SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 9
ทฤษฎีเกมส์และกลยุทธ์การแข่งขัน
ทฤษฎีเกมส์ (Games Theory)

• ความหมาย ทฤษฎีเกมส์เป็นการศึกษาว่าจะใช้วิธีทาง
  คณิตศาสตร์กาหนดกลยุทธ์ที่ดีที่สุด(best strategy)อย่างไร
  เพื่อให้ได้ผลตอบแทนที่ดีที่สุด ภายใต้เงื่อนไขที่กาหนด
• ทฤษฎีเกมส์พยายามลดความซับซ้อนของสถานการณ์จริง
  ลง เพื่อให้ใช้หลักเหตุผลหรือคณิตศาสตร์หาทางเลือกที่ดี
  ที่สุดได้ และลดโอกาสผิดพลาดลง
หลักการพื้นฐานของทฤษฎีเกมส์

• ผู้เล่นเกมส์ เป็นผู้ที่ใช้หลักเหตุผลในการตัดสินใจ ดังนั้น
  จึงตัดสินใจอย่างมีเหตุผลเสมอ
• ผู้เล่นเกมส์จะเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดเสมอจากทางเลือก
  ต่าง ๆ ที่มีอยู่
• ผู้เล่นพยายามทาความเข้าใจเกมส์จากมุมมองของฝ่าย
  ตรงข้าม แล้วกาหนดกลยุทธ์ตอบสนองการกระทาที่
  คาดหมายนั้น
ความหมายสาคัญ

•   ผู้เล่น (player) = ผู้ตัดสินใจ
•   กลยุทธ์ (strategy) = ทางเลือกต่าง ๆ ของผู้เล่น
•   ผลตอบแทน (pay off) = ผลลัพธ์จากแต่ละกลยุทธ์
•   การเล่น (move) = การตัดสินใจใช้กลยุทธ์อย่างใดอย่าง
    หนึ่ง
ความหมายสาคัญ

• ดุลยภาพแนช (Nash equilibrium)= สถานการณ์ที่ผู้เล่นแต่
  ละฝ่ายเลือกกลยุทธ์ที่ดที่สุดสาหรับฝ่ายตน โดยขึ้นกับ
                            ี
  เงื่อนไขกลยุทธ์ที่ดีที่สุดที่ฝ่ายตรงข้ามใช้
• ในภาวะดุลยภาพ การเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์จะไม่ทาให้ดี
  ขึ้น ดังนั้นถ้าเปลี่ยนกลยุทธ์แล้วดีขึ้นได้ แสดงว่ายังไม่อยู่
  ในดุลยภาพ
เกมประมูลธนบัตร

• กติกา:
    ประมูลเพิ่มครั้งละ 10 บาท
    ผู้ประมูลราคาสูงสุดได้ธนบัตรไป
    ผู้ประมูลราคารองลงไปต้องจ่ายโดยไม่ได้อะไรเลย
เกมประมูลธนบัตร

• ก. ประมูล 20 บาท
• ข. ประมูล 30 บาท
• ถ้า ก. หยุดแล้วไม่มีใครประมูลต่อ ก. เสีย 20 ดังนั้น ก.
  ประมูล 40 บาท
• ถ้า ข. หยุดแล้วไม่มีใครประมูลต่อ ข. เสีย 30 ดังนั้น ข.
  ประมูล 50 บาท
• ก. ประมูล 60 ข. ประมูล 70 ก.ประมูล 80
เกมประมูลธนบัตร
• ข. ประมูล 90 ก. ประมูล 100
• ถ้า ข.หยุดจะเสีย 90 ถ้าประมูลต่อที่ 110 จะขาดทุน 10
  ดังนั้น ข.ประมูล 110
• ถ้า ก.หยุดจะเสีย 100 ถ้าประมูลต่อที่ 120 จะขาดทุน 20
  ดังนั้น ข.ประมูล 120
• ฯลฯ
• เป็นพฤติกรรมที่ไม่มีเหตุผล
ลักษณะของเกมส์ประเภทต่าง ๆที่สาคัญ

