SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
เศรษฐศาสตร ์มหภาค
MACROECONOMICS
บทที่ 4
อรคพัฒร ์ บัวลม
การกําหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
และตัวทวีคูณ
การกําหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
1.ความหมายรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
2.รายได้ประชาชาติดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบปิด ไม่มีภาครัฐบาล
3.รายได้ประชาชาติดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบปิด มีภาครัฐบาล
4.รายได้ประชาชาติดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบเปิด
ตัวทวีคูณและการเปลี่ยนแปลง
รายได้ประชาชาติ
1.ความหมายของตัวทวีคูณ
2.ตัวทวีคูณของระบบเศรษฐกิจแบบปิด ไม่มีภาครัฐบาล
3.ตัวทวีคูณของระบบเศรษฐกิจแบบปิด มีภาครัฐบาล
4.ตัวทวีคูณของระบบเศรษฐกิจแบบเปิด
การกําหนด
รายได้ประชาชาติ
ดุลยภาพ
1.ความหมายรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
2.รายได้ประชาชาติดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบปิด ไม่มีภาครัฐบาล
3.รายได้ประชาชาติดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบปิด มีภาครัฐบาล
4.รายได้ประชาชาติดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบเปิด
1.ความหมายรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
เมื่อได้องค์ประกอบรายได้ประชาขาติ คือ การบริโภค การลงทุน
ค่าใช ้จ่ายรัฐบาล และการส่งออกสุทธิ จะนําส่วนต่างมารวมกัน ผลรวมนั้นจะ
เรียกว่าความต้องการใช ้จ่ายที่ทุกหน่วยในระบบเศรษฐกิจปรารถนา หรือ ความ
ต้องการใช้จ่ายมวลรวม (AE)
รายได้ดุลยภาพ คือ ระดับรายได้ที่อยู่ระดับเดียวกับค่าใช ้จ่ายมวลรวม
การวิเคราะห์รายได้ดุลยภาพแบ่งได้ 2 แนวทาง
• แนวทาง  อุปสงค์มวลรวม (หรือค่าใช ้จ่ายมวลรวม) = อุปทานมวลรวม
• แนวทาง  ส่วนรั่วไหล = ส่วนอัดฉีด
การวิเคราะห์รายได้ประชาชาติดุลยภาพ
แนวทาง อุปสงค์มวลรวม(ค่าใช้จ่ายมวลรวม) เท่ากับ อุปทานมวลรวม
ค่าใช้จ่ายมวลรวม (Aggregate Expenditure) คือ ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมของ
ระบบเศรษฐกิจในรอบ 1 ปี
AD (หรือAE) = C + I + G + (X-M)
อุปทานมวลรวม (Aggregate Supply) คือ ปริมาณผลผลิตรวมของประเทศถ้ามีปริมาณ
มาก มีผลทําให้ รายได้ประชาชาติมาก ดังนั้น เส้นอุปทานมวลรวม จึงเท่ากับเส้นรายได้
ประชาชาติ
ข้อสมมุติฐาน GDP at mkp = NI ดังนั่น NI =Y
Y = AS
การวิเคราะห์รายได้ประชาชาติดุลยภาพ
แนวทาง อุปสงค์มวลรวม(ค่าใช้จ่ายมวลรวม) เท่ากับ อุปทานมวลรวม
อุปสงค์มวลรวม หรือ ค่าใช้จ่ายมวลรวม (AD หรือ AE) ประกอบด้วย  C+I+G+(X-M)
อุปทานมวลรวม (AS) คือ ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ  Y
รายได้ประชาชาติจะอยู่ในภาวะดุลยภาพเมื่อ
Y = C+I+G+(X-M)
AS = AD
