SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
ISBN
เจาของ
ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร
ที่ปรึกษา
- ผูชวยศาสตราจารยเอนก เทพสุภรณกุล
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร
- อาจารยอุทิน รวยอารี
รองอธิการบดีกิจการนักศึกษา
- ผูชวยศาสตราจารยชุมศรี นพวงศ ณ อยุธยา
ผูทรงคุณวุฒิ
คณะผูจัดทํา
ผศ.ประเสริฐ ศีลรัตนา
อาจารยจินดา เนื่องจํานงค
อาจารยชูชาติ นาโพตอง
อาจารยกิจจา สิงหยศ
นางอรวรรณ แสงอรุณ
น.ส.นวลลออ อนุสิทธิ์
นายศักดิ์ดา มลิกุล
พิมพที่ : บริษัทเอ็มเอ็น คอมพิวออฟเซท จํากัด
๔๘๘-๔๙๐ สถานขนสงฉะเชิงเทรา อําเภอเมือง
จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒๔๐๐๐
โทร. / แฟกซ ๐-๓๘๕๑-๕๗๗๐ , ๐-๓๘๕๑-๕๕๓๐
พ.ศ. ๒๕๔๘
คํานํา
แนะนําจังหวัดฉะเชิงเทรา “ฉบับอําเภอราชสาสน” นี้เปนโครงการรวบรวมและเผยแพร
คุณคาทางประวัติศาสตรศิลปะและวัฒนธรรมของอําเภอราชสาสน โดยมุงเนนไปที่วัด ทั้งนี้
เนื่องจากจัดเปนศูนยรวมทางจิตใจและวิถีชีวิตของชุมชนในทองถิ่น ซึ่งมีทั้งเรื่องราวทาง
ประวัติศาสตร รูปแบบ โครงสรางทางสถาปตยกรรมที่มีลักษณะเฉพาะ จิตรกรรมหรือ
ประติมากรรมที่บอกเลาเรื่องราวตาง ๆ ทางพุทธศาสนา
ปจจุบันชุมชนไดรับวัฒนธรรมเมืองจากสวนกลาง ทําใหมีการรื้อถอน ปรับเปลี่ยนรูปแบบ
โครงสรางทางสถาปตยกรรม จนทําใหคุณคาความเปนทองถิ่นและเอกลักษณของชุมชน
ถูกทําลายไป
ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น เล็งเห็นความสําคัญในการอนุรักษ โดยการเก็บรวบรวม
ขอมูล เพื่อเผยแพรใหอนุชนและผูสนใจไดรับรู เขาใจและเห็นคุณคาของภาพในอดีต เรื่องราวที่
เปนประวัติศาสตร โดยเปรียบเทียบกับปจจุบัน และเพื่อสรางจิตสํานึกใหเกิดความรัก หวงแหน
เรื่องราวและสถานที่ในทองถิ่นของตน เทาที่ศักยภาพแหงกาลเวลาและทุนทรัพยจะเอื้ออํานวย
ประเสริฐ ศีลรัตนา
จินดา เนื่องจํานงค
สารบัญ
หนา
คํานํา
ประวัติสภาพทองที่อําเภอราชสาสน ๑
ประวัติศาสตร ๑
คําขวัญของอําเภอ ๒
สภาพทางภูมิศาสตร ๒
การเดินทาง ๓
การแบงเขตการปกครอง ๕
- ตําบลบางคา ๕
แผนผังแสดงเขตที่ตั้งของหมูบาน ๖
ประวัติหมูบาน ๗
- ตําบลเมืองใหม ๙
แผนผังแสดงเขตที่ตั้งของหมูบาน ๑๐
ประวัติหมูบาน ๑๑
- ตําบลดงนอย ๑๓
แผนผังแสดงเขตที่ตั้งของหมูบาน ๑๔
ประวัติหมูบาน ๑๕
นิทานพื้นบาน (พระรถเมรี) ๑๙
สถานที่ที่นาสนใจ ๒๓
แผนที่แสดงเสนทางและที่ตั้งวัดตาง ๆ
- แผนที่แสดงเสนทางและที่ตั้งวัด ในตําบลบางคา ๒๕
วัดญาณรังษี (เตาอิฐ) ๒๖
วัดจรเขตาย ๔๔
- แผนที่แสดงเสนทางและที่ตั้งวัด ในตําบลเมืองใหม ๕๖
วัดบางคา ๕๗
วัดไผขวาง ๗๖
วัดแสนภุมราวาส (กกสับนอก) ๙๔
วัดทุงรวงทอง (เมืองใหม) ๑๐๕
วัดเกาะราษฎรศรัทธาราม (ปกปาก) ๑๑๕
สารบัญ (ตอ)
หนา
- แผนที่แสดงเสนทางและที่ตั้งวัด ในตําบลดงนอย ๑๓๓
วัดเกาะแกวเวฬุวัน ๑๓๔
วัดสะแกงาม ๑๕๐
วัดน้ําฉา (วัดราษฎรศรัทธาธรรม) ๑๖๗
วัดหินดาษ หรือวัดตะวันตก ๑๘๕
ภาพปกิณกะ ๒๐๕
บรรณานุกรม
คุณูประกาศ
ประวัติสภาพทองที่อําเภอราชสาสน
ประวัติศาสตร
อําเภอราชสาสน เดิมเปนทองที่อยูในเขตการปกครองของอําเภอพนมสารคาม จังหวัด
ฉะเชิงเทรา ตอมากระทรวงมหาดไทยไดมีประกาศลงวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๑๙ กําหนดใหตําบล
บางคา ตําบลดงนอย และตําบลเมืองใหม แยกการปกครองจากอําเภอพนมสารคาม และไดรับการ
จัดตั้งเปนกิ่งอําเภอราชสาสน เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๒๐ โดยมีที่ตั้งที่วาการกิ่งอําเภอ
ราชสาสนตั้งอยูในหมูที่ ๒ ตําบลบางคา ในที่ดินที่นายอั๋น มันทสูตร ยกใหแกทางราชการจํานวน
๒๕ ไร ๓ งาน ๕๐ ตารางวา ตอมาเมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๓๗ ไดรับการยกฐานะเปน
อําเภอราชสาสน ตามประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๑ ตอนที่ ๒๑ ก หนา ๓๒–๓๓
วันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๓๗
เหตุที่ใชชื่ออําเภอนี้วา อําเภอราชสาสน เนื่องจากหมูที่ ๒ ตําบลบางคา ชาวบานเรียกกันวา
บานราชสาสน ตามนิยายปรําปราเรื่อง พระรถ-เมรี ตอนพระรถนําราชสาสนของนางยักษแมเลี้ยง
ไปใหนางเมรีลูกสาวนางยักษ เมื่อพระรถนําราชสาสนผานมาบริเวณหมูที่ ๒ ตําบลบางคา พระรถ
พบพระฤาษีองคหนึ่งจําศีลภาวนาอยู จึงขอพักอาศัยเพราะเปนเวลาใกลค่ํา เมื่อพระรถหลับสนิท
พระฤาษีเห็นกลองราชสาสนก็เอามาอานดู เห็นขอความโดยสรุปวา เมื่อพระรถถึงเชาใหกินเชา ถึง
เย็นใหกินเย็น หมายถึง ใหพวกยักษกินพระรถ พระฤาษีเขาฌาณดูก็รูความเปนมา และเรื่องที่จะ
เปนไป ประกอบกับรูสึกเมตตาสงสารพระรถ พระฤาษีจึงทําการเปลี่ยนขอความในราชสาสน
ใหมวา เมื่อพระรถถึงเชาใหแตงเชา ถึงเย็นใหแตงเย็น หมายความวา เมื่อพระรถพบนางเมรีเมื่อใด
ใหนางเมรีแตงงานกับพระรถทันที สถานที่ที่พระฤาษีแปลงสาสนใหกับพระรถนี้ จึงเรียกกันวา
“บานราชสาสน” สืบมาจนถึงทุกวันนี้ และเห็นวาชื่อราชสาสนเปนมงคล เพราะเปนสถานที่ที่
เปลี่ยนสถานการณจากรายใหกลายเปนดี จึงใชคําวาราชสาสน เปนชื่ออําเภอราชสาสน เพื่อเปนสิริ
มงคล มาจนกระทั่งเปนชื่ออําเภอในปจจุบัน
นิทานพื้นบานพระรถเมรี
พระรถสิทธิ์ เปนเจาครองนครที่ไมมีพระมเหสี ไดครองเมืองไพศาลีดวยความสงบสุข
เรื่อยมา เมืองนั้นมีเศรษฐีร่ํารวยมากคนหนึ่งชื่อ พรหมจันทร มีภรรยาอยูกินกันมานานแตไมมีบุตร
ธิดา จึงพากันไปหาพระฤาษีเพื่อขอบุตรธิดา พระฤาษีจึงใหเก็บกอนกรวดที่ปากบอน้ําหนาอาศรม
และใหนึกถึงพระฤาษีทุกครั้งเมื่อภาวนา
เศรษฐีเก็บกอนกรวดไปสิบสองกอน หลังจากนั้นภรรยาไดตั้งทองมีธิดาติดตอกันเรื่อยมา
จนไดสิบสองคน เศรษฐีก็เลี้ยงลูกสาวดวยความเอ็นดู อยูตอมาเศรษฐีคาขายขาดทุนจนไมมีอาหาร
เลี้ยงดูลูกสาวทั้งสิบสองคน ในที่สุดจึงตัดสินใจที่จะนําลูกสาวทั้งหมดไปปลอยปา ขณะที่ปรึกษา
กันระหวางผัวเมีย นางเภาลูกสาวคนสุดทองแอบไดยิน จึงไปเก็บกอนกรวดไวเปนจํานวนมาก ครั้น
เมื่อพอพาเขาปาไปตัดฟนนางเภาจะเดินรั้งทายและเอากอนกรวดทิ้งตามรายทางเพื่อเปนเครื่องหมาย
เมื่อไปถึงปา พอใชใหลูก ๆ แยกยายกันไปตัดฟนหาผลไมในปากวาง สวนพอเห็นลูกจากไปในปา
หมดแลวก็หลบหนีกลับบาน
ครั้นตกเย็น ลูกสาวทั้งสิบสองคน ไดกลับมายังที่นัดพบรออยูนาน ไมเห็นพอตางรองไห
คร่ําครวญ นางเภาจึงบอกพี่ ๆ วาตนจะพากลับบาน นางเภาก็พาพี่ ๆ เดินตามกอนกรวดที่นางโปรย
เอาไวตอนเดินทางมา สวนพอแมซึ่งอดอยากกันมานาน ตั้งใจจะกินขาวกินปลาใหอิ่มหมีพลีมันเสีย
ที ขณะที่จะลงมือกินขาวลูก ๆ ก็กลับมาถึงบาน
เศรษฐีอนาถาไดหาวิธีนําลูกสาวทั้งสิบสองคนไปปลอยปาอีกครั้ง ครั้งสุดทายนางเภาไมมี
โอกาสที่จะเก็บกอนกรวดเหมือนครั้งกอน เมื่อพอพาไปปาหาฟนหาผลไมก็จํายอมไปและไดเอา
ขนมที่พอแมใหกินระหวางเดินทางโปรยตามทาง เพื่อเปนเครื่องหมายกลับบาน แตนกกาเห็นขนมก็
ตามจิกกินขนมจนหมดสิ้น ครั้นพอหนีกลับบาน นางทั้งสิบสองจึงไมสามารถจะเดินทางกลับบาน
ได พากันรอนเร พเนจรไปเรื่อย ๆ หาทิศทางไมได ในที่สุดหลงเขาไปในเมืองยักษ โดยอาศัยอยูกับ
นางสันทมาร (สนธมาร, สนทรา) ยักษแมหมายมีลูกสาวบุญธรรม ชื่อวา “เมรี” นางสิบสองไมทราบ
วานางสันทมารเปนยักษจึงอาศัยอยูดวย นางสันทมารตองออกปาไปจับสัตวกินเปนอาหารเสมอ ๆ
วันหนึ่งนางสิบสองซุกซนไปตรวจดูในสิ่งตาง ๆ ไดพบกระดูกคนและสัตวจํานวนมาก
พวกนางจึงรูวานางสันทมารนั้นเปนยักษ พากันหนีดวยความกลัว นางสันทมารกลับมาทราบจากเม
รีวานางสิบสองหนีไปก็โกรธ จึงออกติดตามหวังจะจับกินเปนอาหาร แตดวยบุญญาธิการของนาง
สิบสองยังมีอยูบาง พวกสัตวปา เสือ ชาง ชวยกันกําบังนางสิบสองไมใหนางสันทมารเห็น
ในที่สุดนางสิบสองก็เดินทางกลับมายังเมืองไพศาลี พระรถสิทธิ์เจาเมืองเสด็จมาพบเขา
ทรงพอพระทัยมาก จึงรับนางสิบสองคนเปนพระมเหสี สวนนางสันทมาร ไดติดตามมาจนถึงเมือง
ไพศาลี เมื่อทราบวานางสิบสองไดเปนพระมเหสีของพระรถสิทธิ์ก็ยิ่งเคียดแคน จึงแปลงกายเปน
หญิงงาม ทําอุบายรองหมรองไห จนไดเฝาพระรถสิทธิ์ เลาวาตนชื่อ นางสมุดชา ถูกบิดาบังคับให
แตงงานกับเศรษฐีนางจึงหนีมา พระรถสิทธิ์รับนางสมุดชาไวเปนพระชายา นางสมุดชามีความเคียด
แคนนางสิบสองเปนทุนเดิมอยูแลว จึงทําเสนหมารยาใหพระรถสิทธิ์หลงใหลจนลืมมเหสีเกาทั้งสิบ
สองคน
วันหนึ่ง นางสมุดชาทําอุบาย โดยนางแกลงปวยแลวหมอหลวงเยียวยารักษาไมหาย
นอกจากจะตองใชดวงตาของสาวที่เกิดจากพอแมเดียวกัน ๑๒ นาง เปนเครื่องยาจึงจะรักษาหาย
ดวยเวทมนตของนางยักษพระรถสิทธิ์จึงสั่งควักลูกตานางสิบสองมาเปนเครื่องยา แตนางเภาถูกควัก
ลูกตาเพียงขางเดียว เพราะเมื่อครั้งหนีนางยักษสันทมารนั้น ทั้งสิบสองนางจับปลากินประทังความ
หิว พี่ ๆ จับปลาโดยรอยกับเชือกโดยแทงตาทะลุทั้งสองขาง สวนนางเภานั้นรอยปลาจากปากปลา
ไปทะลุตาขางเดียว ฉะนั้นนางจึงถูกควักลูกตาขางเดียว เพราะผลกรรมครั้งนั้น
ขณะนั้นมเหสีทั้งสิบสองไดตั้งครรภกับพระรถสิทธิ์ทุกคน นางสันทมารจึงใหทหารจับไป
ขังไวในอุโมงคมืด ๆ มีอาหารกินบางอดบาง สวนพระรถสิทธิ์ไมทราบวามเหสีทั้งสิบสองคน
ตั้งครรภ เพราะตกอยูในอํานาจเสนหมารยาของนางยักษ นางทั้งสิบสองคนตางหิวโซอยูในอุโมงค
มืดนั้นจนคลอดบุตร เมื่อพี่สาวใหญคลอดบุตรออกมาตางก็ชวยกันฉีกเนื้อแบงกันกิน นางเภารับ
สวนแบงเก็บไวได ๑๑ ชิ้น ครั้นตนคลอดบุตรออกมาบางก็นําเนื้อเด็กทั้ง ๑๑ ชิ้นสงใหพี่ ๆ ฉะนั้นลูก
ของนางเภาจึงรอดชีวิต นางเภาก็เลี้ยงลูกมาในอุโมงคนั้นจนเจริญวัยวิ่งเลนได ตั้งชื่อวา “รถเสน”
พระอินทรทราบเรื่องนางสิบสองถูกทรมานจึงมาชวย โดยแปลงกายเปนไกมาหากินอยู
หนาอุโมงค พระรถเสนเลี้ยงไกพระอินทรและนําไกมาทาชนพนันกับชาวบานไดชัยชนะทุกครั้ง
แลกเปนขาวอาหารมาเลี้ยงแมและปา ๆ จนมีชื่อเสียงเลื่องลือไปทั่ว ความทราบถึงพระกรรณพระรถ
สิทธิ์ พระองคเรียกเขาเฝา ทําใหทราบวาเปนพระโอรส นางสมุดชาทราบเรื่องคิดกําจัดพระรถเสน
ดวยการหาอุบายใหพระรถสิทธิ์สั่งพระรถเสนเดินทางไปยังเมืองยักษเพื่อนํา “มะงั่วรูหาว มะนาวรู
โห” (บางสํานวนวา มะมวงไมรูหาว มะนาวไมรูโห) มาเปนเครื่องยารักษานางอีก นางสมุดชา
เขียนสารใหพระรถเสนถือไปหานางเมรี โดยสั่งวา “ถึงกลางวันใหฆากลางวัน ถึงกลางคืนใหฆา
กลางคืน”
พระรถเสนก็ควบมาไปยังเมืองยักษตามคําสั่งพระบิดา มาของพระรถเสนนี้เปนมากายสิทธิ์
วิ่งราวกับลมพัดและพูดไดดวย ครั้นมาถึงอาศรมพระฤาษีก็ขอหยุดพักหลับนอน พระฤาษีผูมีญาณ
พิเศษทราบเหตุการณ จึงแอบแกขอความในจดหมายที่เรียกวา “ฤาษีแปลงสาร” เสียใหมวา “ถึง
กลางวันใหแตงกลางวัน ถึงกลางคืนใหแตงกลางคืน” เมื่อพระรถเสนไปถึงเมืองยักษพบนางเมรี ก็
นําสารนางสมุดชาใหเพื่อจะไดขอมะงั่วรูหาว มะนาวรูโห นางเมรีทราบเรื่องราวตามสารก็ทําตาม
คําสั่งแมทุกประการ คืออภิเษกสมรสและยกเมืองใหพระรถเสนครอง
พระรถเสนอยูในเมืองยักษดวยความสุข แตถึงกระนั้นพระองคก็ยังระลึกถึงมารดาและปา
ของพระองค จึงคิดหาอุบายโดยการจัดเลี้ยงสุราอาหารนางเมรีจนเมามายและหลอกถามถึงหอ
ดวงตาของนางสิบสอง อีกทั้งกลองบรรจุดวงใจของนางสันทมาร นางเมรีก็พูดดวยความมึนเมา
บอกเรื่องราวและที่เก็บสิ่งของสําคัญตลอดจนยาวิเศษขนานตาง ๆ แกพระรถเสนจนหมดสิ้น พระ
รถเสนจึงนํากลองดวงใจ หอดวงตาและยารักษา รวมทั้งยาวิเศษที่โปรยเปนภูเขา เปนไฟ เปน
มหาสมุทร ติดตัวหนีออกจากเมืองไป
ครั้นเมื่อนางเมรีหายจากความมึนเมา ไมเห็นพระรถเสน นางจึงรูวาพระรถเสนหนีไปแลว
นางกับเสนายักษไดออกติดตามพระรถเสนดวยความรัก พระรถเสนควบมาหนีมาแตนางเมรีก็ตาม
ทัน พระรถเสนโปรยยาวิเศษเปนภูเขา เปนไฟ นางเมรีก็ฝาฟนผานไปได ครั้นโปรยยาใหเปน
มหาสมุทร นางเมรีสิ้นแรงฤทธิ์ไมสามารถจะขามมหาสมุทรได นางเฝารําพันออนวอนใหพระรถ
เสนกลับเมืองไปอยูกับนาง แตมาไดทัดทานไว นางเมรีเศราโศกคร่ําครวญจนดวงใจแตกสิ้นใจตาย
พระรถเสนกลาวขอโทษตอศพนางแลวใหเสนายักษนํากลับเมือง ในที่สุดพระรถเสนก็ตัดใจกลับ
เมืองไปชวยมารดาและปา ๆ เมื่อกลับมาถึงเมืองไพศาลี พระรถเสนนําดวงตามารดาและปา ๆ
พรอมกับยาไปรักษาจนสามารถมองเห็นไดทั้งสิบสองนาง พระรถเสนเขาเฝาพระราชบิดาพรอมกับ
ทูลวานางสมุดชาเปนยักษิณี นางสมุดชารูเรื่องจึงแปลงกายเปนยักษหวังจะฆาพระรถเสนเสีย แต
พระรถเสนตอสูกับนางสมุดชาเปนสามารถ และทําลายกลองดวงใจของนางสมุดชาจนนาสิ้นใจตาย
พระรถสิทธิ์จึงงองอนมเหสีทั้งสิบสองนาง พรอมทั้งขอโทษที่พระองคลงทัณฑนางเพราะความมัว
เมาในเสนหมารยาของนางยักษิณี ในที่สุดพระรถสิทธิ์ก็ครองเมืองกับมเหสีทั้งสิบสองอยางสันติสุข
(อิงตะวัน แพลูกอินทร.โรงเรียนพนมสารคาม “พนมอดุลวิทยา”. จังหวัดฉะเชิงเทรา)
สภาพทางภูมิศาสตร
ที่วาการอําเภอราชสาสน ตั้งอยูทางทิศตะวันตกของอําเภอพนมสารคาม หางจากอําเภอ
พนมสารคาม ๑๒ กิโลเมตร และหางจากศาลากลางจังหวัดฉะเชิงเทราไปทางทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือ ๔๕ กิโลเมตร เนื้อที่ ๑๓๔.๙ ตารางกิโลเมตร (๘๔,๓๑๒ ไร) มีเขต
ติดตอดังนี้
ทิศเหนือ จรดเขตตําบลกระทุมแพว อําเภอบานสราง จังหวัดปราจีนบุรี
ทิศใต จรดเขตตําบลทาทองหลาง อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศตะวันออก จรดเขตตําบลหนองยาว อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศตะวันตก จรดเขตตําบลบางกระเจ็ด อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่โดยทั่วไปมีลักษณเปนทุงนา มีที่ดอนสวนนอยในทองที่ตําบลดง
นอย ปใดฝนตกชุก น้ําจะทวมพื้นที่สวนใหญทั้งหมด แตยังไมถึงขั้นอุทกภัย ถาปใดมีฝนตก
พอประมาณ ปริมาณน้ําฝนจะชวยใหการทํานาไดฝนดีมากขึ้น พื้นที่มีระดับต่ําในฤดูแลง น้ําทะเล
หรือน้ําเค็มขึ้นและเขาไปในพื้นที่เปนสวนมาก ระหวางเดือนเมษายน พฤษภาคม และมิถุนายน
ที่ดินเปนดินเปรี้ยว ดินฟาอากาศมีสภาพเชนเดียวกับพื้นที่ในภาคกลางโดยทั่วไป โดยแบงออกเปน
๓ ฤดู คือ ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดูหนาว
การเดินทาง
การเดินทาง โดยทางรถยนตเขาอําเภอราชสาสน ไดดังนี้
๑. จากจังหวัดฉะเชิงเทรามาตามถนนสาย ๓๐๔ (ฉะเชิงเทรา – กบินทรบุรี) ถึงสี่แยก
พนมสารคาม เลี้ยวซายผานตลาดทาเกวียนมาตามถนนสายหลวงฤทธิประศาสน ประมาณ ๖ กม.
เลี้ยวขวาตามทางหลวงจังหวัด หมายเลข ๓๒๔๕ (พนมสารคาม-ราชสาสน) ประมาณ ๗ กม. ถึง
ทางเขาที่วาการอําเภอราชสาสน ดานขวา
๒. จากจังหวัดฉะเชิงเทรามาตามถนนสาย ๓๐๔ (ฉะเชิงเทรา - กบินทรบุรี) ผานสี่แยก
พนมสารคาม ถึงศูนยการคาศิริพนม เลี้ยวซายมาตามทางหลวงจังหวัด หมายเลข ๓๔๔๔ (อําเภอ
พนมสารคาม – อําเภอบานสราง) ถึงวัดเกาะแกวเวฬุวัน เลี้ยวซาย มาตามถนนสายราชสาสน –
ดงนอย เลี้ยวซายประมาณ ๖ กม. ถึงทางเขาที่วาการอําเภอราชสาสน ดานซาย
๓. จากจังหวัดฉะเชิงเทรามาตามถนนสาย ๓๐๔ (ฉะเชิงเทรา – กบินทรบุรี) ถึงสี่แยก
บางคลา เลี้ยวซายผานอนุสาวรียพระเจาตาก เลี้ยวขวาผานตลาดถึงตําบลปากน้ําผานปมน้ํามัน ปตท.
ประมาณ ๕๐๐ เมตร เลี้ยวขวาตามถนน รพช. อําเภอราชสาสน – บางคลา ถึงสามแยกหนาสถานที่
ตํารวจภูธร อําเภอราชสาสน เลี้ยวขวาประมาณ ๒๐ เมตร ถึงทางเขาที่วาการอําเภอ ดานซาย
๔. จากจังหวัดฉะเชิงเทรามาตามถนนสาย ๓๐๔ (ฉะเชิงเทรา – กบินทรบุรี) ถึงสี่แยก
บางคลา เลี้ยวซายผานอนุสาวรียพระเจาตาก เลี้ยวขวาผานตลาดถึงสํานักงานที่ดินอําเภอบางคลา