• Zero-sum game = เกมส์ที่ผลได้ของฝ่ายหนึ่งเท่ากับ
  ผลเสียของอีกฝ่ายหนึ่งพอดี (ผลได้ผลเสียรวมกัน =0)
• บริษัท A กับ B แข่งขันกันในตลาดน้าอัดลม มีทางเลือ
  กาหนดราคา 2 ราคาคือ ขวดละ 5 บาทกับ 10 บาท
• ถ้ากาหนดราคา เท่ากันยอดขายแบ่งครึ่ง
• ฝ่ายใดตั้งราคาสูงกว่าจะขายไม่ได้เลย
Zero-sum game

• กาไรคิดจากรายรับการขาย ลบด้วยต้นทุนคงที่ (25 ล้าน
  บาท)
• ถ้าขายราคา 5 บาทยอดขาย 10 ล้านขวด รายรับ 50 ล้าน
  บาท แต่ละบริษัทกาไร = 25-25 =0
• ถ้าขายราคา 10 บาท ยอดขาย 5 ล้านขวด รายรับ 50 ล้าน
  บาท แต่ละบริษัทกาไร = 25-25 =0
• ถ้า A ขายราคา 5 บาท B ขายราคา 10 บาท
  A ได้ยอดขายทั้งหมด 50 ล้าน หักต้นทุนคงที่ 25 ล้าน
  ได้กาไร =25 ล้าน
  B ยอดขาย =0 หักต้นทุนคงที่ 25 ล้าน กาไร = -25 ล้าน
• ถ้า B ขายราคา 5 บาท A ขายราคา 10 บาท
  B ได้ยอดขายทั้งหมด 50 ล้าน หักต้นทุนคงที่ 25 ล้าน
  ได้กาไร =25 ล้าน
  A ยอดขาย =0 หักต้นทุนคงที่ 25 ล้าน กาไร = -25 ล้าน
บริษัท B
                5 บาท         10 บาท
           5 บาท (0, 0)        (25, -25)
บริษัท A
           10 บาท (-25, 25)         (0, 0)

                  Pay off: (A, B)

             ตัวอย่างกรณี zero-sum game
Nonzero-sum game
• เกมส์ทั่วไปทางเศรษฐศาสตร์มักไม่ใช่ Zero-sum game
  คือผลได้ของฝ่ายหนึ่งกับผลเสียอีกฝ่ายหนึ่งรวมกันแล้วไม่
  เท่ากับศูนย์
• ตัวอย่างเช่น การตัดสินใจของ บริษัท A และ B ว่าจะ
  ขยายกิจการหรือไม่ คาดหมายว่าจะได้ผลตอบแทนดังนี้
    ถ้าทั้ง 2 บริษัทขยายกิจการ บริษัท A จะได้กาไร 3 ล้าน
     บริษัท B ได้กาไร 2 ล้านบาท
 ถ้าทั้ง 2 บริษัทไม่ขยายกิจการ บริษัท A จะได้กาไร 10
  ล้าน บริษัท B ได้กาไร 12 ล้านบาท
 ถ้าบริษัท A ขยายแต่ B ไม่ขยายกิจการ บริษัท A จะได้
  กาไร 20 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 5 ล้านบาท
 ถ้าบริษัท B ขยายแต่ A ไม่ขยายกิจการ บริษัท A จะได้
  กาไร 8 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 25 ล้านบาท
บริษัท B
              ขยาย         ไม่ขยาย
         ขยาย (3, 2)         (20, 5)
บริษัท A
        ไม่ขยาย (8, 25)      (10, 12)

               Pay offs: (A, B)

         ตัวอย่างกรณี Nonzero-sum game
กลยุทธ์เด่น(Dominant Strategy)

• กลยุทธ์เด่น = ทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด ไม่ว่าคู่แข่งจะทา
  อย่างไร
• ตัวอย่างเช่น การตัดสินใจของ บริษัท A และ B ว่าจะ
  โฆษณาหรือไม่ คาดหมายว่าจะได้ผลตอบแทนดังนี้
    ถ้าทั้ง 2 บริษัทโฆษณา บริษัท A จะได้กาไร 4 ล้าน
     บริษัท B ได้กาไร 3 ล้านบาท
 ถ้าทั้ง 2 บริษัทไม่โฆษณาบริษัท A จะได้กาไร 3 ล้าน
  บริษัท B ได้กาไร 2 ล้านบาท
 ถ้าบริษัท A โฆษณาแต่ B ไม่โฆษณาบริษัท A จะได้
  กาไร 5 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 1 ล้านบาท
 ถ้าบริษัท B โฆษณาแต่ A ไม่โฆษณาบริษัท A จะได้
  กาไร 2 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 5 ล้านบาท
บริษัท B
             โฆษณา            ไม่โฆษณา
       โฆษณา (4, 3)             (5, 1)
บริษัท A
      ไม่โฆษณา      (2, 5)          (3, 2)