*ฟังก์ชั่นที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการใช้จ่ายมวลรวมและรายได้
ประชาชาติ บอกให้เรารู้ว่า ครัวเรือน ธุรกิจ รัฐบาล และต่างชาติ ต้องการใช้จ่ายเงินเพื่อซื้อ
สินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตขึ้นได้ภายในประเทศเท่าใด ณ ระดับรายได้ต่างๆ
การวิเคราะห์รายได้ประชาชาติดุลยภาพ
แนวทาง อุปสงค์มวลรวม(ค่าใช้จ่ายมวลรวม)เท่ากับอุปทานมวลรวม ด้วยกราฟ
0 Y
AD
AD = C+I+G+(X-M)
E
Ye Y2
ADe
AD>(Y,AS)
Y1
45º
Y,AS
AD(Y,AS)
การเปลี่ยนแปลงเส้น AE (ค่าใช ้จ่ายมวลรวม)
 AE โดย Yd ทําให้เส้น AE เปลี่ยนแบบ Move Along the curve
0 รายได้ประชาชาติ
ค่าใช้จ่ายมวลรวม (AE)
AE
E๐
1,750 3,000
3,000
2,000
350
45º
รายได้และค่าใช้จ่าย
การเปลี่ยนแปลงเส้น AE (ค่าใช ้จ่ายมวลรวม)
 AE โดย ปัจจัยอื่นที่มีผลต่อการบริโภคเปลี่ยนแปลง ทําให้เส้น AE เปลี่ยนแบบ Shift
0 รายได้ประชาชาติ
ค่าใช้จ่ายมวลรวม (AE)
AE
E๐
1,750
3,000
2,000
350
45º
รายได้และค่าใช้จ่าย
AE
AE
4,000
การวิเคราะห์รายได้ประชาชาติดุลยภาพ
แนวทาง ส่วนรั่วไหล เท่ากับ ส่วนอัดฉีด
• ส่วนรั่วไหล คือ ส่วนที่ทําให้รายได้ประชาชาติลดลง เมื่อตัวแปร S,T,M เพิ่มขึ้น
• ส่วนอัดฉีด คือ ส่วนที่ทําให้รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น เมื่อตัวแปร I,G,X เพิ่มขึ้น
รายได้ประชาชาติในภาวะดุลยภาพเมื่อ
S+T+M = I+G+X
*โดยสมมุติให้ I = Ia
การวิเคราะห์รายได้ประชาชาติดุลยภาพ
แนวทาง ส่วนรั่วไหล เท่ากับ ส่วนอัดฉีด ด้วยกราฟ
0 Y
(S+T+M),(I+G+X) S+T+M
E
Ye Y2
-Ca+Ma
Y1
I+G+X
ในระบบเศรษฐกิจแบบปิ ด ไม่มีรัฐบาล
Y= AE หรือ S = I
โดยที่ AE = C + I
ในระบบเศรษฐกิจแบบปิ ด มีรัฐบาล
Y= AE หรือ S+T = I+G
โดยที่ AE = C + I + G
ในระบบเศรษฐกิจแบบเปิ ด และมีรัฐบาล
Y=AE หรือ S+T+M = T+G+X
โดยที่ AE = C + I + G + ( X – M)
การกําหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพในระบบเศรษฐกิจ
2.รายได้ประชาชาติดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบปิด
ไม่มีภาครัฐบาล
แนวทาง อุปสงค์มวลรวม(ค่าใช้จ่ายมวลรวม)
เท่ากับอุปทานมวลรวม
แบบ Y = AE
โดยที่ AE = C + I
 รายจ่ายเพื่อการบริโภค
การลงทุนแบบอิสระ และจูงใจ
d
a bY
C
C +
=
iY
I
I a +
=
แนวทาง ส่วนรั่วไหล เท่ากับ ส่วนอัดฉีด
แบบ S = I
โดยที่
 การออม
 การลงทุนแบบอิสระ และจูงใจ
d
a Y
b
C
S )
1
( −
+
−
=
iY
I
I a +
=
ดุลยภาพที่ Y = AE
◦ เส้น AE แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการที่จะใช ้จ่าย(AE) กับ รายได้ประชาชาติ (Y)
◦ เส้น AE มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน กับรายได้ประชาชาติ
• เส้น 45º แสดงเงื่อนไขดุลยภาพว่าทุกๆ จุดที่อยู่บนเส้นนี้ AE = Y
• จุด E คือจุดที่เส้น AE ตัดกับเส้น 45º แสดงว่าที่จุด E นี้ AE = Y
• จุด E คือจุดดุลยภาพ ซึ่งหมายความว่าผลผลิตที่ผลิตได้เพียงพอกับความ