เลี้ยวขวามาตามถนนสายหลวงฤทธิประศาสน (สายบางคลา – พนมสารคาม) ถึงสามแยกเลี้ยวซาย
มาตามถนนพนมสารคาม – ราชสาสน ประมาณ ๗ กม. ถึงทางเขาที่วาการอําเภอราชสาสน
ดานขวา
๕. การเดินทางโดยรถยนตโดยสารประจําทาง จากสถานีขนสงจังหวัดฉะเชิงเทรา สาย
พนมสารคาม สุดทางที่ตลาดทาเกวียน หนาสํานักงานเทศบาลตําบลพนมสารคาม ตอรถยนตหรือ
รถสามลอจางเหมาจากตลาดทาเกวียน – ที่วาการอําเภอราชสาสน คาจางเหมารถยนต ๖๐ บาท
เนื่องจากไมมีรถยนตโดยสารประจําทาง
การแบงเขตการปกครอง
อําเภอราชสาสน แบงเขตการปกครองออกเปน ๓ ตําบล มีหมูบาน ๓๑ หมูบาน คือ
๑. ตําบลบางคา มี ๖ หมูบาน ไดแก
หมูที่ ๑ บานไผขวาง
หมูที่ ๒ บานราชสาสน
หมูที่ ๓ บานบางคา
หมูที่ ๔ บานเตาอิฐ
หมูที่ ๕ บานดอนทอง
หมูที่ ๖ บานจรเขตาย
๒. ตําบลเมืองใหม มี ๙ หมูบาน ไดแก
หมูที่ ๑ บานบางคา
หมูที่ ๒ บานไผกลึง
หมูที่ ๓ บานกกสับใน
หมูที่ ๔ บานกกสับนอก
หมูที่ ๕ บานทุงรวงทอง
หมูที่ ๖ บานหนองชางตาย
หมูที่ ๗ บานหนองแหน
หมูที่ ๘ บานบางพุทรา
หมูที่ ๙ บานไผสอ
๓. ตําบลดงนอย มี ๑๖ หมูบาน ไดแก
หมูที่ ๑ บานตลาดดงนอย
หมูที่ ๒ บานหนองจอก
หมูที่ ๓ บานหมูไผ
หมูที่ ๔ บานสวนเจริญ
หมูที่ ๕ บานหนาวัดใต
หมูที่ ๖ บานหนาวัดเหนือ
หมูที่ ๗ บานยางปุม
หมูที่ ๘ บานวังกระทุม
หมูที่ ๙ บานทาโพธิ์
หมูที่ ๑๐ บานน้ําฉา
หมูที่ ๑๑ บานสะแกงาม
หมูที่ ๑๒ บานทางขาม
หมูที่ ๑๓ บานกันเกรา
หมูที่ ๑๔ บานหินดาษ
หมูที่ ๑๕ บานไผงาม
หมูที่ ๑๖ บานหนองโบสถใหญ
สวนสภาตําบลบางคา สภาตําบลเมืองใหม และสภาตําบลดงนอย ยกฐานะเปนองคการ
บริหารสวนตําบล เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๐ ตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการ
บริหารสวนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗
วัดญาณรังษี (เตาอิฐ)
วัดเตาอิฐ เปนวัดที่สังกัดมหานิกาย อยูในเขตการปกครองของคณะสงฆ ตําบลบางคา
อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา ตั้งอยูที่หมูบานเตาอิฐ หมูที่ ๔ ตําบลบางคา อําเภอราชสาสน
จังหวัดฉะเชิงเทรา
วัดนี้เริ่มสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๕ ซึ่งมีขุนรักษาพลาพล (ยิ้ม) กํานันตําบลบางคา เปนผูมอบ
ที่ดินถวายเพื่อสรางวัด จํานวน ๑๔ ไร ๒ งาน ๘๔ ตารางวา และพระครูญาณรังษี มุนีวงศ (แทน)
เจาคณะจังหวัดฉะเชิงเทรา เปนผูดําเนินการสรางวัด ตั้งแต พ.ศ. ๒๔๑๕ เปนตนมาจนเสร็จสมบูรณ
ดังนั้นทางการจึงตั้งชื่อวัดตามสมญานามแหงสมณศักดิ์ของทานวา “วัดญาณรังษี” ซึ่งไดรับ
พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๙ แตชาวบานทั่วไปเรียกชื่อวัดตามชื่อหมูบานที่ตั้งวัดวา
“วัดเตาอิฐ”
สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้
๑. พระอธิการบุญ
๒. พระครูทิม
๓. พระวินัยธรจันทร
๔. พระปลัดยา
๕. พระมหาสาย
๖. พระปลัดเรือง
๗. พระอธิการมี
๘. พระอธิการค็อค
๙. พระอธิการเย็น
๑๐. พระปลัดชื้น
๑๑. พระครูวิสุทธิวีรธรรม พ.ศ. ๒๔๙๕ ถึง ปจจุบัน
รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด
๑. พระอุโบสถ สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๕ ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๙
เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก มีขนาดกวาง ๑๐ เมตร ยาว ๑๕ เมตร ครั้นป พ.ศ. ๒๔๗๓ ไดรับ
การปฏิสังขรณ โดยนางพุก พินิจคา
๒. ศาลาการเปรียญ เปนอาคารไมใตถุนสูง พื้นกระดาน หลังคามุงกระเบื้อง ขนาดกวาง
๑๔ เมตร ยาว ๓๐ เมตร สรางเมื่อปชวด พ.ศ. ๒๔๖๗
๓. หอสวดมนต เปนอาคารไม ขนาดกวาง ๑๕ เมตร ยาว ๓๐ เมตร นายเฉย นางพุก
พินิจคา สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๘ นางสาวบุญโถม พินิจคา (บุตร) ปฏิสังขรณ เมื่อวันที่ ๙
พฤศจิกายน ๒๕๐๒
๔. ศาลาทาน้ํา นายเฉย นางพุก พินิจคา สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๐ นางสาวบุญโถม
พินิจคา (บุตร) ปฏิสังขรณ เมื่อ ๒๕๑๖ 1
เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดญาณรังษี (เตาอิฐ)
๑. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา., กรุงเทพฯ. หนา ๕๑.
๒. หนังสือ “เจาอาวาสและวัดในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๔๗” พ.ศ. ๒๕๔๖สํานักพิมพประชามติ.
กรุงเทพฯ . หนา ๓๖๔.
๓. พระครุวิสุทธิวีรธรรม. จากการสัมภาษณ เมื่อ ๒๕ มกราคม ๒๕๔๘.
วัดจรเขตาย
วัดจรเขตาย เปนวัดที่สังกัดมหานิกาย อยูในเขตปกครองคณะสงฆ ตําบลบางคา อําเภอ
ราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา ภาค ๑๒ ตั้งอยูที่บานจรเขตาย หมูที่ ๖ ตําบลบางคา อําเภอราชสาสน
จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศเหนือของวัดจรดคลองจรเขตาย และทิศตะวันตกก็จรดคลองทาลาด
วัดนี้มีประวัติตามที่สอบถามจากผูรูและคนควาจากหลักฐานพอสรุปไดวา สรางขึ้นในป
ระกา พ.ศ. ๒๔๒๘ โดยมีนายเปยและนายจิ๋ว สามีภรรยาไดริเริ่มจัดตั้งเปนวัดขึ้นดวยทุนทรัพย
สวนตัว รวมกับราษฎรในละแวกทองถิ่นผูมีจิตศรัทธารวมกันบริจาคทรัพย จัดสรางเปนวัดขึ้น โดย
มีพระอาจารยกลองเปนเจาอาวาสองคแรก ดํารงอยูในตําแหนงจนกระทั่งป พ.ศ. ๒๔๓๕ พระปลัด
ทองจึงสืบตําแหนงเจาอาวาสตอ
ในชวงที่ปลัดทองเปนเจาอาวาสนี้ไดสรางเสนาสนะอันนําความเจริญมาสูวัดเปนอันมาก โดยสรางอุโบสถ
(ไมปรากฏหลักฐานปที่สรางและปที่แลวเสร็จ) แตพบหลักฐานบันทึกจากสมุดตําราวัดตาง ๆ ที่เจาอาวาสวัด
บางคา ซึ่งเปนฉบับคัดลอกของเกาที่บันทึกไวในป พ.ศ. ๒๔๗๖ ความวา พระอุโบสถวัดจรเขตายไดรับ
พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๘ ) สรางกุฎิ ศาลาการเปรียญ ศาลาทางน้ํา หอสวดมนตและ
เสนาสนะอื่น ๆ ในแตละปมีพระภิกษุสามเณรจําพรรษาอยูมาก ตอมาพระสมุหเปาเปนเจาอาวาสก็ไดจัดการ
ปฏิสังขรณ เปนลําดับมามิไดวางเวน
ครั้นถึงชวงพระครูไฝ บัณฑิโต เปนเจาอาวาส พระอุโบสถหลังเกาชํารุดทรุดโทรมจนไม
สามารถใชเปนที่ประกอบสังฆกรรมได จึงไดทุบทําลายลงและสรางใหม โดยไดรับพระราชทาน
วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๐๒ และผูกพัทธสีมาเมื่อ ๙–๑๓ สิงหาคม ๒๕๑๑ แลว
เสร็จในป พ.ศ. ๒๕๐๒
สรุปรวมรายนามเจาอาวาสวัดจรเขตาย มีดังนี้
๑. พระอาจารยกลอง พ.ศ. ๒๔๒๘ ถึง พ.ศ. ๒๔๓๔
๒. พระปลัดทอง พ.ศ. ๒๔๓๕ ถึง พ.ศ. ๒๔๕๐
๓. พระสมุหเปา พ.ศ. ๒๔๕๑ ถึง พ.ศ. ๒๔๙๐
๔. พระครูสารศาสนโสภณ (ไฝ บัณฑิโต)พ.ศ. ๒๔๙๑ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๑
๕. พระใบฎีกาบุญสง สีลภูริโต พ.ศ. ๒๕๔๒ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๔
๖. พระครูอดุลกิจจานุรักษ พ.ศ. ๒๕๔๔ ถึง ปจจุบัน
รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด
๑. พระอุโบสถ สรางเสร็จใน พ.ศ. ๒๕๐๒ ขนาดกวาง ๖ เมตร ยาว ๑๘ เมตร
ลักษณะกออิฐถือปูน เครื่องบนไมหลังคามุงกระเบื้อง พื้นปูนหินออน
๒. ศาลาการเปรียญ สรางเสร็จใน พ.ศ. ๒๕๑๓ ขนาดกวาง ๑๒ เมตร ยาว ๒๑ เมตร
ทรงไทย
๓. หอสวดมนต สรางเสร็จใน พ.ศ. ๒๔๙๖ ขนาดกวาง ๑๐ เมตร ยาว ๑๓ เมตร2
เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดจรเขตาย
๑. พระครูสารศาสนโสภณ (ไฝ บัณฑิโต) จากการสัมภาษณเมื่อวันที่ ๙ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๒๘
๒. สมุดตํานานวัดตาง ๆ ที่เขียนขึ้นในป พ.ศ. ๒๔๗๖ ซึ่งพระครูนพบุราจารย ไดคัดลอกจากของเกาลงในสมุด
ใหม
๓. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา., กรุงเทพฯ. หนา ๒๙.
วัดบางคา
วัดบางคา มีชื่อเรียกทางราชการวา “วัดราษฎรศรัทธาธรรม” สังกัดมหานิกาย อยูในเขต
ปกครองคณะสงฆ ตําบลเมืองใหม อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา ตั้งอยูที่หมูบานบางคา หมูที่
๑ ตําบลเมืองใหม อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา
วัดนี้มีประวัติความเปนมาเทาที่รวบรวมไดจากหลักฐานมีดังนี้ แตเดิมบริเวณที่ตั้งวัดเปน
ปาหญาคา ตอมาชาวบานไดชวยกันถากถางแลวสรางเปนวัดขึ้นในราวป พ.ศ. ๒๔๐๗ โดยตั้งชื่อวา
“วัดบางคา” ซึ่งปลัดออนตาไดบริจาคทรัพยสรางวัดเปนเงินงบประมาณ ๑,๖๐๐ บาท จึงสําเร็จและ
ไดผูกพัทธสีมาในราวป พ.ศ. ๒๔๑๗ มีพระอาจารยยอดเปนเจาอาวาสองคแรก ไดสรางพระอุโบสถ
กุฏิ หอสวดมนต ศาลาและอื่น ๆ นับวาวัดไดเจริญพัฒนาขึ้นโดยลําดับ ทานไดปฏิสังขรณมา
จนกระทั่งมรณะภาพ แตไมปรากฏหลักฐานวา พ.ศ. ไหน
ความเจริญไดมีขึ้นเมื่อคราวพระอาจารยผึ๊ง เปนเจาอาวาสอีกตอนหนึ่ง ปรากฏวามีภิกษุ
สามเณรจําพรรษาปละมาก ๆ และราษฎรไดชวยกันบํารุงเสนาสนะขึ้นตามสมควร ตอจากนี้ก็เสื่อม
ลงตามลําดับ เสนาสนะและพระอุโบสถชํารุดทรุดโทรม กระทั่งพระอาจารยเส็งเปนเจาอาวาส พระ
อุโบสถชํารุดมาก ขุนพิทักษรักษาพล ไดบริจาคทรัพยปฏิสังขรณสิ้นเงินประมาณ ๕,๐๐๐ บาทเศษ
ครั้นมาสมัยพระครูพุทธิสาร เปนเจาอาวาส ไดจัดการสรางกุฏิ ศาลาการเปรียญ หอสวด
มนต ศาลาทาน้ํา หอระฆัง เทคอนกรีตและขยายเขตวัดใหกวางไปกวาเดิม ใน พ.ศ. ๒๔๗๑ พระ
อุโบสถชํารุดมากทั้งใกลคลองดวย เกรงวาซอมแซมแลวจะไมถาวรไปนาน จึงจัดการขอพระบรมรา
ชานุญาตผูกพัทธสีมาใหม ตัวพระอุโบสถไดเทคอนกรีตทั้งหลัง สรางเลื่อนเขาไปขางในอีก
เปนอันวาเสนาสนะทั้งหมดตลอดจนพระอุโบสถในเวลานั้น คือ ป พ.ศ. ๒๔๗๗ ไมไดมีของเกา
เหลืออยูเลย และนับวาเปนความเจริญที่สุดของวัดเทาที่ผานมา
สวนการศึกษานั้นแตกอนพระภิกษุศึกษาตออุปชฌายจารย ศิษยวัดก็ศึกษากับภิกษุที่ฉลาด
ในอักขระสมัย เรียกวาเรียนหนังสือวัดเพราะโรงเรียนยังไมมี ตอเมื่อทานพระครูพุทธิสาร มาเปน
เจาอาวาสจึงจัดการใหมีโรงเรียนนักธรรมฝายภิกษุสามเณร สวนศิษยวัดก็จัดการใหมีโรงเรียน
ประชาบาล ประจําตําบลเมืองใหม ๑ ขึ้น วัดนี้เคยเปนวัดสําคัญมาตอนหนึ่ง เพราะทานพระครูพุทธิ
สาร ไดดํารงตําแหนงเปนเจาคณะแขวงอําเภอพนมสารคาม (รองลําดับจากทานพระครูทิม)
เมื่อพระครูพุทธิสาร ไดลาสิกขาบท ในป พ.ศ. ๒๔๗๘ ก็ไดรวมกับประชาชนไปอาราธนา
พระใบฎีกากริ่ม จากวัดดงตนตาล อําเภอพนมสารคาม มาเปนเจาอาวาสเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๘ ตอมา
ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์ เปนพระครูสัญญาบัตรที่ พระครูนพบุราจารย และไดดํารงตําแหนงเจา
คณะตําบลเมืองใหม เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๕ ตอมาไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงเปน เจาคณะอําเภอองค
แรกของอําเภอราชสาสน เมื่อ ป พ.ศ. ๒๕๓๘ จนเมื่อ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๓ พระครูนพบุราจารย
จึงไดมรณะภาพลง
สรุปรวมรายนามเจาอาวาสตามลําดับ ดังนี้
๑. พระอาจารยยอด
๒. พระอาจารยอิ่ม
๓. พระอาจารยผึ๊ง
๔. พระวินัยธรจันทร
๕. พระอาจารยเส็ง
๖. พระปน
๗. พระวาด
๘. ทานพระครูพุทธิสารฯ พ.ศ. ๒๔๕๓ ถึง พ.ศ. ๒๔๗๘
(ในสมัยนี้เจายุคลทร เคยเสด็จมาวัดนี้ เพื่อเยี่ยมพสกนิกรชาวเขมรในแถบนี้)
๙. พระครูนพบุราจารย พ.ศ. ๒๔๗๘ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๓
๑๐. พระปลัดมุสิกพงษ พ.ศ. ๒๕๔๓ ถึง ปจจุบัน
รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด
๑. พระอุโบสถ มีขนาดกวาง ๑๒ เมตร ยาว ๒๒ เมตร สรางเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๑
โครงสรางตอดวยคานคอนกรีตเสริมเหล็ก เครื่องบนไมสัก หลังคามุงกระเบื้องเคลือบแบบเกาจาก
ประเทศจีน สีเหลือง ขอบเขียว กําแพงผนังโบสถฉาบปูนขาว กําแพงแกวคอนกรีตเสริมเหล็ก พระ
อุโบสถนี้ผูกพัทธสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๗ ใชระยะเวลากอสราง ๖ ป
๒. ศาลาการเปรียญ มีขนาดกวาง ๑๖ เมตร ยาว ๒๑ เมตร สรางเมื่อ ๒๕๑๘ เปน
อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
๓. หอสวดมนต มีขนาดกวาง ๑๖ เมตร ยาว ๒๔ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๘ เปน
อาคารไมยกพื้นสูง หลังคามุงกระเบื้องลอน
๔. ศาลาอเนกประสงค ขนาดกวาง ๑๘ เมตร ยาว ๒๑ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๑
เปนอาคารไม
๕. มณฑป ที่ประดิษฐานรูปหลอเหมือนและบรรจุอัฐิ ของพระครูนพบุราจารย
3
เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดบางคา
๑. หนังสือ “วัดทั่วราชอาณาจักรตามระเบียบการปกครองคณะสงฆ พ.ศ. ๒๕๒๕“ เลม ๒ โรงพิมพการ
ศาสนา,
กรุงเทพฯ หนา ๒๕๗๓.
๒. สมุดตํานานวัดตาง ๆ ที่เขียนขึ้นในป พ.ศ. ๒๔๗๖ ซึ่งพระครูนพบุราจารย ไดคัดลอกจากของเกาลงใน
วัดไผขวาง
วัดไผขวาง เปนวัดสังกัดมหานิกาย อยูในเขตการปกครองของคณะสงฆตําบลเมืองใหม
อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา ภาค ๑๒ ตั้งอยูที่บานไผขวาง หมูที่ ๓ ตําบลเมืองใหม อําเภอ
ราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา
วัดนี้มีประวัติความเปนมาจากการสอบถามและคนควาหลักฐานพอลําดับไดวา วัดไผขวาง
(อุมพุทธาราม) สรางขึ้นในราวป พ.ศ. ๒๔๒๙ เหตุแหงการสรางวัดก็เนื่องมาจากพระกําพุชภักดี
(อุม) ผูเปนปลัดเมืองฉะเชิงเทรา ไดรับทองตราใหนําไพรพลไปขัดตราทัพทางดานเมืองเขมร
เรื่อยไปจนถึงเมืองนครจําปาเขตประเทศลาว ไปนานถึง ๗ ปโดยที่ไมมีขาวคราวความเปนอยูมายัง
บานเลย ทําใหนางเอมผูเปนภรรยาวิตกหวงใยจึงรวบรวมกําลังทรัพยทําการกอสรางวัด เพื่อหวังผล
ใหกุศลผลบุญคุมครองพระกําพุชภักดี และไพรพลทั้งหลายใหคลาดแคลวจากภยันตราย
โดยดําเนินการสรางกุฏิ หอสวดมนตและศาลาการเปรียญจนแลวเสร็จ สวนพระอุโบสถยัง
คางอยู ก็พอดีเหตุการณทางชายแดนคืนเขาสูสภาพปกติ พระกําพุชภักดีไดรับคําสั่งใหนํากองทัพ
เดินทางกลับ จึงไดรวมชวยกันกอสรางจนพระอุโบสถแลวเสร็จ และไดผูกพัทธสีมาในปเถาะ พ.ศ.
๒๔๓๔
ความเจริญของวัดไดมีขึ้น เมื่อครั้งพระปลัดทองเปนเจาอาวาส ทานไดจัดการสราง
เสนาสนะขึ้นตามสมควร ตลอดจนศาลาการเปรียญและศาลาทาน้ํา ครั้นตอมามีแตเสื่อมกับทรง
เทานั้น จนถึงชวงอธิการเตบมาปกครอง จึงไดจัดการซอมแซมบางสิ่งบางอยางตามสมควร กระทั่ง
ป พ.ศ. ๒๕๑๑ พลตํารวจโทชนะ วงษชะอุม ซึ่งมีศักดิ์เปนหลานของพระกําพุชภักดี รวมกับคุณสาย
สุวรรณ ภรรยา ไดชักชวนบรรดาญาติมิตรรวมกันทอดกฐินเพื่อนําเงินมาทําการกอสรางพระ
อุโบสถหลังใหม แทนหลังเกาที่ชํารุดทรุดโทรมจนไมสามารถใชเปนที่ประกอบสังฆกรรมได โดย
วางศิลาฤกษเมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๑๒ ครั้นในปถัดมาก็ดําเนินการทอดกฐินและผาปานําเงินมา
สรางพระอุโบสถจนแลวเสร็จ จากนั้นจึงไดสรางกําแพงแกว กุฎิ หอฉันท ฌาปนสถาน ศาลาตาง ๆ
และซอมแซมสิ่งที่ชํารุดกับสรางเสริมใหดีขึ้นกระทั่งปจจุบัน
สรุปรวมรายชื่อเจาอาวาสตามลําดับ มีดังนี้
รูปที่ ๑ พระอาจารยโสฬส
รูปที่ ๒ พระอาจารยทอง
รูปที่ ๓ พระอาจารยบุญโถม
รูปที่ ๔ พระอาจารยทองอิน
รูปที่ ๕ พระอาจารยเชื่อม
รูปที่ ๖ พระอาจารยแหยม
รูปที่ ๗ พระอาจารยปอก
รูปที่ ๘ พระอาจารยสัญญา
รูปที่ ๙ พระอาจารยสด
รูปที่ ๑๐ พระอาจารยกล่ํา
รูปที่ ๑๑ พระอาจารยเต็ม อยูจนถึงป พ.ศ. ๒๔๘๔ จึงลาสิกขาบท
รูปที่ ๑๒ พระครูปลั่ง ปญญาธโร พ.ศ. ๒๔๘๔ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๐
รูปที่ ๑๓ พระครูวิบูลโชติธรรม พ.ศ. ๒๕๒๐ ถึง ปจจุบัน
รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด
๑. พระอุโบสถ มีขนาดกวาง ๖ เมตร ยาว ๒๒.๕ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓ เปน
อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
๒. ศาลาการเปรียญ มีขนาดกวาง ๑๒ เมตร ยาว ๒๑ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๔
เปนอาคารไมยกพื้นสูง 4
เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดไผขวาง
๑. พระครูนพบุราจารย. (วัดบางคา) สมุดตํานานวัดตาง ๆ ซึ่งคัดลอกจากของเดิม
๒. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา., กรุงเทพฯ. หนา ๑๑๕–
๑๑๖.
๓. หนังสือ “เจาอาวาสและวัดในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๔๗” พ.ศ. ๒๕๔๖สํานักพิมพประชามติ.
กรุงเทพฯ . หนา ๓๖๕.
วัดแสนภุมราวาส
วัดแสนภุมราวาส (กกสับนอก) สังกัดมหานิกาย อยูในเขตปกครองคณะสงฆตําบลเมือง
ใหม อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา ภาค ๑๒ ตั้งอยูที่บานกกสับ หมูที่ ๔ ตําบลเมืองใหม
อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา อาณาเขต ทิศเหนือและทิศตะวันตกจรดคลองกกสับ ทิศใตจรด
หนองลาดควาย ทิศตะวันออกจรดคลองชลประทาน
วัดนี้มีประวัติศาสตรหลักฐานความวา สรางขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๐ โดยหลวงพอทอง
ภุมมปญโญ รวมกับประชาชนในทองถิ่น และนายแสน ใหมผึ้ง เปนผูบริจาคที่ดินใหจํานวน ๒๕
ไร ๓ งาน ๙๖ ตารางวา เมื่อสรางวัดเสร็จแลวจึงเริ่มสรางพระอุโบสถ ไดทําพิธีวิสุงคามสีมา เมื่อ
พ.ศ. ๒๔๘๒ ตอมาพระอุโบสถหลังนี้ไดชํารุดทรุดโทรมลง ไมสามารถจะบูรณะใหดีได จึงไดเริ่ม
รื้อถอนและสรางใหมขึ้นแทน เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๕ สรางเสร็จไดทําพิธีวิสุงคามสีมาใน พ.ศ. ๒๕๑๕
นั่นเอง
วัดนี้แตเดิม ชาวบานเรียกชื่อวา “วัดหนองคันบวย” เพราะที่ตั้งวัดอยูใกลกับหนองน้ําที่มี
ลักษณะคลายกระบวยตักน้ํา ครั้นภายหลังชาวบานไลตอนควายใชหนองน้ํานี้เปนที่อาบดื่มกิน จึง
เรียกชื่อหนองน้ํานี้ใหมวา “หนองไลควาย” พอนนานไปก็เพี้ยนเสียงเปน “หนองลาดควาย” มาจน
ทุกวันนี้
ตอมา มีศึกษาธิการอําเภอพนมสารคาม ชื่อ นายกระแสร สุชาติ ไดมาเยี่ยมโรงเรียน เมื่อ
ทราบประวัติผูบริจาคที่ใหและผูดําริสรางวัด จึงไดเปลี่ยนชื่อวัดเสียใหมวา วัดแสนภุมราวาส โดย
อาจใชนามผูบริจาคที่ดิน คือ นายแสน ใหมผึ้ง กับฉายาหลวงพอทอง คือ ภุมมปญโญ นั่นเอง
สรุปรวมรายชื่อเจาอาวาสตามลําดับ มีดังนี้
๑. หลวงพอทอง ภุมมปญโญ พ.ศ. ๒๔๖๕ ถึง พ.ศ. ๒๔๘๙
๒. พระคุณไฝ พ.ศ. ๒๔๘๙ ถึง -
๓. พระอธิการสุด
๔. พระอธิการฟอน
๕. พระอธิการคํา
๖. พระอธิการถัน
๗. พระอธิการบุญรอด
๘. พระอธิการสด สาธโร พ.ศ. ๒๕๐๐ ถึง ๒๕๓๔
๙. พระครูสุทธิยติคุณ พ.ศ. ๒๕๓๔ ถึง ปจจุบัน
รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด
๑. พระอุโบสถ สรางและเสร็จในป พ.ศ. ๒๕๑๕ มีลักษณะคอนกรีตเสริมเหล็กทั้งหลัง
ขนาดกวาง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร
๒. ศาลาการเปรียญ ขนาดกวาง ๑๑ เมตร ยาว ๓๙ เมตร สรางเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๙
มีลักษณะเปนเสาคอนกรีต พื้นไม หลังคาสังกะสี ฝาไม
๓. หอสวดมนต ขนาดกวาง ๒๐ เมตร ยาว ๒๔ เมตร สรางเสร็จเมื่อป พ.ศ. ๒๕๒๓
มีลักษณะเปนเสาคอนกรีต พื้นไม หลังคากระเบื้อง 5
เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดแสนภุมราวาส
๑. หนังสือ “วัดทั่วราชอาณาจักรตามระเบียบการปกครองคณะสงฆ พ.ศ. ๒๕๒๕“ เลม ๒ โรงพิมพการ
ศาสนา,
กรุงเทพฯ หนา ๒๕๗๓.
๒. พระอธิการสด สาธโร , แบบกรอกประวัติวัด เพื่อสงตอกรมศาสนา ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๒๗.
๓. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา., กรุงเทพฯ. หนา ๑๗๐.
๔. หนังสือ “เจาอาวาสและวัดในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๔๗” พ.ศ. ๒๕๔๖สํานักพิมพประชามติ.
กรุงเทพฯ . หนา ๓๗๒.
๕. นายวิวัฒน เวศสุวรรณ. จากการสัมภาษณที่มาแหงชื่อหนองน้ํา เมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๔๘.
วัดทุงรวงทอง (เมืองใหม )
วัดทุงรวงทอง มีชื่อเรียกทางราชการวา “วัดเมืองใหม” สังกัดมหานิกาย อยูในเขตปกครอง
คณะสงฆ ตําบลเมืองใหม อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา ตั้งอยูบานทุงรวงทอง หมูที่ ๕ ตําบล
เมืองใหม อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา
วัดนี้แตเดิมเปนที่นาราบลุมของนายสงี่ กันหา ตอมาไดบริจาคใหเปนที่ตั้งสํานักสงฆ โดย
มีนายบุญโถม แกนจันทร เปนผูดําเนินการในการจัดตั้งในป พ.ศ. ๒๕๑๙ และใชชื่อเรียกตาม
ความเห็นรวมกันของชาวบานวา “สํานักสงฆทุงรวงทอง”
วัดเมืองใหม ตั้งเมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๕ ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา
เมื่อ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๐ เขตวิสุงคามสีมากวาง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร
สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้
๑. พระสัมพันธ อนุตตโร
๒. พระสวย วิสุทธสีโล
๓. พระเล็ก มุนีวีโร
๔. พระบุญโถม จกกวีโร พ.ศ. ๒๕๓๘ ถึง ปจจุบัน
รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด
๑. พระอุโบสถ เริ่มสรางในป พ.ศ. ๒๕๓๕ และแลวเสร็จในป พ.ศ. ๒๕๔๗ มีขนาด
กวาง ๘ เมตร ยาว ๑๐ เมตร เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
๒. ศาลาการเปรียญ สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๙ มีขนาดกวาง ๑๕ เมตร ยาว ๓๐ เมตร
เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 6
เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดทุงรวงทอง (เมืองใหม)
๑. พระเล็ก มุนีวีโร, แบบกรอกประวัติวัดทุงรวงทอง เพื่อเสนอตอกรมศาสนา ๑ สิงหาคม ๒๕๒๗.
๒. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา., กรุงเทพฯ. หนา ๑๓๖.
วัดเกาะราษฎรศรัทธาราม (ปกปาก)
วัดปกปาก หรือที่ชาวบานเรียก “วัดโปกปาก” สังกัดมหานิกาย อยูในเขตปกครองคณะ
สงฆตําบลเมืองใหม อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา ภาค ๑๒ ตั้งอยูที่บานไผสอ หมูที่ ๙
ตําบลเมืองใหม อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา
วัดนี้มีประวัติวามเปนมาจากหลักฐานทางเอกสารบันทึกไววา ความเปนมาของชื่อที่
ชาวบานเรียกกันวา “วัดโปกปาก” เพราะวัดนี้ตั้งอยูตรงที่ปากคลองโปกปาก ตอมาคําเรียกเพี้ยนไป
มาเปน “ปกปาก” สวนชื่อวัดของทางราชการในปจจุบัน คือ วัดเกาะราษฎรศรัทธาราม อัน
เนื่องมาจากพื้นที่ดานทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศใต ติดกับคลองทาลาด ตอมาดานหลังวัดทิศ
ตะวันตก พื้นที่ถูกน้ํากัดเซาะกลายเปนลําคลองเชื่อมตอกัน ทําใหที่ตั้งวัดกลายเปนเกาะกลางน้ํา
ภายหลังจึงไดเปลี่ยนชื่อวัดเปน วัดเกาะราษฎรศรัทธาราม
ตํานานวัดกลาววา นายแดง นางอวน เปนผูมีจิตศรัทธาถวายที่ดินสรางวัดและมีพระ
อาจารยอิ่ม ขุนพิทักษอาณาเขตร กํานัน นายเพ็ดนางหลิ่ม นายวอน นายสอน รวมกันบริจาค
ทรัพยสินสวนตัวและเรี่ยรายชาวบานในทองถิ่นมาสรางวัดขึ้น โดยสรางพระอุโบสถในป พ.ศ.
๒๔๑๙ แลวเสร็จในปชวด พ.ศ. ๒๔๔๓ จึงไดทําการผูกพัทธสีมา โดยมีพระปลัดทอง พระ
อาจารยอิ่ม ขุนพิทักษอาณาเขตร นายเพ็ด นางหลิ่ม นายวอน นายสอน เปนผูจัดการโดยตลอด สิ้น
เงินเทาไรไมปรากฏ
วัดนี้นับตั้งแตกอสรางและผูกพัทธสีมาแลวมีแตทรงอยูระยะหนึ่ง แลวก็ทรุดลงมาเปน
ลําดับ จนถึงสมัยผูรั้งอธิการพรอมมาเปนเจาอาวาส เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๖ จึงไดจัดสรางกุฎิขึ้นใหม
ซอมแซมของเกาที่ชํารุดทรุดโทรมบาง และไดปฏิสังขรณศาลาการเปรียญที่ไดสรางคางอยูแตครั้ง
พระอาจารยลอยเปนเจาอาวาสจนสําเร็จจึงนับไดวาวัดนี้เจริญขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ในยุคของพระอธิการ
พรอมเปนเจาอาวาส และหลังจากนั้นเปนตนมาวัดก็ขาดผูนําที่เขมแข็ง จึงมีแตทรุดลงเปนลําดับ อีก
หลายปตอมาจนถึงสมัยพระอธิการฟอนมาเปนเจาอาวาส ทานก็ไดพยายามบูรณะปฏิสังขรณ
เสนาสนะภายในวัดขึ้นใหมทั้งหมด จนทําใหวัดมีกุฎิ หอสวดมนต ศาลาการเปรียญที่แข็งแรงถาวร
และสงางามเปนราศรีแกวัด
ตอมาเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓ ทานไดพิจารณาเห็นวาพระอุโบสถหลังเกาของวัดเวลานี้ชํารุด
ทรุดโทรมลงไปมากแลวไมปลอดภัยในการประกอบสังฆกรรมของพระภิกษุสงฆ จึงไดปรึกษากับ
คณะกรรมการวัด ซึ่งทุกคนก็เห็นดวยจึงไดจัดทําพิธีวางศิลาฤกษขึ้นเมื่อ เดือนมีนาคม ๒๕๑๓
โดยมี นางสาวผาด มังกร และนายหนู ตันยะบุตร เปนผูจัดทําผาปามาเปนทุนในการกอสราง
พระอุโบสถเปนครั้งแรก การกอสรางไดดําเนินมาเปนลําดับ แตพระอุโบสถยังไมทันสําเร็จ พระ
อธิการฟอนก็ไดมรณะภาพลงเสียกอน ทําใหการกอสรางชาลงและขาดผูนําที่เขมแข็ง กอปรกับวัสดุ
การกอสรางมีราคาแพงขึ้นกวาแตเดิมมากขึ้น จึงนับไดวาพระอธิการฟอน ไดเปนผูนําความเจริญมา
สูวัดอีกครั้งหนึ่ง
สรุปรวมรายนามเจาอาวาส เรียงตามลําดับ มีดังนี้
๑. พระอาจารยอิ่ม
๒. พระอาจารยชวน
๓. พระปลัดนาค
๔. พระอาจารยลอย
๕. พระอาจารยสอน
๖. พระอาจารยพรอม
๗. พระมหาบาง
๘. พระอาจารยฟด
๙. พระอาจารยอั๋น
๑๐. พระอธิการฟอน
๑๑. พระสมุหวินัย วินโย
๑๒. พระอธิการทองปาน
๑๓. พระครูปลัดอภิสิทธิ์
๑๔. พระสมชาย จิรธมโม
๑๕. พระแถว วิสุทธาจาโร
รายละเอียดภายในวัดที่นาสนใจ
พระอุโบสถหลังเกา สรางเสร็จเมื่อป พ.ศ. ๒๔๔๓ มีขนาดกวาง ๕.๓๕ เมตร ยาว
๑๑.๑๐ เมตร ลัษณะทรงไทยสมัยรัตนโกสินทรตอนตน หลังคามุงกระเบื้อง ผนังกอดวยอิฐถือปูน
ทั้งหลัง ปจจุบันชํารุดสิ้นสภาพ
พระอุโบสถหลังใหม สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓ เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดกวาง
๒๐.๗๐ เมตร ยาว ๓๕.๕๐ เมตร
หอสวดมนต สรางเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ มีขนาดกวาง ๙ เมตร ยาว ๒๙ เมตร สราง
ในลักษณะทรงไทยดวยไมทั้งหลัง หลังคามุงกระเบื้องลูกฟูก ใตถุนสูงโปรง ชั้นเดียว 7
ศาลาการเปรียญ ขนาดกวาง ๙ เมตร ยาว ๑๖ เมตร เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
เอกสารที่ใชประกอบในการเรียบเรียงประวัติวัด เกาะราษฎรศรัทธาราม
๑. พระสมุหวินัย วินโย. แบบกรอกประวัติวัดปกปาก เพื่อเสนอตอกรมศาสนา ๑ สิงหาคม ๒๕๒๗.
๒. พระสมุหวินัย วินโย. จากการสัมภาษณ เมื่อ ๙ กุมภาพันธ ๒๕๒๘
๓. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙”. พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา, กรุงเทพฯ. หนา ๑๓.
วัดเกาะแกวเวฬุวัน
วัดเกาะแกวเวฬุวัน เปนวัดที่สังกัดมหานิกาย อยูในเขตปกครองคณะสงฆ ตําบลดงนอย
อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา ภาค ๑๒ ตั้งอยูที่บานหนาวัด หมูที่ ๕ ตําบลดงนอย อําเภอ
ราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา
วัดนี้มีประวัติและรายละเอียดเทาที่สอบถามจากเจาอาวาสองคปจจุบัน คือ ทานพระครู
นิเทศสารกิจ และคนควาจากแบบกรอกประวัติวัดที่พระสมุหแกลว ปริปุณโณ (เลขาเจาคณะ
อําเภอ พนมสารคาม วัดทาเกวียน) จัดรวบรวมเพื่อสงตอกรมศาสนา ไดความวา เปนวัดที่ตั้งขึ้นใน
ราวป พ.ศ. ๒๓๓๐ และไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๐ ก.พ. ๒๓๕๐ โดยมีพระ
อธิการปราบเปนเจาอาวาสองคแรก
แตเดิมชาวบานตั้งชื่อวัดนี้วา “วัดตะวันออก” ทั้งนี้เนื่องจากตั้งอยูทางทิศตะวันออกของ
ตําบลดงนอย โดยมีสภาพพื้นที่เปนปาไผขึ้นเหมือนกับปาดงดิบ ครั้นในเวลาตอมาไดมีกษัตริยหรือ
ราชวงศเมืองเขมร ซึ่งไมสามารถบงชัดได ทรงพระนามวา “พระเจายุคนทร” ไดเสด็จประพาส
มาถึงที่นี่ (สาเหตุที่เจาหรือราชวงศเขมรถึงกับเสด็จมาที่ดงนอยนี้ อาจเปนเพราะแตเดิมแถบดงนอย
เปนที่จัดตั้งชุมชนชาวเขมรที่มีทั้งถูกกวาดตอนและอพยพมา การเสด็จมาเพื่อพบปะหรือเยี่ยมเยียน
พสกนิกร จึงมีทางเปนไปไดและไมนาแปลก…ผูเขียน) และไดพระราชทานชื่อวัดนี้ใหมวา “วัด
เกาะแกวเวฬุวัน” ตามสภาพพื้นที่ ๆ มีปาไผขึ้นอยูหนาแนน ชื่อนี้จึงถูกใชเรียกเรื่อยมาจนถึง
ปจจุบัน สวนประวัติรายละเอียดดานอื่น ๆ ไมปรากฏหลักฐานใหสืบทราบได
สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้
รูปที่ ๑. พระอธิการปราบ พ.ศ. ๒๓๓๐ ถึง พ.ศ. ๒๓๔๓
รูปที่ ๒. พระอธิการพรหม พ.ศ. ๒๓๔๓ ถึง พ.ศ. ๒๓๕๕
รูปที่ ๓. พระอธิการฉิม พ.ศ. ๒๓๕๕ ถึง พ.ศ. ๒๓๖๕
รูปที่ ๔. พระอธิการมอญ พ.ศ. ๒๓๖๕ ถึง พ.ศ. ๒๓๘๐
รูปที่ ๕. พระอธิการแสง พ.ศ. ๒๓๘๐ ถึง พ.ศ. ๒๓๙๖
รูปที่ ๖. พระอธิการจีน พ.ศ. ๒๓๙๖ ถึง พ.ศ. ๒๔๑๑
รูปที่ ๗. พระอธิการอุม พ.ศ. ๒๔๑๑ ถึง พ.ศ. ๒๔๒๔
รูปที่ ๘. พระอธิการผอง พ.ศ. ๒๔๒๔ ถึง พ.ศ. ๒๔๓๘
รูปที่ ๙. พระอธิการโฉม พ.ศ. ๒๔๓๘ ถึง พ.ศ. ๒๔๕๑
รูปที่ ๑๐. พระอธิการจอย อินทโส พ.ศ. ๒๔๕๑ ถึง พ.ศ. ๒๔๘๓
รูปที่ ๑๑. พระอธิการพวง ธัมมะจารี พ.ศ. ๒๔๘๓ ถึง พ.ศ. ๒๔๘๗
รูปที่ ๑๒. พระอธิการเข็ม ฐานิสสะโร พ.ศ. ๒๔๘๗ ถึง พ.ศ. ๒๔๙๔
รูปที่ ๑๓. พระครูประวัติ เขมังกโร พ.ศ. ๒๔๙๔ ถึง พ.ศ. ๒๕๑๗
รูปที่ ๑๔. พระครูนิเทศสารกิจ ขันติโก พ.ศ. ๒๕๑๗ ถึง ปจจุบัน
รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด
๑. พระอุโบสถหลังเกา สรางขึ้นในราวป พ.ศ. ๒๓๕๐ กวาง ๑๒ เมตร ยาว ๒๐ เมตร
ลักษณะกออิฐถือปูนหลังคามุงกระเบื้อง เครื่องบนเปนไมเนื้อแข็ง รูปทรงไทย ไดรับการ
ปฏิสังขรณหลายครั้ง ปจจุบันใชเปนกุฏิเจาอาวาส คือ พระครูนิเทศสารกิจ
๒. พระอุโบสถหลังใหม สรางในป พ.ศ. ๒๕๓๒ แลวเสร็จในป พ.ศ. ๒๕๔๐ สิ้นเงิน
ราว ๒๙ ลานบาทเศษ ภายในพระอุโบสถมีภาพจิตรกรรมฝาผนังทุกดาน เปนเรื่องพุทธประวัติ วาด
โดย คุณนิตยา ศักดิ์เจริญ และคณะ ใชเวลาวาด ๓ ป สิ้นคาใชจาย ๒,๖๕๐,๐๐๐ บาท สวนพระ
ประธานภายในหลอขึ้นใหมในป พ.ศ. ๒๕๓๘
๓. ศาลาการเปรียญ มีขนาดกวาง ๑๘ เมตร ยาว ๓๕ เมตร สรางเมื่อพ.ศ. ๒๕๑๙
มาแลวเสร็จในป พ.ศ. ๒๕๒๓ มีลักษณะโครงสรางเสาลางเปนปูนตอดวยไมเนื้อแข็ง พื้นและ
เครื่องบนลวนไมเนื้อแข็ง รูปทรงไทยหลังคามุงกระเบื้อง
๔. หอสวดมนต มีขนาดกวาง ๑๔ เมตร ยาว ๒๐ เมตร สรางเสร็จในป พ.ศ. ๒๔๙๗
มีลักษณะโครงสรางทั้งเสา พื้น และเครื่องบนลวนไมเนื้อแข็ง หลังคามุงกระเบื้องรูปทรงปนหยา
๕. หอระฆังและหอกลอง สรางเมื่อป ๒๕๓๗ และเสร็จในปลายเดียวกัน สิ้นเงิน
จํานวน ๕๔๐,๐๐๐ บาท ลักษณะเปนหอสูง ๒ ชั้น ชั้นบนเปนหอระฆัง ชั้นลางเปนหอกลอง 8
เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดเกาะแกวเวฬุวัน
๑. พระสมุหแกลว ปริปุณโณ, แบบกรอกประวัติวัดเกาะแกวเวฬุวัน. เพื่อเสนอตอกรมศาสนา ๒๖ กรกฎาคม
๒๕๒๗.
๒. พระครูนิเทศสารกิจ ขันติโก, จากการสัมภาษณ เมื่อ ๗ ตุลาคม ๒๕๒๘ และ ๗ ธันวาคม ๒๕๔๗.
๓. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา. กรุงเทพฯ. หนา ๘ และ ๙.
๔. หนังสือ “เจาอาวาสและวัดในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๔๗” พ.ศ. ๒๕๔๖สํานักพิมพประชามติ.
กรุงเทพฯ . หนา ๓๖๗.
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น