                 Pay offs: (A, B)
         ตัวอย่างกรณี Dominant strategy
• การตัดสินใจของ A ขึ้นกับการตัดสินใจของ B
    ถ้า B โฆษณา
     • A โฆษณา กาไรของ A = 4 √
     • A ไม่โฆษณา กาไรของ A = 2
   ถ้า B ไม่โฆษณา
     • A โฆษณา กาไรของ A = 5 √
     • A ไม่โฆษณา กาไรของ A = 3
• A เลือกโฆษณาแน่นอนไม่ว่า B ตัดสินใจอย่างไร
• กลยุทธ์เด่นของ A คือโฆษณา
• การตัดสินใจของ B ขึ้นกับการตัดสินใจของ A
    ถ้า A โฆษณา
     • B โฆษณา กาไรของ B = 3 √
     • B ไม่โฆษณา กาไรของ B = 1
 ถ้า A ไม่โฆษณา
      • B โฆษณา กาไรของ B = 5 √
      • B ไม่โฆษณา กาไรของ B = 2
• B เลือกโฆษณาแน่นอนไม่ว่า A ตัดสินใจอย่างไร
• กลยุทธ์เด่นของ B คือโฆษณา
• ในกรณีนี้ผลลัพธ์( solution)ก็คือทั้ง 2 บริษัทจะโฆษณา
  และ A กาไร 4 ล้าน B กาไร 3 ล้าน
กรณีมกลยุทธ์เด่นฝ่ายเดียว
                  ี

• ตัวอย่าง การตัดสินใจของ บริษัท A และ B ว่าจะขยาย
  การผลิตหรือไม่ คาดหมายว่าจะได้ผลตอบแทนดังนี้
    ถ้าทั้ง 2 บริษัทขยายการผลิต บริษัท A จะได้กาไร 18
     ล้าน บริษัท B ได้กาไร 8 ล้านบาท
    ถ้าทั้ง 2 บริษัทไม่ขยายการผลิต บริษัท A จะได้กาไร
     10 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 12 ล้านบาท
 ถ้าบริษัท A ขยายแต่ B ไม่ขยายการผลิต บริษัท A จะ
  ได้กาไร 20 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 15 ล้านบาท
 ถ้าบริษัท B ขยายแต่ A ไม่ขยายการผลิต บริษัท A จะ
  ได้กาไร 5 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 25 ล้านบาท
บริษัท B
              ขยาย    ไม่ขยาย
         ขยาย (18, 8) (20, 15)
บริษัท A
        ไม่ขยาย (5, 25)      (10, 12)

               Pay offs: (A, B)

        ตัวอย่างกรณีมีกลยุทธ์เด่นฝ่ายเดียว
• การตัดสินใจของ A ขึ้นกับการตัดสินใจของ B
    ถ้า B ขยายการผลิต
     • A ขยาย กาไรของ A = 18 √
     • A ไม่ขยาย กาไรของ A = 5
   ถ้า B ไม่ขยายการผลิต
     • A ขยาย กาไรของ A = 20 √
     • A ไม่ขยาย กาไรของ A = 10
• A เลือกขยายการผลิตแน่นอนไม่ว่า B ตัดสินใจอย่างไร
• กลยุทธ์เด่นของ A คือขยายการผลิต
• การตัดสินใจของ B ขึ้นกับการตัดสินใจของ A
    ถ้า A ขยายการผลิต
     • B ขยาย กาไรของ B = 8
     • B ไม่ขยาย กาไรของ B = 15 √
 ถ้า A ไม่ขยายการผลิต
       • B ขยาย กาไรของ B = 25 √
       • B ไม่ขยาย กาไรของ B = 12
• B ไม่มีกลยุทธ์เด่น การเลือกกลยุทธ์จะขึ้นกับการ
  ตัดสินใจของ A
• เนื่องจาก A เลือกขยายการผลิตแน่นอน ในกรณีนี้
  ผลลัพธ์( solution)ก็คือบริษัทจะขยายการผลิตแต่ B ไม่
  ขยาย A กาไร 20 ล้าน B กาไร 15 ล้าน
กรณีไม่มีฝ่ายใดมีกลยุทธ์เด่น