ต้องการ รายได้ระดับนี้เรียกว่ารายได้ดุลยภาพ (Y)
การกําหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ Y = AE
ให้ C = 100 + 0.80Y เมื่อ ( Y = Yd) และ Ia = 250 ล้านบาท
AE = C + I
AE = 100 + 0.80 Y + 250
= 350 + 0.80 Y
0 Y
(รายได้ที่แท้จริง)
(ค่าใช้จ่ายมวลรวมที่ปรารถนา)
AE
AE =350+0.80Y+250
100
3,000
45º line = Y
350
3,000
1,750
1,750
E
ฟังก์ชั่นค่าใช้จ่ายรวมในระบบเศรษฐกิจปิ ดไม่มีรัฐบาล
รายได้ประชาชาติ
(Y)
ค่าใช้จ่ายในการบริโภคที่ต้องการ
C = 100 + 0.8 Y
ค่าใช้จ่ายในการลงทุนที่ต้องการ
Ia = 250
ค่าใช้จ่ายรวมที่ต้องการ
AE = C + I
ผลกระทบ
0 100 250 350 ขยายตัว
100 180 250 430 ขยายตัว
400 420 250 670 ขยายตัว
500 500 250 750 ขยายตัว
1,000 900 250 1,150 ขยายตัว
1,500 1,300 250 1,550 ขยายตัว
1,750 1,500 250 1,750 ดุลยภาพ
2,000 1,700 250 1,950 หดตัว
3,000 2,500 250 2,750 หดตัว
4,000 3,300 250 3,550 หดตัว
ดุลยภาพที่ S = I
เมื่อ Y = 1,750 ลบ. ,S = 250 ลบ. (C=1,500 ลบ.) , I = 250
S = I ที่ 250 ลบ.
*เพื่อให้เกิดความเข้าใจเรื่องรายได้ดุลยภาพจะพิจารณาในกรณีที่ไม่
เกิดรายได้ดุลยภาพ*
เมื่อ Y = 1,000 ลบ. ,S = 100 ลบ. (C=900 ลบ.) , I = 250
S < I ทําให้มีการขยายตัวในการผลิต
รายได้
ประชาชาติ
(Y)
ค่าใช้จ่ายรวม
ที่
ต้องการ
(AE = C + I)
การออมที่
ต้องการ
(S = Yd - C)
การลงทุนที่
ต้องการ
(I)
100 430 -80 250
400 670 -20 250
1,000 1,150 100 250
1,750 1,750 250 250
2,000 1,950 300 250
3,000 2,750 500 250
4,000 3,550 700 250
การออม (S), การลงทุน(I)
0 รายได้
ประชาชาติ
S
I
Y๐
250
E
1,000
I > S
2,000
500
I < S
100
-100
•จุด E คือจุดดุลยภาพ ณ ระดับ
รายได้ 1,000 ลบ. มีการออม และ
การลงทุน 250 ลบ.
•ณ ระดับรายได้อื่น ที่ไม่ใช่ดุลย
ภาพ จะเกิดการปรับตัวเข้าสู่จุด
ดุลยภาพ
การคํานวณรายได้ประชาชาติดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบปิดไม่มีภาครัฐบาล
C = 100 + 0.8Y , S = - 100 + 0.2 Y , Ia = 250
AE = C + Ia
AE = 100 + 0.8Y + 250
AE = 350 + 0.8 Y
1. เงื่อนไข คือ Yd= AE
Y = 100 + 0.8Y+250
0.2Y = 350
Y = 1,750 ล้านบาท
2. เงื่อนไข คือ I = S
250 = - 100 + 0.2Y
350 = 0.2Y
350/0.2 = Y
Y = 1,750 ล้านบาท
C = 100 + 0.8Y, S = - 100 + 0.2 Y , I = 250+ 0.10Y
AE = C + Ia+Ii
AE = 100 + 0.8Y + 250 +0.10Y
AE = 350 + 0.90 Y
1. เงื่อนไข คือ Yd= AE
Y = 100 + 0.8Y+250+0.10
0.1Y = 350
Y = 3,500 ล้านบาท
2. เงื่อนไข คือ I = S
250+0.10 = - 100 + 0.2Y
350 = 0.2-0.1Y
350/0.1 = Y
Y = 3,500 ล้านบาท
มีการลงทุนแบบจูงใจ Ii
I= Ia+iY
3.รายได้ประชาชาติดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบปิด
มีภาครัฐบาล
แนวทาง อุปสงค์มวลรวม(ค่าใช้จ่ายมวลรวม)
เท่ากับอุปทานมวลรวม