More Related Content

What's hot

ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศChainarong Maharak
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาPadvee Academy
 
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยการเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยKamonchanok VrTen Poppy
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียงjiko2505
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทVisanu Khumoun
 
ศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลพัน พัน
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาFURD_RSU
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านapiradee037
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1suttinee23
 
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมAor's Sometime
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1page
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1pageกิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1page
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานPrachyanun Nilsook
 

What's hot (20)

ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
 
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยการเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
 
ศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากล
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
 
Worldheritages asean
Worldheritages aseanWorldheritages asean
Worldheritages asean
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรม
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1page
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1pageกิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1page
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1page
 
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
 

Similar to แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น

องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...A'mp Minoz
 
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลาHeritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลาFURD_RSU
 
สไลด์ นักเรียนกับการท่องเที่ยว+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f20-4page
สไลด์ นักเรียนกับการท่องเที่ยว+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f20-4pageสไลด์ นักเรียนกับการท่องเที่ยว+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f20-4page
สไลด์ นักเรียนกับการท่องเที่ยว+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f20-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ นักเรียนกับการท่องเที่ยว+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f20-1page
สไลด์ นักเรียนกับการท่องเที่ยว+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f20-1pageสไลด์ นักเรียนกับการท่องเที่ยว+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f20-1page
สไลด์ นักเรียนกับการท่องเที่ยว+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f20-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-4page
สไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-4pageสไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-4page
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-1page
สไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-1pageสไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-1page
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-1page
สไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-1pageสไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-1page
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-4page
สไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-4pageสไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-4page
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
พระเวสสันดร
พระเวสสันดรพระเวสสันดร
พระเวสสันดรkhaek
 
พระเวสสันดร
พระเวสสันดรพระเวสสันดร
พระเวสสันดรkhaek
 
พระสามพี่น้อง
พระสามพี่น้องพระสามพี่น้อง
พระสามพี่น้องsupakitza
 
ผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นครผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นครIntrapan Suwan
 
Nakhon nayok thailand
Nakhon nayok thailandNakhon nayok thailand
Nakhon nayok thailandTon51238K
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกrever39
 
โครงานคอมSlide
โครงานคอมSlideโครงานคอมSlide
โครงานคอมSlidecom_2556
 
โครงานคอมSlide
โครงานคอมSlideโครงานคอมSlide
โครงานคอมSlidecom_2556
 
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดเที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดslide-001
 

Similar to แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น (20)

องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...
 