• ตัวอย่าง การตัดสินใจของ บริษัท A และ B ว่าจะขยาย
  การผลิตหรือไม่ คาดหมายว่าจะได้ผลตอบแทนดังนี้
    ถ้าทั้ง 2 บริษัทขยายการผลิต บริษัท A จะได้กาไร 18
     ล้าน บริษัท B ได้กาไร 8 ล้านบาท
    ถ้าทั้ง 2 บริษัทไม่ขยายการผลิต บริษัท A จะได้กาไร
     10 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 12 ล้านบาท
 ถ้าบริษัท A ขยายแต่ B ไม่ขยายการผลิต บริษัท A จะ
  ได้กาไร 8 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 15 ล้านบาท
 ถ้าบริษัท B ขยายแต่ A ไม่ขยายการผลิต บริษัท A จะ
  ได้กาไร 5 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 25 ล้านบาท
บริษัท B
              ขยาย    ไม่ขยาย
         ขยาย (18, 8)   (8, 15)
บริษัท A
        ไม่ขยาย (5, 25)      (10, 12)

               Pay offs: (A, B)

           ตัวอย่างกรณีไม่มีกลยุทธ์เด่น
• การตัดสินใจของ A ขึ้นกับการตัดสินใจของ B
    ถ้า B ขยายการผลิต
     • A ขยาย กาไรของ A = 18 √
     • A ไม่ขยาย กาไรของ A = 5
   ถ้า B ไม่ขยายการผลิต
     • A ขยาย กาไรของ A = 8
     • A ไม่ขยาย กาไรของ A = 10 √
• A ไม่มีกลยุทธ์เด่น การตัดสินใจขึ้นกับว่า B จะตัดสินใจ
  อย่างไร
• การตัดสินใจของ B ขึ้นกับการตัดสินใจของ A
    ถ้า A ขยายการผลิต
      • B ขยาย กาไรของ B = 8
      • B ไม่ขยาย กาไรของ B = 15 √
 ถ้า A ไม่ขยายการผลิต
       • B ขยาย กาไรของ B = 25 √
       • B ไม่ขยาย กาไรของ B = 12
• B ไม่มีกลยุทธ์เด่น การเลือกกลยุทธ์จะขึ้นกับการ
  ตัดสินใจของ A
• ไม่อาจหาคาตอบที่แน่นอนได้ ผลลัพธ์ขึ้นกับว่าฝ่ายใด
  สามารถโน้มน้าวให้อีกฝ่ายหนึ่งเชื่อว่าจะตัดสินใจอย่างไร
  ได้ก่อน
• ถ้า A ออกข่าวให้ B เชื่อได้ว่าไม่ขยายการผลิตแน่นอน
  ทาให้ B เลือกขยายการผลิตโดยหวังกาไร = 25 ล้าน
• เมื่อ B ขยายการผลิตแน่แล้ว A ก็จะดาเนินกลยุทธ์ดีที่สุด
  ของตนคือขยายการผลิตด้วย
• ผลทาให้ A กาไร = 18 ล้าน แต่ B กาไรเพียง 8 ล้าน
กลยุทธ์ปลอดภัยไว้กอน(Maximin Strategy)
                       ่