แบบ Y = AE
โดยที่ AE = C + I +G
Y = Y-T (รายได้ที่แท้จริงหักด้วยภาษี)
รายจ่ายเพื่อการบริโภค C
การลงทุนแบบอิสระ และจูงใจ I = Ia+iY
ความต้องการใช ้จ่ายของรัฐ Ga
แนวทาง ส่วนรั่วไหล เท่ากับ ส่วนอัดฉีด
แบบ S+T = I + G
โดยที่
 การออม S
 ภาษี T= Ta+tY
 การลงทุนแบบอิสระ และจูงใจ I = Ia+iY
 ความต้องการใช ้จ่ายของรัฐ Ga
ดุลยภาพที่ Y = AE
AE = C + I+ G
ให้ C = 100 + 0.80Y , I = 250 + 0.10Y, G= 50, T=10+0.05Y เมื่อ Y = Y-T
AE = 100 + 0.80 (Y-10+0.05Y) + 250 + 0.10Y +50
= 100+0.80Y+8-0.04Y+250+0.10Y+50
= 408+0.80Y-0.04Y+0.10Y
Y – 0.80Y+0.04Y-0.10Y= 408
0.14Y = 408
Y = 408/0.14
Y = 2,914.28
4.รายได้ประชาชาติดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบเปิด
แนวทาง อุปสงค์มวลรวม(ค่าใช้จ่ายมวลรวม)
เท่ากับอุปทานมวลรวม
แบบ Y = AE
โดยที่ AE = C + I +G + (X-M)
Y = Y-T (รายได้ที่แท้จริงหักด้วยภาษี)
รายจ่ายเพื่อการบริโภค C
การลงทุนแบบอิสระ และจูงใจ I = Ia+iY
ความต้องการใช ้จ่ายของรัฐ Ga
การนําเข้า M M = Ma+ mY
การส่งออก X = Xa
แนวทาง ส่วนรั่วไหล เท่ากับ ส่วนอัดฉีด
แบบ S+T+M = T+G+X
โดยที่
 การออม S
 ภาษี T= Ta+tY
 การลงทุนแบบอิสระ และจูงใจ I = Ia+iY
 ความต้องการใช ้จ่ายของรัฐ Ga
การนําเข้า M = Ma+ mY
การส่งออก X = Xa
ดุลยภาพที่ Y = AE
AE = C + I+ G + (X-M)
ให้ C = 100 + 0.80Y , I = 250 + 0.10Y, G= 50, T=10+0.05Y เมื่อ Y = Y-T, (X-M)= NX
X = 75 , M= 20+0.02Y
AE = 100 + 0.80 (Y-10+0.05Y) + 250 + 0.10Y +50+(75- 20-0.02Y)
= 100+0.80Y+8-0.04Y+250+0.10Y+50 + 75- 20-0.02Y
= 463+0.80Y-0.04Y+0.10Y-0.02Y
Y – 0.80Y+0.04Y-0.10Y+0.02Y= 463
0.16Y = 463
Y = 463/0.16
Y = 2,893.75
NX = Xa-(Ma+mY)
= 75- (20+0.02Y)
= 75-20-0.02Y
ตัวทวีคูณและการ
เปลี่ยนแปลง
รายได้ประชาชาติ
◦ 1.ความหมายของตัวทวีคูณ
◦ 2.ตัวทวีคูณของระบบเศรษฐกิจแบบปิด ไม่มีภาครัฐบาล
◦ 3.ตัวทวีคูณของระบบเศรษฐกิจแบบปิด มีภาครัฐบาล
◦ 4.ตัวทวีคูณของระบบเศรษฐกิจแบบเปิด
1.ความหมายของตัวทวี (Multiplier : K)
ตัวทวี เป็ นตัวเลขที่แสดงให้เห็นว่า เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของ
ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (เช่น Ca,Ia,Ga) จะทําให้รายได้ประชาชาติมีการเปลี่ยนแปลง
ไปอย่างไร
นักเศรษฐศาสตร ์ต้องการที่จะรู้ขนาดของการเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติ
อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงค่าใช่จ่าย เพราะการรู้ขนาดที่ถูกต้อง จะทําให้สามารถที่จะ
ใช่นโยบายที่ถูกต้องได้ ดังนั้นจึงมีความจําเป็ นต้องศึกษาเรื่องตัวทวี
AE
Δ
Y
Δ
=
K ตัวทวี (Multiplier) เป็ นมาตรการวัดขนาดการเปลี่ยนแปลงรายได้ประชาชาติ
ตัวทวีในระบบเศรษฐกิจ
ยกตัวอย่างการทํางานของตัวทวี
ซื้อเครื่องจักร
20 ลบ.