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลาHeritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
 
ราชบุรี
ราชบุรีราชบุรี
ราชบุรี
 
สไลด์ นักเรียนกับการท่องเที่ยว+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f20-4page
สไลด์ นักเรียนกับการท่องเที่ยว+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f20-4pageสไลด์ นักเรียนกับการท่องเที่ยว+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f20-4page
สไลด์ นักเรียนกับการท่องเที่ยว+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f20-4page
 
สไลด์ นักเรียนกับการท่องเที่ยว+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f20-1page
สไลด์ นักเรียนกับการท่องเที่ยว+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f20-1pageสไลด์ นักเรียนกับการท่องเที่ยว+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f20-1page
สไลด์ นักเรียนกับการท่องเที่ยว+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f20-1page
 
ราชบุรี
ราชบุรีราชบุรี
ราชบุรี
 
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-4page
สไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-4pageสไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-4page
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-4page
 
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-1page
สไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-1pageสไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-1page
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคกลาง ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f11-1page
 
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-1page
สไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-1pageสไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-1page
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-1page
 
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-4page
สไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-4pageสไลด์  ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-4page
สไลด์ ท่องเที่ยวทั่วไทย ภาคเหนือ ป.4+473+dltvsocp4+55t2soc p04 f12-4page
 
พระเวสสันดร
พระเวสสันดรพระเวสสันดร
พระเวสสันดร
 
พระเวสสันดร
พระเวสสันดรพระเวสสันดร
พระเวสสันดร
 
พระสามพี่น้อง
พระสามพี่น้องพระสามพี่น้อง
พระสามพี่น้อง
 
ผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นครผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
 
Nakhon nayok thailand
Nakhon nayok thailandNakhon nayok thailand
Nakhon nayok thailand
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
 
Boominone
BoominoneBoominone
Boominone
 
โครงานคอมSlide
โครงานคอมSlideโครงานคอมSlide
โครงานคอมSlide
 
โครงานคอมSlide
โครงานคอมSlideโครงานคอมSlide
โครงานคอมSlide
 
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดเที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
 

แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น

  • 1.
  • 2. ISBN เจาของ ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร ที่ปรึกษา - ผูชวยศาสตราจารยเอนก เทพสุภรณกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร - อาจารยอุทิน รวยอารี รองอธิการบดีกิจการนักศึกษา - ผูชวยศาสตราจารยชุมศรี นพวงศ ณ อยุธยา ผูทรงคุณวุฒิ คณะผูจัดทํา ผศ.ประเสริฐ ศีลรัตนา อาจารยจินดา เนื่องจํานงค อาจารยชูชาติ นาโพตอง อาจารยกิจจา สิงหยศ นางอรวรรณ แสงอรุณ น.ส.นวลลออ อนุสิทธิ์ นายศักดิ์ดา มลิกุล พิมพที่ : บริษัทเอ็มเอ็น คอมพิวออฟเซท จํากัด ๔๘๘-๔๙๐ สถานขนสงฉะเชิงเทรา อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒๔๐๐๐ โทร. / แฟกซ ๐-๓๘๕๑-๕๗๗๐ , ๐-๓๘๕๑-๕๕๓๐ พ.ศ. ๒๕๔๘
  • 3. คํานํา แนะนําจังหวัดฉะเชิงเทรา “ฉบับอําเภอราชสาสน” นี้เปนโครงการรวบรวมและเผยแพร คุณคาทางประวัติศาสตรศิลปะและวัฒนธรรมของอําเภอราชสาสน โดยมุงเนนไปที่วัด ทั้งนี้ เนื่องจากจัดเปนศูนยรวมทางจิตใจและวิถีชีวิตของชุมชนในทองถิ่น ซึ่งมีทั้งเรื่องราวทาง ประวัติศาสตร รูปแบบ โครงสรางทางสถาปตยกรรมที่มีลักษณะเฉพาะ จิตรกรรมหรือ ประติมากรรมที่บอกเลาเรื่องราวตาง ๆ ทางพุทธศาสนา ปจจุบันชุมชนไดรับวัฒนธรรมเมืองจากสวนกลาง ทําใหมีการรื้อถอน ปรับเปลี่ยนรูปแบบ โครงสรางทางสถาปตยกรรม จนทําใหคุณคาความเปนทองถิ่นและเอกลักษณของชุมชน ถูกทําลายไป ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น เล็งเห็นความสําคัญในการอนุรักษ โดยการเก็บรวบรวม ขอมูล เพื่อเผยแพรใหอนุชนและผูสนใจไดรับรู เขาใจและเห็นคุณคาของภาพในอดีต เรื่องราวที่ เปนประวัติศาสตร โดยเปรียบเทียบกับปจจุบัน และเพื่อสรางจิตสํานึกใหเกิดความรัก หวงแหน เรื่องราวและสถานที่ในทองถิ่นของตน เทาที่ศักยภาพแหงกาลเวลาและทุนทรัพยจะเอื้ออํานวย ประเสริฐ ศีลรัตนา จินดา เนื่องจํานงค
  • 4. สารบัญ หนา คํานํา ประวัติสภาพทองที่อําเภอราชสาสน ๑ ประวัติศาสตร ๑ คําขวัญของอําเภอ ๒ สภาพทางภูมิศาสตร ๒ การเดินทาง ๓ การแบงเขตการปกครอง ๕ - ตําบลบางคา ๕ แผนผังแสดงเขตที่ตั้งของหมูบาน ๖ ประวัติหมูบาน ๗ - ตําบลเมืองใหม ๙ แผนผังแสดงเขตที่ตั้งของหมูบาน ๑๐ ประวัติหมูบาน ๑๑ - ตําบลดงนอย ๑๓ แผนผังแสดงเขตที่ตั้งของหมูบาน ๑๔ ประวัติหมูบาน ๑๕ นิทานพื้นบาน (พระรถเมรี) ๑๙ สถานที่ที่นาสนใจ ๒๓ แผนที่แสดงเสนทางและที่ตั้งวัดตาง ๆ - แผนที่แสดงเสนทางและที่ตั้งวัด ในตําบลบางคา ๒๕ วัดญาณรังษี (เตาอิฐ) ๒๖ วัดจรเขตาย ๔๔ - แผนที่แสดงเสนทางและที่ตั้งวัด ในตําบลเมืองใหม ๕๖ วัดบางคา ๕๗ วัดไผขวาง ๗๖ วัดแสนภุมราวาส (กกสับนอก) ๙๔ วัดทุงรวงทอง (เมืองใหม) ๑๐๕ วัดเกาะราษฎรศรัทธาราม (ปกปาก) ๑๑๕
  • 5. สารบัญ (ตอ) หนา - แผนที่แสดงเสนทางและที่ตั้งวัด ในตําบลดงนอย ๑๓๓ วัดเกาะแกวเวฬุวัน ๑๓๔ วัดสะแกงาม ๑๕๐ วัดน้ําฉา (วัดราษฎรศรัทธาธรรม) ๑๖๗ วัดหินดาษ หรือวัดตะวันตก ๑๘๕ ภาพปกิณกะ ๒๐๕ บรรณานุกรม คุณูประกาศ
  • 6. ประวัติสภาพทองที่อําเภอราชสาสน ประวัติศาสตร อําเภอราชสาสน เดิมเปนทองที่อยูในเขตการปกครองของอําเภอพนมสารคาม จังหวัด ฉะเชิงเทรา ตอมากระทรวงมหาดไทยไดมีประกาศลงวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๑๙ กําหนดใหตําบล บางคา ตําบลดงนอย และตําบลเมืองใหม แยกการปกครองจากอําเภอพนมสารคาม และไดรับการ จัดตั้งเปนกิ่งอําเภอราชสาสน เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๒๐ โดยมีที่ตั้งที่วาการกิ่งอําเภอ ราชสาสนตั้งอยูในหมูที่ ๒ ตําบลบางคา ในที่ดินที่นายอั๋น มันทสูตร ยกใหแกทางราชการจํานวน ๒๕ ไร ๓ งาน ๕๐ ตารางวา ตอมาเมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๓๗ ไดรับการยกฐานะเปน อําเภอราชสาสน ตามประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๑ ตอนที่ ๒๑ ก หนา ๓๒–๓๓ วันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๓๗ เหตุที่ใชชื่ออําเภอนี้วา อําเภอราชสาสน เนื่องจากหมูที่ ๒ ตําบลบางคา ชาวบานเรียกกันวา บานราชสาสน ตามนิยายปรําปราเรื่อง พระรถ-เมรี ตอนพระรถนําราชสาสนของนางยักษแมเลี้ยง ไปใหนางเมรีลูกสาวนางยักษ เมื่อพระรถนําราชสาสนผานมาบริเวณหมูที่ ๒ ตําบลบางคา พระรถ พบพระฤาษีองคหนึ่งจําศีลภาวนาอยู จึงขอพักอาศัยเพราะเปนเวลาใกลค่ํา เมื่อพระรถหลับสนิท พระฤาษีเห็นกลองราชสาสนก็เอามาอานดู เห็นขอความโดยสรุปวา เมื่อพระรถถึงเชาใหกินเชา ถึง เย็นใหกินเย็น หมายถึง ใหพวกยักษกินพระรถ พระฤาษีเขาฌาณดูก็รูความเปนมา และเรื่องที่จะ เปนไป ประกอบกับรูสึกเมตตาสงสารพระรถ พระฤาษีจึงทําการเปลี่ยนขอความในราชสาสน ใหมวา เมื่อพระรถถึงเชาใหแตงเชา ถึงเย็นใหแตงเย็น หมายความวา เมื่อพระรถพบนางเมรีเมื่อใด ใหนางเมรีแตงงานกับพระรถทันที สถานที่ที่พระฤาษีแปลงสาสนใหกับพระรถนี้ จึงเรียกกันวา “บานราชสาสน” สืบมาจนถึงทุกวันนี้ และเห็นวาชื่อราชสาสนเปนมงคล เพราะเปนสถานที่ที่ เปลี่ยนสถานการณจากรายใหกลายเปนดี จึงใชคําวาราชสาสน เปนชื่ออําเภอราชสาสน เพื่อเปนสิริ มงคล มาจนกระทั่งเปนชื่ออําเภอในปจจุบัน นิทานพื้นบานพระรถเมรี พระรถสิทธิ์ เปนเจาครองนครที่ไมมีพระมเหสี ไดครองเมืองไพศาลีดวยความสงบสุข เรื่อยมา เมืองนั้นมีเศรษฐีร่ํารวยมากคนหนึ่งชื่อ พรหมจันทร มีภรรยาอยูกินกันมานานแตไมมีบุตร ธิดา จึงพากันไปหาพระฤาษีเพื่อขอบุตรธิดา พระฤาษีจึงใหเก็บกอนกรวดที่ปากบอน้ําหนาอาศรม และใหนึกถึงพระฤาษีทุกครั้งเมื่อภาวนา เศรษฐีเก็บกอนกรวดไปสิบสองกอน หลังจากนั้นภรรยาไดตั้งทองมีธิดาติดตอกันเรื่อยมา จนไดสิบสองคน เศรษฐีก็เลี้ยงลูกสาวดวยความเอ็นดู อยูตอมาเศรษฐีคาขายขาดทุนจนไมมีอาหาร เลี้ยงดูลูกสาวทั้งสิบสองคน ในที่สุดจึงตัดสินใจที่จะนําลูกสาวทั้งหมดไปปลอยปา ขณะที่ปรึกษา
  • 7. กันระหวางผัวเมีย นางเภาลูกสาวคนสุดทองแอบไดยิน จึงไปเก็บกอนกรวดไวเปนจํานวนมาก ครั้น เมื่อพอพาเขาปาไปตัดฟนนางเภาจะเดินรั้งทายและเอากอนกรวดทิ้งตามรายทางเพื่อเปนเครื่องหมาย เมื่อไปถึงปา พอใชใหลูก ๆ แยกยายกันไปตัดฟนหาผลไมในปากวาง สวนพอเห็นลูกจากไปในปา หมดแลวก็หลบหนีกลับบาน ครั้นตกเย็น ลูกสาวทั้งสิบสองคน ไดกลับมายังที่นัดพบรออยูนาน ไมเห็นพอตางรองไห คร่ําครวญ นางเภาจึงบอกพี่ ๆ วาตนจะพากลับบาน นางเภาก็พาพี่ ๆ เดินตามกอนกรวดที่นางโปรย เอาไวตอนเดินทางมา สวนพอแมซึ่งอดอยากกันมานาน ตั้งใจจะกินขาวกินปลาใหอิ่มหมีพลีมันเสีย ที ขณะที่จะลงมือกินขาวลูก ๆ ก็กลับมาถึงบาน เศรษฐีอนาถาไดหาวิธีนําลูกสาวทั้งสิบสองคนไปปลอยปาอีกครั้ง ครั้งสุดทายนางเภาไมมี โอกาสที่จะเก็บกอนกรวดเหมือนครั้งกอน เมื่อพอพาไปปาหาฟนหาผลไมก็จํายอมไปและไดเอา ขนมที่พอแมใหกินระหวางเดินทางโปรยตามทาง เพื่อเปนเครื่องหมายกลับบาน แตนกกาเห็นขนมก็ ตามจิกกินขนมจนหมดสิ้น ครั้นพอหนีกลับบาน นางทั้งสิบสองจึงไมสามารถจะเดินทางกลับบาน ได พากันรอนเร พเนจรไปเรื่อย ๆ หาทิศทางไมได ในที่สุดหลงเขาไปในเมืองยักษ โดยอาศัยอยูกับ นางสันทมาร (สนธมาร, สนทรา) ยักษแมหมายมีลูกสาวบุญธรรม ชื่อวา “เมรี” นางสิบสองไมทราบ วานางสันทมารเปนยักษจึงอาศัยอยูดวย นางสันทมารตองออกปาไปจับสัตวกินเปนอาหารเสมอ ๆ วันหนึ่งนางสิบสองซุกซนไปตรวจดูในสิ่งตาง ๆ ไดพบกระดูกคนและสัตวจํานวนมาก พวกนางจึงรูวานางสันทมารนั้นเปนยักษ พากันหนีดวยความกลัว นางสันทมารกลับมาทราบจากเม รีวานางสิบสองหนีไปก็โกรธ จึงออกติดตามหวังจะจับกินเปนอาหาร แตดวยบุญญาธิการของนาง สิบสองยังมีอยูบาง พวกสัตวปา เสือ ชาง ชวยกันกําบังนางสิบสองไมใหนางสันทมารเห็น ในที่สุดนางสิบสองก็เดินทางกลับมายังเมืองไพศาลี พระรถสิทธิ์เจาเมืองเสด็จมาพบเขา ทรงพอพระทัยมาก จึงรับนางสิบสองคนเปนพระมเหสี สวนนางสันทมาร ไดติดตามมาจนถึงเมือง ไพศาลี เมื่อทราบวานางสิบสองไดเปนพระมเหสีของพระรถสิทธิ์ก็ยิ่งเคียดแคน จึงแปลงกายเปน หญิงงาม ทําอุบายรองหมรองไห จนไดเฝาพระรถสิทธิ์ เลาวาตนชื่อ นางสมุดชา ถูกบิดาบังคับให แตงงานกับเศรษฐีนางจึงหนีมา พระรถสิทธิ์รับนางสมุดชาไวเปนพระชายา นางสมุดชามีความเคียด แคนนางสิบสองเปนทุนเดิมอยูแลว จึงทําเสนหมารยาใหพระรถสิทธิ์หลงใหลจนลืมมเหสีเกาทั้งสิบ สองคน วันหนึ่ง นางสมุดชาทําอุบาย โดยนางแกลงปวยแลวหมอหลวงเยียวยารักษาไมหาย นอกจากจะตองใชดวงตาของสาวที่เกิดจากพอแมเดียวกัน ๑๒ นาง เปนเครื่องยาจึงจะรักษาหาย ดวยเวทมนตของนางยักษพระรถสิทธิ์จึงสั่งควักลูกตานางสิบสองมาเปนเครื่องยา แตนางเภาถูกควัก ลูกตาเพียงขางเดียว เพราะเมื่อครั้งหนีนางยักษสันทมารนั้น ทั้งสิบสองนางจับปลากินประทังความ หิว พี่ ๆ จับปลาโดยรอยกับเชือกโดยแทงตาทะลุทั้งสองขาง สวนนางเภานั้นรอยปลาจากปากปลา ไปทะลุตาขางเดียว ฉะนั้นนางจึงถูกควักลูกตาขางเดียว เพราะผลกรรมครั้งนั้น
  • 8. ขณะนั้นมเหสีทั้งสิบสองไดตั้งครรภกับพระรถสิทธิ์ทุกคน นางสันทมารจึงใหทหารจับไป ขังไวในอุโมงคมืด ๆ มีอาหารกินบางอดบาง สวนพระรถสิทธิ์ไมทราบวามเหสีทั้งสิบสองคน ตั้งครรภ เพราะตกอยูในอํานาจเสนหมารยาของนางยักษ นางทั้งสิบสองคนตางหิวโซอยูในอุโมงค มืดนั้นจนคลอดบุตร เมื่อพี่สาวใหญคลอดบุตรออกมาตางก็ชวยกันฉีกเนื้อแบงกันกิน นางเภารับ สวนแบงเก็บไวได ๑๑ ชิ้น ครั้นตนคลอดบุตรออกมาบางก็นําเนื้อเด็กทั้ง ๑๑ ชิ้นสงใหพี่ ๆ ฉะนั้นลูก ของนางเภาจึงรอดชีวิต นางเภาก็เลี้ยงลูกมาในอุโมงคนั้นจนเจริญวัยวิ่งเลนได ตั้งชื่อวา “รถเสน” พระอินทรทราบเรื่องนางสิบสองถูกทรมานจึงมาชวย โดยแปลงกายเปนไกมาหากินอยู หนาอุโมงค พระรถเสนเลี้ยงไกพระอินทรและนําไกมาทาชนพนันกับชาวบานไดชัยชนะทุกครั้ง แลกเปนขาวอาหารมาเลี้ยงแมและปา ๆ จนมีชื่อเสียงเลื่องลือไปทั่ว ความทราบถึงพระกรรณพระรถ สิทธิ์ พระองคเรียกเขาเฝา ทําใหทราบวาเปนพระโอรส นางสมุดชาทราบเรื่องคิดกําจัดพระรถเสน ดวยการหาอุบายใหพระรถสิทธิ์สั่งพระรถเสนเดินทางไปยังเมืองยักษเพื่อนํา “มะงั่วรูหาว มะนาวรู โห” (บางสํานวนวา มะมวงไมรูหาว มะนาวไมรูโห) มาเปนเครื่องยารักษานางอีก นางสมุดชา เขียนสารใหพระรถเสนถือไปหานางเมรี โดยสั่งวา “ถึงกลางวันใหฆากลางวัน ถึงกลางคืนใหฆา กลางคืน” พระรถเสนก็ควบมาไปยังเมืองยักษตามคําสั่งพระบิดา มาของพระรถเสนนี้เปนมากายสิทธิ์ วิ่งราวกับลมพัดและพูดไดดวย ครั้นมาถึงอาศรมพระฤาษีก็ขอหยุดพักหลับนอน พระฤาษีผูมีญาณ พิเศษทราบเหตุการณ จึงแอบแกขอความในจดหมายที่เรียกวา “ฤาษีแปลงสาร” เสียใหมวา “ถึง กลางวันใหแตงกลางวัน ถึงกลางคืนใหแตงกลางคืน” เมื่อพระรถเสนไปถึงเมืองยักษพบนางเมรี ก็ นําสารนางสมุดชาใหเพื่อจะไดขอมะงั่วรูหาว มะนาวรูโห นางเมรีทราบเรื่องราวตามสารก็ทําตาม คําสั่งแมทุกประการ คืออภิเษกสมรสและยกเมืองใหพระรถเสนครอง พระรถเสนอยูในเมืองยักษดวยความสุข แตถึงกระนั้นพระองคก็ยังระลึกถึงมารดาและปา ของพระองค จึงคิดหาอุบายโดยการจัดเลี้ยงสุราอาหารนางเมรีจนเมามายและหลอกถามถึงหอ ดวงตาของนางสิบสอง อีกทั้งกลองบรรจุดวงใจของนางสันทมาร นางเมรีก็พูดดวยความมึนเมา บอกเรื่องราวและที่เก็บสิ่งของสําคัญตลอดจนยาวิเศษขนานตาง ๆ แกพระรถเสนจนหมดสิ้น พระ รถเสนจึงนํากลองดวงใจ หอดวงตาและยารักษา รวมทั้งยาวิเศษที่โปรยเปนภูเขา เปนไฟ เปน มหาสมุทร ติดตัวหนีออกจากเมืองไป ครั้นเมื่อนางเมรีหายจากความมึนเมา ไมเห็นพระรถเสน นางจึงรูวาพระรถเสนหนีไปแลว นางกับเสนายักษไดออกติดตามพระรถเสนดวยความรัก พระรถเสนควบมาหนีมาแตนางเมรีก็ตาม ทัน พระรถเสนโปรยยาวิเศษเปนภูเขา เปนไฟ นางเมรีก็ฝาฟนผานไปได ครั้นโปรยยาใหเปน มหาสมุทร นางเมรีสิ้นแรงฤทธิ์ไมสามารถจะขามมหาสมุทรได นางเฝารําพันออนวอนใหพระรถ เสนกลับเมืองไปอยูกับนาง แตมาไดทัดทานไว นางเมรีเศราโศกคร่ําครวญจนดวงใจแตกสิ้นใจตาย พระรถเสนกลาวขอโทษตอศพนางแลวใหเสนายักษนํากลับเมือง ในที่สุดพระรถเสนก็ตัดใจกลับ
  • 9. เมืองไปชวยมารดาและปา ๆ เมื่อกลับมาถึงเมืองไพศาลี พระรถเสนนําดวงตามารดาและปา ๆ พรอมกับยาไปรักษาจนสามารถมองเห็นไดทั้งสิบสองนาง พระรถเสนเขาเฝาพระราชบิดาพรอมกับ ทูลวานางสมุดชาเปนยักษิณี นางสมุดชารูเรื่องจึงแปลงกายเปนยักษหวังจะฆาพระรถเสนเสีย แต พระรถเสนตอสูกับนางสมุดชาเปนสามารถ และทําลายกลองดวงใจของนางสมุดชาจนนาสิ้นใจตาย พระรถสิทธิ์จึงงองอนมเหสีทั้งสิบสองนาง พรอมทั้งขอโทษที่พระองคลงทัณฑนางเพราะความมัว เมาในเสนหมารยาของนางยักษิณี ในที่สุดพระรถสิทธิ์ก็ครองเมืองกับมเหสีทั้งสิบสองอยางสันติสุข (อิงตะวัน แพลูกอินทร.โรงเรียนพนมสารคาม “พนมอดุลวิทยา”. จังหวัดฉะเชิงเทรา) สภาพทางภูมิศาสตร ที่วาการอําเภอราชสาสน ตั้งอยูทางทิศตะวันตกของอําเภอพนมสารคาม หางจากอําเภอ พนมสารคาม ๑๒ กิโลเมตร และหางจากศาลากลางจังหวัดฉะเชิงเทราไปทางทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือ ๔๕ กิโลเมตร เนื้อที่ ๑๓๔.๙ ตารางกิโลเมตร (๘๔,๓๑๒ ไร) มีเขต ติดตอดังนี้ ทิศเหนือ จรดเขตตําบลกระทุมแพว อําเภอบานสราง จังหวัดปราจีนบุรี ทิศใต จรดเขตตําบลทาทองหลาง อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศตะวันออก จรดเขตตําบลหนองยาว อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศตะวันตก จรดเขตตําบลบางกระเจ็ด อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่โดยทั่วไปมีลักษณเปนทุงนา มีที่ดอนสวนนอยในทองที่ตําบลดง นอย ปใดฝนตกชุก น้ําจะทวมพื้นที่สวนใหญทั้งหมด แตยังไมถึงขั้นอุทกภัย ถาปใดมีฝนตก พอประมาณ ปริมาณน้ําฝนจะชวยใหการทํานาไดฝนดีมากขึ้น พื้นที่มีระดับต่ําในฤดูแลง น้ําทะเล หรือน้ําเค็มขึ้นและเขาไปในพื้นที่เปนสวนมาก ระหวางเดือนเมษายน พฤษภาคม และมิถุนายน ที่ดินเปนดินเปรี้ยว ดินฟาอากาศมีสภาพเชนเดียวกับพื้นที่ในภาคกลางโดยทั่วไป โดยแบงออกเปน ๓ ฤดู คือ ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดูหนาว
  • 10. การเดินทาง การเดินทาง โดยทางรถยนตเขาอําเภอราชสาสน ไดดังนี้ ๑. จากจังหวัดฉะเชิงเทรามาตามถนนสาย ๓๐๔ (ฉะเชิงเทรา – กบินทรบุรี) ถึงสี่แยก พนมสารคาม เลี้ยวซายผานตลาดทาเกวียนมาตามถนนสายหลวงฤทธิประศาสน ประมาณ ๖ กม. เลี้ยวขวาตามทางหลวงจังหวัด หมายเลข ๓๒๔๕ (พนมสารคาม-ราชสาสน) ประมาณ ๗ กม. ถึง ทางเขาที่วาการอําเภอราชสาสน ดานขวา ๒. จากจังหวัดฉะเชิงเทรามาตามถนนสาย ๓๐๔ (ฉะเชิงเทรา - กบินทรบุรี) ผานสี่แยก พนมสารคาม ถึงศูนยการคาศิริพนม เลี้ยวซายมาตามทางหลวงจังหวัด หมายเลข ๓๔๔๔ (อําเภอ พนมสารคาม – อําเภอบานสราง) ถึงวัดเกาะแกวเวฬุวัน เลี้ยวซาย มาตามถนนสายราชสาสน – ดงนอย เลี้ยวซายประมาณ ๖ กม. ถึงทางเขาที่วาการอําเภอราชสาสน ดานซาย ๓. จากจังหวัดฉะเชิงเทรามาตามถนนสาย ๓๐๔ (ฉะเชิงเทรา – กบินทรบุรี) ถึงสี่แยก บางคลา เลี้ยวซายผานอนุสาวรียพระเจาตาก เลี้ยวขวาผานตลาดถึงตําบลปากน้ําผานปมน้ํามัน ปตท. ประมาณ ๕๐๐ เมตร เลี้ยวขวาตามถนน รพช. อําเภอราชสาสน – บางคลา ถึงสามแยกหนาสถานที่ ตํารวจภูธร อําเภอราชสาสน เลี้ยวขวาประมาณ ๒๐ เมตร ถึงทางเขาที่วาการอําเภอ ดานซาย ๔. จากจังหวัดฉะเชิงเทรามาตามถนนสาย ๓๐๔ (ฉะเชิงเทรา – กบินทรบุรี) ถึงสี่แยก บางคลา เลี้ยวซายผานอนุสาวรียพระเจาตาก เลี้ยวขวาผานตลาดถึงสํานักงานที่ดินอําเภอบางคลา เลี้ยวขวามาตามถนนสายหลวงฤทธิประศาสน (สายบางคลา – พนมสารคาม) ถึงสามแยกเลี้ยวซาย มาตามถนนพนมสารคาม – ราชสาสน ประมาณ ๗ กม. ถึงทางเขาที่วาการอําเภอราชสาสน ดานขวา ๕. การเดินทางโดยรถยนตโดยสารประจําทาง จากสถานีขนสงจังหวัดฉะเชิงเทรา สาย พนมสารคาม สุดทางที่ตลาดทาเกวียน หนาสํานักงานเทศบาลตําบลพนมสารคาม ตอรถยนตหรือ รถสามลอจางเหมาจากตลาดทาเกวียน – ที่วาการอําเภอราชสาสน คาจางเหมารถยนต ๖๐ บาท เนื่องจากไมมีรถยนตโดยสารประจําทาง