• ในกรณีที่ไม่สามารถคาดคะเนทางเลือกของฝ่ายตรงข้าม
  ได้แน่นอน หรือไม่มั่นใจพอ
• ต้องการหลีกเลี่ยงความเสี่ยง จะใช้ maximin strategy
• หลักการคือ
    ดูว่าความเสียหายสูงสุดในแต่ละทางเลือกเป็นเท่าใด
    เลือกทางเลือกที่เสียหายน้อยที่สุด
กรณีใช้ maximin strategy
• ตัวอย่าง การตัดสินใจของ บริษัท A และ B ว่าจะลงทุนใน
  เทคโนโลยีใหม่หรือไม่ คาดหมายว่าจะได้ผลตอบแทน
  เพิ่มขึ้นจากการลงทุนดังนี้
    ถ้าทั้ง 2 บริษัทต่างลงทุนบริษัท A จะกาไรเพิ่มขึ้น 20
      ล้าน บริษัท B ได้กาไรเพิ่มขึ้น 10 ล้านบาท
    ถ้าทั้ง 2 บริษัทไม่ลงทุน บริษัท A จะกาไรเพิ่ม = 0
      บริษัท B กาไรเพิ่ม = 0
 ถ้าบริษัท A ลงทุนแต่ B ไม่ลงทุน บริษัท A จะได้กาไร
  ลดลง 100 ล้าน บริษัท B ได้กาไรเพิ่ม =0
 ถ้าบริษัท B ลงทุนแต่ A ไม่ลงทุนบริษัท A จะได้กาไร
  ลดลง 10 ล้าน บริษัท B ได้กาไรเพิ่ม 10 ล้านบาท
บริษัท B
                 ลงทุน      ไม่ลงทุน
          ลงทุน (20, 10)     (-100, 0)
บริษัท A
        ไม่ลงทุน (-10, 10)         (0, 0)

                Pay offs: (A, B)
                  Maximin strategy
• การตัดสินใจของ A ขึ้นกับการตัดสินใจของ B
    ถ้า B ลงทุน
     • A ลงทุน กาไรของ A = 20 √
     • A ไม่ลงทุน กาไรของ A = -10
   ถ้า B ไม่ลงทุน
     • A ลงทุน กาไรของ A = -100
     • A ไม่ลงทุน กาไรของ A = 0     √
• A ไม่มีกลยุทธ์เด่น การตัดสินใจขึ้นกับว่า B จะใช้กลยุทธ์
  อย่างไร
• การตัดสินใจของ B ขึ้นกับการตัดสินใจของ A
    ถ้า A ลงทุน
      • B ลงทุน กาไรของ B = 10 √
      • B ไม่ลงทุน กาไรของ B = 0
 ถ้า A ไม่ลงทุน
      • B ลงทุน กาไรของ B = 10 √
      • B ไม่ลงทุน กาไรของ B = 0
• B มีกลยุทธ์เด่น การเลือกกลยุทธ์จะขึ้นกับการตัดสินใจ
  ของ A
• ถ้าการตัดสินใจเป็นไปอย่างมีเหตุผลและการคาดการณ์
  ถูกต้อง B จะลงทุน ทาให้ A เลือกลงทุนด้วย
• Nash equilibrium คือ A กาไร 20 B กาไร 10
• แต่ถ้าพฤติกรรมของ B ไม่มีเหตุผล และ A ไม่แน่ใจว่าถ้า
  ตัดสินใจลงทุนไปแล้ว B ไม่ลงทุน ผลจะทาให้ A กาไร
  ลดลงถึง 100 ล้าน
• ควรใช้หลักปลอดภัยไว้ก่อนซึ่งได้ผลลัพธ์คือ
    A ควรเลือกไม่ลงทุน
    B เลือกที่จะลงทุน
• เหตุผลการตัดสินใจของ A คือ
    ถ้า B ลงทุน minimum payoff ของ A = -10 (เมื่อ A ไม่
     ลงทุน)
    ถ้า B ไม่ลงทุน minimum payoff ของ A = -100 (เมื่อ A
     ลงทุน)
    A จะ maximize minimum pay off (สูญเสียต่าสุด) เมื่อ
     เลือกไม่ลงทุน
สถานการณ์ Prisoners’ Dilemma
•   สามารถประยุกต์ใช้ได้ดีเมื่อวิเคราะห์ตลาดผูขายน้อยราย
                                              ้
•   เป็นแนวคิดของ A.W.Tucker
•   ตารวจจับโจร 2 คน โทษจาคุก 10 ปี แต่หลักฐานอ่อน
•   ถ้าไม่มีใครสารภาพ โทษเบาแค่จาคุก 1 ปี
•   ตารวจแยกสอบสวน โดยไม่ให้พบกันเลย
•   เสนอว่าถ้าสารภาพจะกันเป็นพยาน คนไม่สารภาพจะติด
    คุก 10 ปี แต่ถาสารภาพทั้งคู่จะติดคุกคนละ 5 ปี
                  ้
โจร B
            สารภาพ ไม่สารภาพ
      สารภาพ (5, 5)     (0, 10)
โจร A
    ไม่สารภาพ (10, 0)           (1, 1)