ผู้ลงทุน
I
ผู้ผลิตและขาย
เครื่องจักร
เจ้าของปัจจัยการผลิต
แรงงานผลิต
ผู้ขายสินค้า
จะเห็นว่าเมื่อมีการลงทุนที่เพิ่มขึ้น มีผลทําให้เกิดความ
ต้องการสินค้าหรือผลผลิตอื่นเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทําให้
รายได้ประชาชาติที่แท้จริงที่ดุลยภาพเพิ่มขึ้นมากกว่า
การลงทุนที่เพิ่มขึ้น
* ตัวทวีจะช่วยหาคําตอบว่า จํานวนรายได้ประชาชาติ
ดุลยภาพเพิ่มขึ้นเท่าใด *
หรือ
K = ค่าตัวทวี
= รายได้ประชาชาติที่เปลี่ยนแปลง (Change in National Income)
= ค่าใช้จ่ายอิสระที่เปลี่ยนแปลง (Change in Autonomous Expenditurer
Y
Δ
AE
Δ
AE
Δ
Y
Δ
=
K
สูตรการหาตัวทวี
MPC
1
1
=
MPS
1
เราทราบแล้วว่าถ้าเส้น
DAE เปลี่ยนแปลงจะทําให้รายได้
ประชาชาติดุลยภาพเปลี่ยนแปลง
ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของ AE ในที่นี้
พิจารณาการเปลี่ยนแปลงของ
ค่าใช้จ่ายที่เป็ น Autonomous ถ้า
ต้ อ ง ก า ร ท ร า บ ข น า ด ก า ร
เปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติ
ดุลยภาพ ว่ามีค่าเท่าใด ดังนี้ คือ
A
K
Y ∆
=
∆ .
รอบของการใช้จ่าย การใช้จ่ายเพิ่มขึ้น รายได้ประชาชาติสะสม
(หน่วย : พันล้านบาท)
รอบที่ 1 1,000.0 1,000.0
รอบที่ 2 800.0 1,800.0
รอบที่ 3 640.0 2,440.0
รอบที่ 4 512.0 2,952.0
รอบที่ 5 409.0 3,361.6
รอบที่ 6 327.7 3,689.3
รอบที่ 7 262.1 3,951.4
รอบที่ 8 209.7 4,161.1
รอบที่ 9 167.8 4,328.9
รอบที่ 10 134.2 4,463.1
รอบที่ 11 – 12 479.3 4,942.4
อื่นๆ 57.6 5,000
2.ตัวทวีคูณของระบบเศรษฐกิจแบบปิด ไม่มี
ภาครัฐบาล (AE = C+I)
◦ กรณีลงทุนแบบอิสระ (AE= C+Ia)
◦ กรณีลงทุนแบบจูงใจ (AE= C+I)
MPC
MPS
K
−
=
=
1
1
1
MPS
MPC
b
K
1
1
1
1
1
=
−
=
−
=
MPI
MPC
K
−
−
=
1
1
สูตรการหาค่าตัวทวี
ระบบเศรษฐกิจแบบปิดมีภาครัฐบาล (AE=C+I+G)
◦ การเก็บภาษีแบบเหมาจ่ายโดยการลงทุนแบบอิสระ
ตัวคูณ G ตัวคูณ T
◦ การเก็บภาษีเหมาจ่ายโดยการลงทุนแบบจูงใจ
ตัวคูณ G ตัวคูณ T
b
KG
−
=
1
1
b
b
KT
−
−
=
1
i
b
KG
−
−
=
1
1
i
b
b
KT
−
−
−
=
1
3.ตัวทวีคูณของระบบเศรษฐกิจแบบปิด มีภาครัฐบาล
(AE=C+I+G)
◦ การเก็บภาษีแบบอัตราคงที่โดยการลงทุนแบบอิสระ
ตัวคูณ G ตัวคูณ T
◦ การเก็บภาษีแบบอัตราคงที่โดยการลงทุนแบบจูงใจ
ตัวคูณ G ตัวคูณ T
)
1
(
1
1
t
b
KG
−
−
=
)
1
(
1 t
b
b
KT
−
−
−
=
i
t
b
KG
−
−
−
=
)
1
(
1
1
i
t
b
b
KT
−
−
−
−
=
)
1
(
1
4.ตัวทวีคูณของระบบเศรษฐกิจแบบเปิด
(AE=C+I+G + (X-M))
◦ กรณีภาษีแบบเหมาจ่ายโดยการลงทุนอิสระ
ตัวคูณการส่งออก
ตัวคูณการนําเข้า
)
,
( a
a I
T
m
b
KX
+
−
=
1
1
m
b
KM
+
−
−
=
1
1
การเปลี่ยนแปลงแปลงรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
และเงินโอนรัฐบาล
ค่าใช้จ่ายของรัฐบาลประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายบริโภค การลงทุน และเงินโอน
◦ การเก็บภาษี ถือเป็ นรายได้ของรัฐ แต่เป็ นส่วนรั่วไหลจากระบบเศรษฐกิจ
◦ เงินโอน ถือเป็ นรายจ่ายของรัฐ แต่เป็ นส่วนอัดฉีดเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ
สูตรการหาตัวทวีเงินโอน
◦ การเก็บภาษีเหมาจ่ายโดยการลงทุนอิสระ
ตัวคูณเงินโอน
◦ การเก็บภาษีเหมาจ่ายโดยการลงทุนจูงใจ
ตัวคูณเงินโอน