  • 11. การแบงเขตการปกครอง อําเภอราชสาสน แบงเขตการปกครองออกเปน ๓ ตําบล มีหมูบาน ๓๑ หมูบาน คือ ๑. ตําบลบางคา มี ๖ หมูบาน ไดแก หมูที่ ๑ บานไผขวาง หมูที่ ๒ บานราชสาสน หมูที่ ๓ บานบางคา หมูที่ ๔ บานเตาอิฐ หมูที่ ๕ บานดอนทอง หมูที่ ๖ บานจรเขตาย ๒. ตําบลเมืองใหม มี ๙ หมูบาน ไดแก หมูที่ ๑ บานบางคา หมูที่ ๒ บานไผกลึง หมูที่ ๓ บานกกสับใน หมูที่ ๔ บานกกสับนอก หมูที่ ๕ บานทุงรวงทอง หมูที่ ๖ บานหนองชางตาย หมูที่ ๗ บานหนองแหน หมูที่ ๘ บานบางพุทรา หมูที่ ๙ บานไผสอ ๓. ตําบลดงนอย มี ๑๖ หมูบาน ไดแก หมูที่ ๑ บานตลาดดงนอย หมูที่ ๒ บานหนองจอก หมูที่ ๓ บานหมูไผ หมูที่ ๔ บานสวนเจริญ หมูที่ ๕ บานหนาวัดใต หมูที่ ๖ บานหนาวัดเหนือ หมูที่ ๗ บานยางปุม หมูที่ ๘ บานวังกระทุม หมูที่ ๙ บานทาโพธิ์
  • 12. หมูที่ ๑๐ บานน้ําฉา หมูที่ ๑๑ บานสะแกงาม หมูที่ ๑๒ บานทางขาม หมูที่ ๑๓ บานกันเกรา หมูที่ ๑๔ บานหินดาษ หมูที่ ๑๕ บานไผงาม หมูที่ ๑๖ บานหนองโบสถใหญ สวนสภาตําบลบางคา สภาตําบลเมืองใหม และสภาตําบลดงนอย ยกฐานะเปนองคการ บริหารสวนตําบล เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๐ ตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการ บริหารสวนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗
  • 13. วัดญาณรังษี (เตาอิฐ) วัดเตาอิฐ เปนวัดที่สังกัดมหานิกาย อยูในเขตการปกครองของคณะสงฆ ตําบลบางคา อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา ตั้งอยูที่หมูบานเตาอิฐ หมูที่ ๔ ตําบลบางคา อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา วัดนี้เริ่มสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๕ ซึ่งมีขุนรักษาพลาพล (ยิ้ม) กํานันตําบลบางคา เปนผูมอบ ที่ดินถวายเพื่อสรางวัด จํานวน ๑๔ ไร ๒ งาน ๘๔ ตารางวา และพระครูญาณรังษี มุนีวงศ (แทน) เจาคณะจังหวัดฉะเชิงเทรา เปนผูดําเนินการสรางวัด ตั้งแต พ.ศ. ๒๔๑๕ เปนตนมาจนเสร็จสมบูรณ ดังนั้นทางการจึงตั้งชื่อวัดตามสมญานามแหงสมณศักดิ์ของทานวา “วัดญาณรังษี” ซึ่งไดรับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๙ แตชาวบานทั่วไปเรียกชื่อวัดตามชื่อหมูบานที่ตั้งวัดวา “วัดเตาอิฐ” สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้ ๑. พระอธิการบุญ ๒. พระครูทิม ๓. พระวินัยธรจันทร ๔. พระปลัดยา ๕. พระมหาสาย ๖. พระปลัดเรือง ๗. พระอธิการมี ๘. พระอธิการค็อค ๙. พระอธิการเย็น ๑๐. พระปลัดชื้น ๑๑. พระครูวิสุทธิวีรธรรม พ.ศ. ๒๔๙๕ ถึง ปจจุบัน รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด ๑. พระอุโบสถ สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๕ ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๙ เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก มีขนาดกวาง ๑๐ เมตร ยาว ๑๕ เมตร ครั้นป พ.ศ. ๒๔๗๓ ไดรับ การปฏิสังขรณ โดยนางพุก พินิจคา ๒. ศาลาการเปรียญ เปนอาคารไมใตถุนสูง พื้นกระดาน หลังคามุงกระเบื้อง ขนาดกวาง ๑๔ เมตร ยาว ๓๐ เมตร สรางเมื่อปชวด พ.ศ. ๒๔๖๗
  • 14. ๓. หอสวดมนต เปนอาคารไม ขนาดกวาง ๑๕ เมตร ยาว ๓๐ เมตร นายเฉย นางพุก พินิจคา สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๘ นางสาวบุญโถม พินิจคา (บุตร) ปฏิสังขรณ เมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๐๒ ๔. ศาลาทาน้ํา นายเฉย นางพุก พินิจคา สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๐ นางสาวบุญโถม พินิจคา (บุตร) ปฏิสังขรณ เมื่อ ๒๕๑๖ 1 เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดญาณรังษี (เตาอิฐ) ๑. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา., กรุงเทพฯ. หนา ๕๑. ๒. หนังสือ “เจาอาวาสและวัดในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๔๗” พ.ศ. ๒๕๔๖สํานักพิมพประชามติ. กรุงเทพฯ . หนา ๓๖๔. ๓. พระครุวิสุทธิวีรธรรม. จากการสัมภาษณ เมื่อ ๒๕ มกราคม ๒๕๔๘.
  • 15. วัดจรเขตาย วัดจรเขตาย เปนวัดที่สังกัดมหานิกาย อยูในเขตปกครองคณะสงฆ ตําบลบางคา อําเภอ ราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา ภาค ๑๒ ตั้งอยูที่บานจรเขตาย หมูที่ ๖ ตําบลบางคา อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศเหนือของวัดจรดคลองจรเขตาย และทิศตะวันตกก็จรดคลองทาลาด วัดนี้มีประวัติตามที่สอบถามจากผูรูและคนควาจากหลักฐานพอสรุปไดวา สรางขึ้นในป ระกา พ.ศ. ๒๔๒๘ โดยมีนายเปยและนายจิ๋ว สามีภรรยาไดริเริ่มจัดตั้งเปนวัดขึ้นดวยทุนทรัพย สวนตัว รวมกับราษฎรในละแวกทองถิ่นผูมีจิตศรัทธารวมกันบริจาคทรัพย จัดสรางเปนวัดขึ้น โดย มีพระอาจารยกลองเปนเจาอาวาสองคแรก ดํารงอยูในตําแหนงจนกระทั่งป พ.ศ. ๒๔๓๕ พระปลัด ทองจึงสืบตําแหนงเจาอาวาสตอ ในชวงที่ปลัดทองเปนเจาอาวาสนี้ไดสรางเสนาสนะอันนําความเจริญมาสูวัดเปนอันมาก โดยสรางอุโบสถ (ไมปรากฏหลักฐานปที่สรางและปที่แลวเสร็จ) แตพบหลักฐานบันทึกจากสมุดตําราวัดตาง ๆ ที่เจาอาวาสวัด บางคา ซึ่งเปนฉบับคัดลอกของเกาที่บันทึกไวในป พ.ศ. ๒๔๗๖ ความวา พระอุโบสถวัดจรเขตายไดรับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๘ ) สรางกุฎิ ศาลาการเปรียญ ศาลาทางน้ํา หอสวดมนตและ เสนาสนะอื่น ๆ ในแตละปมีพระภิกษุสามเณรจําพรรษาอยูมาก ตอมาพระสมุหเปาเปนเจาอาวาสก็ไดจัดการ ปฏิสังขรณ เปนลําดับมามิไดวางเวน ครั้นถึงชวงพระครูไฝ บัณฑิโต เปนเจาอาวาส พระอุโบสถหลังเกาชํารุดทรุดโทรมจนไม สามารถใชเปนที่ประกอบสังฆกรรมได จึงไดทุบทําลายลงและสรางใหม โดยไดรับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๐๒ และผูกพัทธสีมาเมื่อ ๙–๑๓ สิงหาคม ๒๕๑๑ แลว เสร็จในป พ.ศ. ๒๕๐๒ สรุปรวมรายนามเจาอาวาสวัดจรเขตาย มีดังนี้ ๑. พระอาจารยกลอง พ.ศ. ๒๔๒๘ ถึง พ.ศ. ๒๔๓๔ ๒. พระปลัดทอง พ.ศ. ๒๔๓๕ ถึง พ.ศ. ๒๔๕๐ ๓. พระสมุหเปา พ.ศ. ๒๔๕๑ ถึง พ.ศ. ๒๔๙๐ ๔. พระครูสารศาสนโสภณ (ไฝ บัณฑิโต)พ.ศ. ๒๔๙๑ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๑ ๕. พระใบฎีกาบุญสง สีลภูริโต พ.ศ. ๒๕๔๒ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๔ ๖. พระครูอดุลกิจจานุรักษ พ.ศ. ๒๕๔๔ ถึง ปจจุบัน
  • 16. รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด ๑. พระอุโบสถ สรางเสร็จใน พ.ศ. ๒๕๐๒ ขนาดกวาง ๖ เมตร ยาว ๑๘ เมตร ลักษณะกออิฐถือปูน เครื่องบนไมหลังคามุงกระเบื้อง พื้นปูนหินออน ๒. ศาลาการเปรียญ สรางเสร็จใน พ.ศ. ๒๕๑๓ ขนาดกวาง ๑๒ เมตร ยาว ๒๑ เมตร ทรงไทย ๓. หอสวดมนต สรางเสร็จใน พ.ศ. ๒๔๙๖ ขนาดกวาง ๑๐ เมตร ยาว ๑๓ เมตร2 เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดจรเขตาย ๑. พระครูสารศาสนโสภณ (ไฝ บัณฑิโต) จากการสัมภาษณเมื่อวันที่ ๙ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๒๘ ๒. สมุดตํานานวัดตาง ๆ ที่เขียนขึ้นในป พ.ศ. ๒๔๗๖ ซึ่งพระครูนพบุราจารย ไดคัดลอกจากของเกาลงในสมุด ใหม ๓. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา., กรุงเทพฯ. หนา ๒๙.
  • 17. วัดบางคา วัดบางคา มีชื่อเรียกทางราชการวา “วัดราษฎรศรัทธาธรรม” สังกัดมหานิกาย อยูในเขต ปกครองคณะสงฆ ตําบลเมืองใหม อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา ตั้งอยูที่หมูบานบางคา หมูที่ ๑ ตําบลเมืองใหม อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา วัดนี้มีประวัติความเปนมาเทาที่รวบรวมไดจากหลักฐานมีดังนี้ แตเดิมบริเวณที่ตั้งวัดเปน ปาหญาคา ตอมาชาวบานไดชวยกันถากถางแลวสรางเปนวัดขึ้นในราวป พ.ศ. ๒๔๐๗ โดยตั้งชื่อวา “วัดบางคา” ซึ่งปลัดออนตาไดบริจาคทรัพยสรางวัดเปนเงินงบประมาณ ๑,๖๐๐ บาท จึงสําเร็จและ ไดผูกพัทธสีมาในราวป พ.ศ. ๒๔๑๗ มีพระอาจารยยอดเปนเจาอาวาสองคแรก ไดสรางพระอุโบสถ กุฏิ หอสวดมนต ศาลาและอื่น ๆ นับวาวัดไดเจริญพัฒนาขึ้นโดยลําดับ ทานไดปฏิสังขรณมา จนกระทั่งมรณะภาพ แตไมปรากฏหลักฐานวา พ.ศ. ไหน ความเจริญไดมีขึ้นเมื่อคราวพระอาจารยผึ๊ง เปนเจาอาวาสอีกตอนหนึ่ง ปรากฏวามีภิกษุ สามเณรจําพรรษาปละมาก ๆ และราษฎรไดชวยกันบํารุงเสนาสนะขึ้นตามสมควร ตอจากนี้ก็เสื่อม ลงตามลําดับ เสนาสนะและพระอุโบสถชํารุดทรุดโทรม กระทั่งพระอาจารยเส็งเปนเจาอาวาส พระ อุโบสถชํารุดมาก ขุนพิทักษรักษาพล ไดบริจาคทรัพยปฏิสังขรณสิ้นเงินประมาณ ๕,๐๐๐ บาทเศษ ครั้นมาสมัยพระครูพุทธิสาร เปนเจาอาวาส ไดจัดการสรางกุฏิ ศาลาการเปรียญ หอสวด มนต ศาลาทาน้ํา หอระฆัง เทคอนกรีตและขยายเขตวัดใหกวางไปกวาเดิม ใน พ.ศ. ๒๔๗๑ พระ อุโบสถชํารุดมากทั้งใกลคลองดวย เกรงวาซอมแซมแลวจะไมถาวรไปนาน จึงจัดการขอพระบรมรา ชานุญาตผูกพัทธสีมาใหม ตัวพระอุโบสถไดเทคอนกรีตทั้งหลัง สรางเลื่อนเขาไปขางในอีก เปนอันวาเสนาสนะทั้งหมดตลอดจนพระอุโบสถในเวลานั้น คือ ป พ.ศ. ๒๔๗๗ ไมไดมีของเกา เหลืออยูเลย และนับวาเปนความเจริญที่สุดของวัดเทาที่ผานมา สวนการศึกษานั้นแตกอนพระภิกษุศึกษาตออุปชฌายจารย ศิษยวัดก็ศึกษากับภิกษุที่ฉลาด ในอักขระสมัย เรียกวาเรียนหนังสือวัดเพราะโรงเรียนยังไมมี ตอเมื่อทานพระครูพุทธิสาร มาเปน เจาอาวาสจึงจัดการใหมีโรงเรียนนักธรรมฝายภิกษุสามเณร สวนศิษยวัดก็จัดการใหมีโรงเรียน ประชาบาล ประจําตําบลเมืองใหม ๑ ขึ้น วัดนี้เคยเปนวัดสําคัญมาตอนหนึ่ง เพราะทานพระครูพุทธิ สาร ไดดํารงตําแหนงเปนเจาคณะแขวงอําเภอพนมสารคาม (รองลําดับจากทานพระครูทิม) เมื่อพระครูพุทธิสาร ไดลาสิกขาบท ในป พ.ศ. ๒๔๗๘ ก็ไดรวมกับประชาชนไปอาราธนา พระใบฎีกากริ่ม จากวัดดงตนตาล อําเภอพนมสารคาม มาเปนเจาอาวาสเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๘ ตอมา ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์ เปนพระครูสัญญาบัตรที่ พระครูนพบุราจารย และไดดํารงตําแหนงเจา คณะตําบลเมืองใหม เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๕ ตอมาไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงเปน เจาคณะอําเภอองค แรกของอําเภอราชสาสน เมื่อ ป พ.ศ. ๒๕๓๘ จนเมื่อ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๓ พระครูนพบุราจารย จึงไดมรณะภาพลง
  • 18. สรุปรวมรายนามเจาอาวาสตามลําดับ ดังนี้ ๑. พระอาจารยยอด ๒. พระอาจารยอิ่ม ๓. พระอาจารยผึ๊ง ๔. พระวินัยธรจันทร ๕. พระอาจารยเส็ง ๖. พระปน ๗. พระวาด ๘. ทานพระครูพุทธิสารฯ พ.ศ. ๒๔๕๓ ถึง พ.ศ. ๒๔๗๘ (ในสมัยนี้เจายุคลทร เคยเสด็จมาวัดนี้ เพื่อเยี่ยมพสกนิกรชาวเขมรในแถบนี้) ๙. พระครูนพบุราจารย พ.ศ. ๒๔๗๘ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๓ ๑๐. พระปลัดมุสิกพงษ พ.ศ. ๒๕๔๓ ถึง ปจจุบัน รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด ๑. พระอุโบสถ มีขนาดกวาง ๑๒ เมตร ยาว ๒๒ เมตร สรางเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๑ โครงสรางตอดวยคานคอนกรีตเสริมเหล็ก เครื่องบนไมสัก หลังคามุงกระเบื้องเคลือบแบบเกาจาก ประเทศจีน สีเหลือง ขอบเขียว กําแพงผนังโบสถฉาบปูนขาว กําแพงแกวคอนกรีตเสริมเหล็ก พระ อุโบสถนี้ผูกพัทธสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๗ ใชระยะเวลากอสราง ๖ ป ๒. ศาลาการเปรียญ มีขนาดกวาง ๑๖ เมตร ยาว ๒๑ เมตร สรางเมื่อ ๒๕๑๘ เปน อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๓. หอสวดมนต มีขนาดกวาง ๑๖ เมตร ยาว ๒๔ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๘ เปน อาคารไมยกพื้นสูง หลังคามุงกระเบื้องลอน ๔. ศาลาอเนกประสงค ขนาดกวาง ๑๘ เมตร ยาว ๒๑ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๑ เปนอาคารไม ๕. มณฑป ที่ประดิษฐานรูปหลอเหมือนและบรรจุอัฐิ ของพระครูนพบุราจารย 3 เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดบางคา ๑. หนังสือ “วัดทั่วราชอาณาจักรตามระเบียบการปกครองคณะสงฆ พ.ศ. ๒๕๒๕“ เลม ๒ โรงพิมพการ ศาสนา, กรุงเทพฯ หนา ๒๕๗๓. ๒. สมุดตํานานวัดตาง ๆ ที่เขียนขึ้นในป พ.ศ. ๒๔๗๖ ซึ่งพระครูนพบุราจารย ไดคัดลอกจากของเกาลงใน
  • 19. วัดไผขวาง วัดไผขวาง เปนวัดสังกัดมหานิกาย อยูในเขตการปกครองของคณะสงฆตําบลเมืองใหม อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา ภาค ๑๒ ตั้งอยูที่บานไผขวาง หมูที่ ๓ ตําบลเมืองใหม อําเภอ ราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา วัดนี้มีประวัติความเปนมาจากการสอบถามและคนควาหลักฐานพอลําดับไดวา วัดไผขวาง (อุมพุทธาราม) สรางขึ้นในราวป พ.ศ. ๒๔๒๙ เหตุแหงการสรางวัดก็เนื่องมาจากพระกําพุชภักดี (อุม) ผูเปนปลัดเมืองฉะเชิงเทรา ไดรับทองตราใหนําไพรพลไปขัดตราทัพทางดานเมืองเขมร เรื่อยไปจนถึงเมืองนครจําปาเขตประเทศลาว ไปนานถึง ๗ ปโดยที่ไมมีขาวคราวความเปนอยูมายัง บานเลย ทําใหนางเอมผูเปนภรรยาวิตกหวงใยจึงรวบรวมกําลังทรัพยทําการกอสรางวัด เพื่อหวังผล ใหกุศลผลบุญคุมครองพระกําพุชภักดี และไพรพลทั้งหลายใหคลาดแคลวจากภยันตราย โดยดําเนินการสรางกุฏิ หอสวดมนตและศาลาการเปรียญจนแลวเสร็จ สวนพระอุโบสถยัง คางอยู ก็พอดีเหตุการณทางชายแดนคืนเขาสูสภาพปกติ พระกําพุชภักดีไดรับคําสั่งใหนํากองทัพ เดินทางกลับ จึงไดรวมชวยกันกอสรางจนพระอุโบสถแลวเสร็จ และไดผูกพัทธสีมาในปเถาะ พ.ศ. ๒๔๓๔ ความเจริญของวัดไดมีขึ้น เมื่อครั้งพระปลัดทองเปนเจาอาวาส ทานไดจัดการสราง เสนาสนะขึ้นตามสมควร ตลอดจนศาลาการเปรียญและศาลาทาน้ํา ครั้นตอมามีแตเสื่อมกับทรง เทานั้น จนถึงชวงอธิการเตบมาปกครอง จึงไดจัดการซอมแซมบางสิ่งบางอยางตามสมควร กระทั่ง ป พ.ศ. ๒๕๑๑ พลตํารวจโทชนะ วงษชะอุม ซึ่งมีศักดิ์เปนหลานของพระกําพุชภักดี รวมกับคุณสาย สุวรรณ ภรรยา ไดชักชวนบรรดาญาติมิตรรวมกันทอดกฐินเพื่อนําเงินมาทําการกอสรางพระ อุโบสถหลังใหม แทนหลังเกาที่ชํารุดทรุดโทรมจนไมสามารถใชเปนที่ประกอบสังฆกรรมได โดย วางศิลาฤกษเมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๑๒ ครั้นในปถัดมาก็ดําเนินการทอดกฐินและผาปานําเงินมา สรางพระอุโบสถจนแลวเสร็จ จากนั้นจึงไดสรางกําแพงแกว กุฎิ หอฉันท ฌาปนสถาน ศาลาตาง ๆ และซอมแซมสิ่งที่ชํารุดกับสรางเสริมใหดีขึ้นกระทั่งปจจุบัน สรุปรวมรายชื่อเจาอาวาสตามลําดับ มีดังนี้ รูปที่ ๑ พระอาจารยโสฬส รูปที่ ๒ พระอาจารยทอง รูปที่ ๓ พระอาจารยบุญโถม รูปที่ ๔ พระอาจารยทองอิน รูปที่ ๕ พระอาจารยเชื่อม