             Pay offs: (A, B)
              Prisoners’ Dilemma
• การตัดสินใจของ A ขึ้นกับการตัดสินใจของ B
    ถ้า B สารภาพ
     • A สารภาพ A ติดคุก 5 ปี √
     • A ไม่สารภาพ A ติดคุก 10 ปี
   ถ้า B ไม่สารภาพ
     • A สารภาพ A ติดคุก 0 ปี √
     • A ไม่สารภาพ A ติดคุก 1 ปี
• A มีกลยุทธ์เด่นคือสารภาพ
• การตัดสินใจของ B ขึ้นกับการตัดสินใจของ A
    ถ้า A สารภาพ
     • B สารภาพ B ติดคุก 5 ปี √
     • B ไม่สารภาพ B ติดคุก 10 ปี
   ถ้า A ไม่สารภาพ
     • B สารภาพ B ติดคุก 0 ปี √
     • B ไม่สารภาพ B ติดคุก 1 ปี
• B มีกลยุทธ์เด่น คือสารภาพเช่นกัน
• ถ้าทั้ง 2 คนเลือกกลยุทธ์เด่นคือสารภาพ จะติดคุกคนละ
  5 ปี
• ถ้าตกลงกันได้คอไม่สารภาพทั้งคู่ จะติดคุกเพียงคนละ 1
                    ื
  ปี แต่ปัญหาก็คออาจถูกหักหลังทาให้ติดคุกถึง 10 ปีได้
                  ื
การประยุกต์ Prisoners’ Dilemma

• ในการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ กรณีตลาดผูขายน้อย
                                               ้
  ราย สามารถนาเอาแนวคิด Prisoners’ Dilemma มาใช้ได้
• ปกติกิจการที่แข่งขันกันสูง จะต่างฝ่ายต่างได้กาไรน้อยซึ่ง
  เป็นผลจากการแข่งขัน
• ถ้ารวมมือกันผูกขาดได้สาเร็จ ต่างฝ่ายต่างได้กาไรมากขึ้น
• แต่การร่วมมือกันผูกขาดยากจะเกิดขึ้นเพราะไม่แน่ใจว่า
  อีกฝ่ายหนึ่งจะหักหลังหรือไม่
จากตัวอย่างกรณี oligopoly ในบทที่ 12

• แข่งขัน (ราคาขาย = 4) กาไรบริษัทละ = 12
• ร่วมมือกันผูกขาด (ราคาขาย = 6) กาไรบริษัทละ = 16
• ถ้าตกลงจะผูกขาด แต่ฝ่ายหนึ่งไม่ปฏิบัติ ฝ่ายที่ทาตาม
  ข้อตกลง(ขายราคา =6)ได้กาไร = 4 ฝ่ายไม่ทาตาม(ขาย
  ราคา = 4)ได้กาไร = 20
• นามาเขียนเป็น pay off matrix ได้ดังนี้
บริษัท B
                     ราคา 4 ราคา 6
           ราคา 4 (12, 12)        (20, 4)
บริษัท A
           ราคา 6     (4, 20)     (16, 16)

