุโบสถ ศิลปะสมัยสุโขทัย นามวา “หลวงพองาม” 5F 6 เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดพงษาราม ๑. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา. กรุงเทพฯ. หนา ๑๑๗-๑๑๘
  • 87. ลาง : ตนสาละและกลุมผูออกเก็บขอมูล บน และ ลาง : ศาลากลางน้ําหนาวัด
  • 89. ๓. ตําบลเขาหินซอน ตําบลเขาหินซอนไดตั้งรากฐานมาประมาณ ๘๐ ป เศษ โดยแตเดิมประชากรที่มาตั้งถิ่นฐานนั้น อพยพมาจากตําบลขางเคียงเขา ต.หนองยาว ต.บานซอง ต.เกาะขนุน เพื่อมาทํามาหากิน สําหรับชื่อตําบล เขาหินซอนนาจะเปนเพราะพื้นที่เดิมเคยเปนทะเลมากอนเมื่อแหงลงไปเกิดการธรรมชาติแปรปรวน มี กระแสน้ําพัดพานําหินชิ้นเล็กบางโตบางมาทับถมเกิดภูเขาหินที่ซอนกันโดยธรรมชาติ ชาวบานจึงตั้งชื่อวา เขาหินซอน แบงการปกครองออกเปน ๑๓ หมูบาน คือ หมูที่ ๑ บานมวงโพรง หมูที่ ๒ บานเขาหินซอน หมูที่ ๓ บานแหลมเขาจันทร หมูที่ ๔ บานปรือวาย หมูที่ ๕ บานหนองวานเหลือง หมูที่ ๖ บานหนองแสง หมูที่ ๗ บานลํามหาชัย หมูที่ ๘ บานหนองยายแจม หมูที่ ๙ บานหนองกลางดง