◦ การเก็บภาษีอัตราคงที่โดยการลงทุนอิสระ
ตัวคูณเงินโอน
◦ การเก็บภาษีอัตราคงที่โดยการลงทุนอิสระ
ตัวคูณเงินโอน
b
b
KR
−
=
1
i
b
b
KR
−
−
=
1
)
1
(
1 t
b
b
KR
−
−
=
i
t
b
b
KR
−
−
−
=
)
1
(
1
สรุปสมการ รายได้ประชาชาติดุลยภาพ
Y = C + I
S = I
bYd
C
C a+
=
iY
I
I a+
=
Y = C + I + G
S + T = I + G
bYd
C
C a+
=
iY
I
I a+
=
Y = C + I + G + (X-M)
S + T + M = I + G + X
tY
T
T a +
=
a
G
G =
a
d T
Y
Y −
=
tY
T
T a +
=
a
G
G =
iY
I
I a +
=
R
R =
a
X
X =
mY
M
M a +
=
M
X
G
I
C
Y −
+
+
+
=
R
tY
T
Y
Y a
d +
−
−
=
bYd
C
C a+
=
ความสําคัญของรายได้ประชาชาติ
◦ ทําให้ทราบถึงมูลค่าผลผลิตของประเทศในช่วงเวลาหนึ่ง และทราบถึงระดับความสามารถในการผลิตของแต่ละสาขา
การผลิต
◦ ทําให้ทราบถึงระดับการใช ้จ่ายรวมของระบบเศรษฐกิจและผลของการใช ้จ่ายต่างๆที่มีต่อภาวะเศรษฐกิจ
◦ ทําให้ทราบถึงระดับรายได้รวมของภาคครัวเรือน
◦ ทําให้ทราบถึงภาวะเศรษฐกิจโดยรวม
◦ เป็นเครื่องวัดระดับความสําเร็จของนโยบายและเป็นตัวกําหนดนโยบายเศรษฐกิจ
◦ เป็นเครื่องชี้วัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
◦ เป็นเครื่องชี้วัดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจภายในประเทศ (ระดับราคา)
◦ เป็นเครื่องชี้วัดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจภายนอกประเทศ (ดุลการชําระเงิน, ทุนสํารองเงินตรา, อัตราแลกเปลี่ยน)
◦ เป็นเครื่องชี้วัดความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ ลดความเหลื่อมลํ้าทางสังคม

More Related Content

What's hot

บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าtumetr1
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังOrnkapat Bualom
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นPattapong Promchai
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศthnaporn999
 
Unit 4 costs production
Unit 4 costs productionUnit 4 costs production
Unit 4 costs productionsavinee
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศOrnkapat Bualom
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์Orawonya Wbac
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)Areewan Plienduang
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์pptapple_clubx
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติOrnkapat Bualom
 

What's hot (20)

บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
 
Presentc6
Presentc6Presentc6
Presentc6
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
Unit 4 costs production
Unit 4 costs productionUnit 4 costs production
Unit 4 costs production
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
 
Ch3 and 4
Ch3 and 4Ch3 and 4
Ch3 and 4
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
Exim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากรExim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากร
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 

Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