                    Pay offs: (A, B)
• การตัดสินใจของ A ขึ้นกับการตัดสินใจของ B
    ถ้า B ขายราคา = 4
     • A ขายราคา = 4 กาไรของ A = 12 √
     • A ขายราคา = 6 กาไรของ A = 4
   ถ้า B ขายราคา = 6
     • A ขายราคา =4 กาไรของ A = 20 √
     • A ขายราคา =6 กาไรของ A = 16
• การตัดสินใจของ B ขึ้นกับการตัดสินใจของ A
    ถ้า A ขายราคา = 4
     • B ขายราคา = 4 กาไรของ B = 12 √
     • B ขายราคา = 6 กาไรของ B = 4
   ถ้า A ขายราคา = 6
     • B ขายราคา =4 กาไรของ B = 20 √
     • B ขายราคา =6 กาไรของ B = 16
• A มีกลยุทธ์เด่น คือขายราคาแข่งขัน = 4
• B มีกลยุทธ์เด่น คือขายราคาแข่งขัน = 4
• ทั้ง 2 บริษัทจะแข่งขันกัน ได้กาไรฝ่ายละ 12 ทั้ง ๆ ที่ถ้า
  ร่วมมือกันผูกขาด(ตั้งราคา =6) จะได้กาไรฝ่ายละ 16
• เหตุที่ไม่ร่วมมือกันเพราะถ้าตั้งราคา =6 แล้วอีกฝ่ายหนึ่ง
  หักหลังตั้งราคา = 4 ก็จะทาให้ฝ่ายที่ทาตามข้อตกลงมี
  กาไรเหลือเพียง 4 ในขณะที่ฝ่ายละเมิดหรือหักหลังจะได้
  กาไรถึง 20
ตัวอย่างของ Nash equilibrium
• เกม Battle of the Sexes (แสดงอรรถประโยชน์ของสามี/
  ภรรยาจากเลือกชมรายการโทรทัศน์)
                             สมศรี
                        ฟุตบอล ละคร
               ฟุตบอล (3, 1)       (0, 0)
      สมศักดิ์
                ละคร (0, 0)         (1, 3)

               Pay offs: (สมศักดิ์, สมศรี)
• การที่ความพอใจ = 0 ถ้าความต้องการไม่ตรงกันเกิด
  เพราะต้องทะเลาะกัน
• การที่ความพอใจ = 3 จะเกิดในกรณีได้ดูตามความ
  ต้องการโดยไม่มีความขัดแย้ง
• การที่ความพอใจ = 1 เกิดจากการยอมโอนอ่อนผ่อนตาม
  อีกฝ่ายหนึ่ง แม้จะไม่ได้ดูตามต้องการ
• สมศรี เลือกดูฟุตบอล
    สมศักดิ์ ดูฟุตบอล ความพอใจสมศักดิ์ = 3 √
    สมศักดิ์ ดูละคร ความพอใจสมศักดิ์ = 0
• สมศรีเลือกดูละคร
    สมศักดิ์ ดูฟุตบอล ความพอใจสมศักดิ์ = 0
    สมศักดิ์ ดูละคร ความพอใจสมศักดิ์ = 1 √
• สมศักดิ์ไม่มีกลยุทธ์เด่น
• สมศักดิ์ เลือกดูฟุตบอล
    สมศรี ดูฟุตบอล ความพอใจสมศรี = 1 √
    สมศรี ดูละคร ความพอใจสมศรี = 0
• สมศักดิ์เลือกดูละคร
    สมศรี ดูฟุตบอล ความพอใจสมศรี = 0
    สมศรี ดูละคร ความพอใจสมศรี = 3 √
• สมศรีไม่มีกลยุทธ์เด่น
สมศรีละคร
                     ฟุตบอล
            ฟุตบอล    (3, 1)    (0, 0)
 สมศักดิ์
            ละคร      (0, 0)    (1, 3)
(0, 0) สมศักดิ์ดูฟุตบอล สมศรีดูละคร ไม่ใช่ดลยภาพ
                                           ุ
แนช เพราะ เปลี่ยนแล้วดีขึ้น (เช่นถ้าสมศรีเปลี่ยนไปดู
ฟุตบอล ความพอใจเปลี่ยนเป็น 1)
สมศรีละคร
                     ฟุตบอล
            ฟุตบอล    (3, 1)     (0, 0)
 สมศักดิ์
            ละคร      (0, 0)    (1, 3)
(0, 0) สมศักดิ์ดูละคร สมศรีดูฟุตบอล ไม่ใช่ดุลยภาพ
แนช เพราะ เปลี่ยนแล้วดีขึ้น (เช่นถ้าสมศักดิ์เปลี่ยนไป
ดูฟุตบอล ความพอใจเปลี่ยนเป็น 3)
สมศรีละคร
                     ฟุตบอล
            ฟุตบอล    (3, 1)    (0, 0)
 สมศักดิ์
            ละคร      (0, 0)   (1, 3)
(3, 1) สมศักดิ์ดูฟุตบอล สมศรีดูฟุตบอล เป็นดุลยภาพ
แนช เพราะเปลี่ยนแล้วไม่มีฝ่ายใดดีขึ้น (เช่นถ้าสมศรี
เปลี่ยนไปดูละคร ความพอใจเปลี่ยนเป็น 0 สมศักดิ์
เปลี่ยนไปดูละคร ความพอใจเปลี่ยนเป็น 0)
สมศรีละคร
                     ฟุตบอล
            ฟุตบอล    (3, 1)   (0, 0)
 สมศักดิ์
            ละคร      (0, 0)   (1, 3)
(1, 3) สมศักดิ์ดูละคร สมศรีดูละคร เป็นดุลยภาพแนช
เพราะเปลี่ยนแล้วไม่มฝ่ายใดดีขึ้น (เช่นถ้าสมศรี
                      ี
เปลี่ยนไปดูฟุตบอล ความพอใจเปลี่ยนเป็น 0 สมศักดิ์
เปลี่ยนไปดูฟุตบอล ความพอใจเปลี่ยนเป็น 0)
Battle of the Sexes