  • 20. รูปที่ ๖ พระอาจารยแหยม รูปที่ ๗ พระอาจารยปอก รูปที่ ๘ พระอาจารยสัญญา รูปที่ ๙ พระอาจารยสด รูปที่ ๑๐ พระอาจารยกล่ํา รูปที่ ๑๑ พระอาจารยเต็ม อยูจนถึงป พ.ศ. ๒๔๘๔ จึงลาสิกขาบท รูปที่ ๑๒ พระครูปลั่ง ปญญาธโร พ.ศ. ๒๔๘๔ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๐ รูปที่ ๑๓ พระครูวิบูลโชติธรรม พ.ศ. ๒๕๒๐ ถึง ปจจุบัน รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด ๑. พระอุโบสถ มีขนาดกวาง ๖ เมตร ยาว ๒๒.๕ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓ เปน อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๒. ศาลาการเปรียญ มีขนาดกวาง ๑๒ เมตร ยาว ๒๑ เมตร สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๔ เปนอาคารไมยกพื้นสูง 4 เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดไผขวาง ๑. พระครูนพบุราจารย. (วัดบางคา) สมุดตํานานวัดตาง ๆ ซึ่งคัดลอกจากของเดิม ๒. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา., กรุงเทพฯ. หนา ๑๑๕– ๑๑๖. ๓. หนังสือ “เจาอาวาสและวัดในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๔๗” พ.ศ. ๒๕๔๖สํานักพิมพประชามติ. กรุงเทพฯ . หนา ๓๖๕.
  • 21. วัดแสนภุมราวาส วัดแสนภุมราวาส (กกสับนอก) สังกัดมหานิกาย อยูในเขตปกครองคณะสงฆตําบลเมือง ใหม อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา ภาค ๑๒ ตั้งอยูที่บานกกสับ หมูที่ ๔ ตําบลเมืองใหม อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา อาณาเขต ทิศเหนือและทิศตะวันตกจรดคลองกกสับ ทิศใตจรด หนองลาดควาย ทิศตะวันออกจรดคลองชลประทาน วัดนี้มีประวัติศาสตรหลักฐานความวา สรางขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๐ โดยหลวงพอทอง ภุมมปญโญ รวมกับประชาชนในทองถิ่น และนายแสน ใหมผึ้ง เปนผูบริจาคที่ดินใหจํานวน ๒๕ ไร ๓ งาน ๙๖ ตารางวา เมื่อสรางวัดเสร็จแลวจึงเริ่มสรางพระอุโบสถ ไดทําพิธีวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๒ ตอมาพระอุโบสถหลังนี้ไดชํารุดทรุดโทรมลง ไมสามารถจะบูรณะใหดีได จึงไดเริ่ม รื้อถอนและสรางใหมขึ้นแทน เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๕ สรางเสร็จไดทําพิธีวิสุงคามสีมาใน พ.ศ. ๒๕๑๕ นั่นเอง วัดนี้แตเดิม ชาวบานเรียกชื่อวา “วัดหนองคันบวย” เพราะที่ตั้งวัดอยูใกลกับหนองน้ําที่มี ลักษณะคลายกระบวยตักน้ํา ครั้นภายหลังชาวบานไลตอนควายใชหนองน้ํานี้เปนที่อาบดื่มกิน จึง เรียกชื่อหนองน้ํานี้ใหมวา “หนองไลควาย” พอนนานไปก็เพี้ยนเสียงเปน “หนองลาดควาย” มาจน ทุกวันนี้ ตอมา มีศึกษาธิการอําเภอพนมสารคาม ชื่อ นายกระแสร สุชาติ ไดมาเยี่ยมโรงเรียน เมื่อ ทราบประวัติผูบริจาคที่ใหและผูดําริสรางวัด จึงไดเปลี่ยนชื่อวัดเสียใหมวา วัดแสนภุมราวาส โดย อาจใชนามผูบริจาคที่ดิน คือ นายแสน ใหมผึ้ง กับฉายาหลวงพอทอง คือ ภุมมปญโญ นั่นเอง สรุปรวมรายชื่อเจาอาวาสตามลําดับ มีดังนี้ ๑. หลวงพอทอง ภุมมปญโญ พ.ศ. ๒๔๖๕ ถึง พ.ศ. ๒๔๘๙ ๒. พระคุณไฝ พ.ศ. ๒๔๘๙ ถึง - ๓. พระอธิการสุด ๔. พระอธิการฟอน ๕. พระอธิการคํา ๖. พระอธิการถัน ๗. พระอธิการบุญรอด ๘. พระอธิการสด สาธโร พ.ศ. ๒๕๐๐ ถึง ๒๕๓๔ ๙. พระครูสุทธิยติคุณ พ.ศ. ๒๕๓๔ ถึง ปจจุบัน
  • 22. รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด ๑. พระอุโบสถ สรางและเสร็จในป พ.ศ. ๒๕๑๕ มีลักษณะคอนกรีตเสริมเหล็กทั้งหลัง ขนาดกวาง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร ๒. ศาลาการเปรียญ ขนาดกวาง ๑๑ เมตร ยาว ๓๙ เมตร สรางเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๙ มีลักษณะเปนเสาคอนกรีต พื้นไม หลังคาสังกะสี ฝาไม ๓. หอสวดมนต ขนาดกวาง ๒๐ เมตร ยาว ๒๔ เมตร สรางเสร็จเมื่อป พ.ศ. ๒๕๒๓ มีลักษณะเปนเสาคอนกรีต พื้นไม หลังคากระเบื้อง 5 เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดแสนภุมราวาส ๑. หนังสือ “วัดทั่วราชอาณาจักรตามระเบียบการปกครองคณะสงฆ พ.ศ. ๒๕๒๕“ เลม ๒ โรงพิมพการ ศาสนา, กรุงเทพฯ หนา ๒๕๗๓. ๒. พระอธิการสด สาธโร , แบบกรอกประวัติวัด เพื่อสงตอกรมศาสนา ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๒๗. ๓. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา., กรุงเทพฯ. หนา ๑๗๐. ๔. หนังสือ “เจาอาวาสและวัดในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๔๗” พ.ศ. ๒๕๔๖สํานักพิมพประชามติ. กรุงเทพฯ . หนา ๓๗๒. ๕. นายวิวัฒน เวศสุวรรณ. จากการสัมภาษณที่มาแหงชื่อหนองน้ํา เมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๔๘.
  • 23. วัดทุงรวงทอง (เมืองใหม ) วัดทุงรวงทอง มีชื่อเรียกทางราชการวา “วัดเมืองใหม” สังกัดมหานิกาย อยูในเขตปกครอง คณะสงฆ ตําบลเมืองใหม อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา ตั้งอยูบานทุงรวงทอง หมูที่ ๕ ตําบล เมืองใหม อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา วัดนี้แตเดิมเปนที่นาราบลุมของนายสงี่ กันหา ตอมาไดบริจาคใหเปนที่ตั้งสํานักสงฆ โดย มีนายบุญโถม แกนจันทร เปนผูดําเนินการในการจัดตั้งในป พ.ศ. ๒๕๑๙ และใชชื่อเรียกตาม ความเห็นรวมกันของชาวบานวา “สํานักสงฆทุงรวงทอง” วัดเมืองใหม ตั้งเมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๕ ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๐ เขตวิสุงคามสีมากวาง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้ ๑. พระสัมพันธ อนุตตโร ๒. พระสวย วิสุทธสีโล ๓. พระเล็ก มุนีวีโร ๔. พระบุญโถม จกกวีโร พ.ศ. ๒๕๓๘ ถึง ปจจุบัน รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด ๑. พระอุโบสถ เริ่มสรางในป พ.ศ. ๒๕๓๕ และแลวเสร็จในป พ.ศ. ๒๕๔๗ มีขนาด กวาง ๘ เมตร ยาว ๑๐ เมตร เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๒. ศาลาการเปรียญ สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๙ มีขนาดกวาง ๑๕ เมตร ยาว ๓๐ เมตร เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 6 เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดทุงรวงทอง (เมืองใหม) ๑. พระเล็ก มุนีวีโร, แบบกรอกประวัติวัดทุงรวงทอง เพื่อเสนอตอกรมศาสนา ๑ สิงหาคม ๒๕๒๗. ๒. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา., กรุงเทพฯ. หนา ๑๓๖.
  • 24. วัดเกาะราษฎรศรัทธาราม (ปกปาก) วัดปกปาก หรือที่ชาวบานเรียก “วัดโปกปาก” สังกัดมหานิกาย อยูในเขตปกครองคณะ สงฆตําบลเมืองใหม อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา ภาค ๑๒ ตั้งอยูที่บานไผสอ หมูที่ ๙ ตําบลเมืองใหม อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา วัดนี้มีประวัติวามเปนมาจากหลักฐานทางเอกสารบันทึกไววา ความเปนมาของชื่อที่ ชาวบานเรียกกันวา “วัดโปกปาก” เพราะวัดนี้ตั้งอยูตรงที่ปากคลองโปกปาก ตอมาคําเรียกเพี้ยนไป มาเปน “ปกปาก” สวนชื่อวัดของทางราชการในปจจุบัน คือ วัดเกาะราษฎรศรัทธาราม อัน เนื่องมาจากพื้นที่ดานทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศใต ติดกับคลองทาลาด ตอมาดานหลังวัดทิศ ตะวันตก พื้นที่ถูกน้ํากัดเซาะกลายเปนลําคลองเชื่อมตอกัน ทําใหที่ตั้งวัดกลายเปนเกาะกลางน้ํา ภายหลังจึงไดเปลี่ยนชื่อวัดเปน วัดเกาะราษฎรศรัทธาราม ตํานานวัดกลาววา นายแดง นางอวน เปนผูมีจิตศรัทธาถวายที่ดินสรางวัดและมีพระ อาจารยอิ่ม ขุนพิทักษอาณาเขตร กํานัน นายเพ็ดนางหลิ่ม นายวอน นายสอน รวมกันบริจาค ทรัพยสินสวนตัวและเรี่ยรายชาวบานในทองถิ่นมาสรางวัดขึ้น โดยสรางพระอุโบสถในป พ.ศ. ๒๔๑๙ แลวเสร็จในปชวด พ.ศ. ๒๔๔๓ จึงไดทําการผูกพัทธสีมา โดยมีพระปลัดทอง พระ อาจารยอิ่ม ขุนพิทักษอาณาเขตร นายเพ็ด นางหลิ่ม นายวอน นายสอน เปนผูจัดการโดยตลอด สิ้น เงินเทาไรไมปรากฏ วัดนี้นับตั้งแตกอสรางและผูกพัทธสีมาแลวมีแตทรงอยูระยะหนึ่ง แลวก็ทรุดลงมาเปน ลําดับ จนถึงสมัยผูรั้งอธิการพรอมมาเปนเจาอาวาส เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๖ จึงไดจัดสรางกุฎิขึ้นใหม ซอมแซมของเกาที่ชํารุดทรุดโทรมบาง และไดปฏิสังขรณศาลาการเปรียญที่ไดสรางคางอยูแตครั้ง พระอาจารยลอยเปนเจาอาวาสจนสําเร็จจึงนับไดวาวัดนี้เจริญขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ในยุคของพระอธิการ พรอมเปนเจาอาวาส และหลังจากนั้นเปนตนมาวัดก็ขาดผูนําที่เขมแข็ง จึงมีแตทรุดลงเปนลําดับ อีก หลายปตอมาจนถึงสมัยพระอธิการฟอนมาเปนเจาอาวาส ทานก็ไดพยายามบูรณะปฏิสังขรณ เสนาสนะภายในวัดขึ้นใหมทั้งหมด จนทําใหวัดมีกุฎิ หอสวดมนต ศาลาการเปรียญที่แข็งแรงถาวร และสงางามเปนราศรีแกวัด ตอมาเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓ ทานไดพิจารณาเห็นวาพระอุโบสถหลังเกาของวัดเวลานี้ชํารุด ทรุดโทรมลงไปมากแลวไมปลอดภัยในการประกอบสังฆกรรมของพระภิกษุสงฆ จึงไดปรึกษากับ คณะกรรมการวัด ซึ่งทุกคนก็เห็นดวยจึงไดจัดทําพิธีวางศิลาฤกษขึ้นเมื่อ เดือนมีนาคม ๒๕๑๓ โดยมี นางสาวผาด มังกร และนายหนู ตันยะบุตร เปนผูจัดทําผาปามาเปนทุนในการกอสราง พระอุโบสถเปนครั้งแรก การกอสรางไดดําเนินมาเปนลําดับ แตพระอุโบสถยังไมทันสําเร็จ พระ อธิการฟอนก็ไดมรณะภาพลงเสียกอน ทําใหการกอสรางชาลงและขาดผูนําที่เขมแข็ง กอปรกับวัสดุ การกอสรางมีราคาแพงขึ้นกวาแตเดิมมากขึ้น จึงนับไดวาพระอธิการฟอน ไดเปนผูนําความเจริญมา สูวัดอีกครั้งหนึ่ง
  • 25. สรุปรวมรายนามเจาอาวาส เรียงตามลําดับ มีดังนี้ ๑. พระอาจารยอิ่ม ๒. พระอาจารยชวน ๓. พระปลัดนาค ๔. พระอาจารยลอย ๕. พระอาจารยสอน ๖. พระอาจารยพรอม ๗. พระมหาบาง ๘. พระอาจารยฟด ๙. พระอาจารยอั๋น ๑๐. พระอธิการฟอน ๑๑. พระสมุหวินัย วินโย ๑๒. พระอธิการทองปาน ๑๓. พระครูปลัดอภิสิทธิ์ ๑๔. พระสมชาย จิรธมโม ๑๕. พระแถว วิสุทธาจาโร รายละเอียดภายในวัดที่นาสนใจ พระอุโบสถหลังเกา สรางเสร็จเมื่อป พ.ศ. ๒๔๔๓ มีขนาดกวาง ๕.๓๕ เมตร ยาว ๑๑.๑๐ เมตร ลัษณะทรงไทยสมัยรัตนโกสินทรตอนตน หลังคามุงกระเบื้อง ผนังกอดวยอิฐถือปูน ทั้งหลัง ปจจุบันชํารุดสิ้นสภาพ พระอุโบสถหลังใหม สรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓ เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดกวาง ๒๐.๗๐ เมตร ยาว ๓๕.๕๐ เมตร หอสวดมนต สรางเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ มีขนาดกวาง ๙ เมตร ยาว ๒๙ เมตร สราง ในลักษณะทรงไทยดวยไมทั้งหลัง หลังคามุงกระเบื้องลูกฟูก ใตถุนสูงโปรง ชั้นเดียว 7 ศาลาการเปรียญ ขนาดกวาง ๙ เมตร ยาว ๑๖ เมตร เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก เอกสารที่ใชประกอบในการเรียบเรียงประวัติวัด เกาะราษฎรศรัทธาราม ๑. พระสมุหวินัย วินโย. แบบกรอกประวัติวัดปกปาก เพื่อเสนอตอกรมศาสนา ๑ สิงหาคม ๒๕๒๗. ๒. พระสมุหวินัย วินโย. จากการสัมภาษณ เมื่อ ๙ กุมภาพันธ ๒๕๒๘ ๓. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙”. พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา, กรุงเทพฯ. หนา ๑๓.
  • 26. วัดเกาะแกวเวฬุวัน วัดเกาะแกวเวฬุวัน เปนวัดที่สังกัดมหานิกาย อยูในเขตปกครองคณะสงฆ ตําบลดงนอย อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา ภาค ๑๒ ตั้งอยูที่บานหนาวัด หมูที่ ๕ ตําบลดงนอย อําเภอ ราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา วัดนี้มีประวัติและรายละเอียดเทาที่สอบถามจากเจาอาวาสองคปจจุบัน คือ ทานพระครู นิเทศสารกิจ และคนควาจากแบบกรอกประวัติวัดที่พระสมุหแกลว ปริปุณโณ (เลขาเจาคณะ อําเภอ พนมสารคาม วัดทาเกวียน) จัดรวบรวมเพื่อสงตอกรมศาสนา ไดความวา เปนวัดที่ตั้งขึ้นใน ราวป พ.ศ. ๒๓๓๐ และไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๐ ก.พ. ๒๓๕๐ โดยมีพระ อธิการปราบเปนเจาอาวาสองคแรก แตเดิมชาวบานตั้งชื่อวัดนี้วา “วัดตะวันออก” ทั้งนี้เนื่องจากตั้งอยูทางทิศตะวันออกของ ตําบลดงนอย โดยมีสภาพพื้นที่เปนปาไผขึ้นเหมือนกับปาดงดิบ ครั้นในเวลาตอมาไดมีกษัตริยหรือ ราชวงศเมืองเขมร ซึ่งไมสามารถบงชัดได ทรงพระนามวา “พระเจายุคนทร” ไดเสด็จประพาส มาถึงที่นี่ (สาเหตุที่เจาหรือราชวงศเขมรถึงกับเสด็จมาที่ดงนอยนี้ อาจเปนเพราะแตเดิมแถบดงนอย เปนที่จัดตั้งชุมชนชาวเขมรที่มีทั้งถูกกวาดตอนและอพยพมา การเสด็จมาเพื่อพบปะหรือเยี่ยมเยียน พสกนิกร จึงมีทางเปนไปไดและไมนาแปลก…ผูเขียน) และไดพระราชทานชื่อวัดนี้ใหมวา “วัด เกาะแกวเวฬุวัน” ตามสภาพพื้นที่ ๆ มีปาไผขึ้นอยูหนาแนน ชื่อนี้จึงถูกใชเรียกเรื่อยมาจนถึง ปจจุบัน สวนประวัติรายละเอียดดานอื่น ๆ ไมปรากฏหลักฐานใหสืบทราบได สรุปรายนามเจาอาวาสเรียงตามลําดับมีดังนี้ รูปที่ ๑. พระอธิการปราบ พ.ศ. ๒๓๓๐ ถึง พ.ศ. ๒๓๔๓ รูปที่ ๒. พระอธิการพรหม พ.ศ. ๒๓๔๓ ถึง พ.ศ. ๒๓๕๕ รูปที่ ๓. พระอธิการฉิม พ.ศ. ๒๓๕๕ ถึง พ.ศ. ๒๓๖๕ รูปที่ ๔. พระอธิการมอญ พ.ศ. ๒๓๖๕ ถึง พ.ศ. ๒๓๘๐ รูปที่ ๕. พระอธิการแสง พ.ศ. ๒๓๘๐ ถึง พ.ศ. ๒๓๙๖ รูปที่ ๖. พระอธิการจีน พ.ศ. ๒๓๙๖ ถึง พ.ศ. ๒๔๑๑ รูปที่ ๗. พระอธิการอุม พ.ศ. ๒๔๑๑ ถึง พ.ศ. ๒๔๒๔ รูปที่ ๘. พระอธิการผอง พ.ศ. ๒๔๒๔ ถึง พ.ศ. ๒๔๓๘ รูปที่ ๙. พระอธิการโฉม พ.ศ. ๒๔๓๘ ถึง พ.ศ. ๒๔๕๑ รูปที่ ๑๐. พระอธิการจอย อินทโส พ.ศ. ๒๔๕๑ ถึง พ.ศ. ๒๔๘๓ รูปที่ ๑๑. พระอธิการพวง ธัมมะจารี พ.ศ. ๒๔๘๓ ถึง พ.ศ. ๒๔๘๗
  • 27. รูปที่ ๑๒. พระอธิการเข็ม ฐานิสสะโร พ.ศ. ๒๔๘๗ ถึง พ.ศ. ๒๔๙๔ รูปที่ ๑๓. พระครูประวัติ เขมังกโร พ.ศ. ๒๔๙๔ ถึง พ.ศ. ๒๕๑๗ รูปที่ ๑๔. พระครูนิเทศสารกิจ ขันติโก พ.ศ. ๒๕๑๗ ถึง ปจจุบัน รายละเอียดที่นารูเกี่ยวกับเสนาสนะภายในวัด ๑. พระอุโบสถหลังเกา สรางขึ้นในราวป พ.ศ. ๒๓๕๐ กวาง ๑๒ เมตร ยาว ๒๐ เมตร ลักษณะกออิฐถือปูนหลังคามุงกระเบื้อง เครื่องบนเปนไมเนื้อแข็ง รูปทรงไทย ไดรับการ ปฏิสังขรณหลายครั้ง ปจจุบันใชเปนกุฏิเจาอาวาส คือ พระครูนิเทศสารกิจ ๒. พระอุโบสถหลังใหม สรางในป พ.ศ. ๒๕๓๒ แลวเสร็จในป พ.ศ. ๒๕๔๐ สิ้นเงิน ราว ๒๙ ลานบาทเศษ ภายในพระอุโบสถมีภาพจิตรกรรมฝาผนังทุกดาน เปนเรื่องพุทธประวัติ วาด โดย คุณนิตยา ศักดิ์เจริญ และคณะ ใชเวลาวาด ๓ ป สิ้นคาใชจาย ๒,๖๕๐,๐๐๐ บาท สวนพระ ประธานภายในหลอขึ้นใหมในป พ.ศ. ๒๕๓๘ ๓. ศาลาการเปรียญ มีขนาดกวาง ๑๘ เมตร ยาว ๓๕ เมตร สรางเมื่อพ.ศ. ๒๕๑๙ มาแลวเสร็จในป พ.ศ. ๒๕๒๓ มีลักษณะโครงสรางเสาลางเปนปูนตอดวยไมเนื้อแข็ง พื้นและ เครื่องบนลวนไมเนื้อแข็ง รูปทรงไทยหลังคามุงกระเบื้อง ๔. หอสวดมนต มีขนาดกวาง ๑๔ เมตร ยาว ๒๐ เมตร สรางเสร็จในป พ.ศ. ๒๔๙๗ มีลักษณะโครงสรางทั้งเสา พื้น และเครื่องบนลวนไมเนื้อแข็ง หลังคามุงกระเบื้องรูปทรงปนหยา ๕. หอระฆังและหอกลอง สรางเมื่อป ๒๕๓๗ และเสร็จในปลายเดียวกัน สิ้นเงิน จํานวน ๕๔๐,๐๐๐ บาท ลักษณะเปนหอสูง ๒ ชั้น ชั้นบนเปนหอระฆัง ชั้นลางเปนหอกลอง 8 เอกสารที่ใชในการประกอบการคนควาเรียบเรียงประวัติวัดเกาะแกวเวฬุวัน ๑. พระสมุหแกลว ปริปุณโณ, แบบกรอกประวัติวัดเกาะแกวเวฬุวัน. เพื่อเสนอตอกรมศาสนา ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๒๗. ๒. พระครูนิเทศสารกิจ ขันติโก, จากการสัมภาษณ เมื่อ ๗ ตุลาคม ๒๕๒๘ และ ๗ ธันวาคม ๒๕๔๗. ๓. หนังสือ “ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑๙” พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงพิมพการศาสนา. กรุงเทพฯ. หนา ๘ และ ๙. ๔. หนังสือ “เจาอาวาสและวัดในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๔๗” พ.ศ. ๒๕๔๖สํานักพิมพประชามติ. กรุงเทพฯ . หนา ๓๖๗.