• ดุลยภาพแนช มีได้ 2 กรณี คือ
    สมศักดิ์ดูฟุตบอล สมศรีดูฟุตบอล
    สมศักดิ์ดูละคร สมศรีดูละคร
• ผลลัพธ์(solution) จะเป็นกรณีใดขึ้นกับว่าฝ่ายใดยอม
  เสียเปรียบ
เกม Dove and Hawk
• ประเทศ A และ B มีข้อพิพาทเขตแดน แต่ละฝ่ายมี 2
  ทางเลือกหรือกลยุทธ์ คือ สันติ (Dove) กับสงคราม
  (Hawk)                        B
                      สงคราม        สันติ
              สงคราม (-10, -10) (1, -1)
            A
               สันติ (-1, 1)         (0, 0)

                    Pay offs: (A, B)
• ถ้าต่างฝ่ายทาสงครามทาลายกัน จะสูญเสียอย่างหนัก
  พอ ๆ กันคือประมาณ 10 พันล้าน
• ถ้าใช้สันติวธีทั้ง 2 ฝ่าย ไม่มีฝ่ายใดสูญเสียเลย
              ิ
• ถ้าทาสงครามฝ่ายเดียว ฝ่ายใช้กาลังได้ประโยชน์จากากร
  ยึดครอง = 1 พันล้าน ฝ่ายไม่ใช้กาลังสูญเสีย 1 พันล้าน
• A เลือกสงคราม
    B เลือกสงคราม B ได้ = -10
    B เลือกสันติ B ได้ = -1 √
• A เลือกสันติ
    B เลือกสงคราม B ได้ = 1√
    B เลือกสันติ B ได้ = 0
• B ไม่มีกลยุทธ์เด่น
• B เลือกสงคราม
    A เลือกสงคราม A ได้ = -10
    A เลือกสันติ A ได้ = -1 √
• B เลือกสันติ
    A เลือกสงคราม A ได้ = 1√
    A เลือกสันติ A ได้ = 0
• A ไม่มีกลยุทธ์เด่น
B
                     สงคราม           สันติ
          สงคราม     (-10, -10)       (1, -1)
           A
             สันติ     (-1, 1)         (0, 0)
                 Pay offs: (A, B)
ทั้ง 2 ประเทศเลือกสงคราม (-10, -10) ไม่ใช่ดุลยภาพแนช
เพราะฝ่ายใดเปลี่ยนใจแล้วจะดีขึ้น (เช่น B เปลี่ยนเป็น
สันติ ผลตอบแทนเปลี่ยนจาก -10 เป็น -1 A เปลี่ยนเป็น
สันติ ผลตอบแทนเปลี่ยนจาก -10 เป็น -1)
B
                   สงคราม          สันติ
          สงคราม (-10, -10)        (1, -1)
          A
            สันติ   (-1, 1)         (0, 0)
                Pay offs: (A, B)
ทั้ง 2 ประเทศเลือกสันติ (0, 0) ไม่ใช่ดุลยภาพแนชเพราะ
ฝ่ายใดเปลี่ยนใจแล้วจะดีขึ้น (เช่น B เปลี่ยนเป็น
สงครามผลตอบแทนเปลี่ยนจาก 0 เป็น 1 A เปลี่ยนเป็น
สงคราม ผลตอบแทนเปลี่ยนจาก 0 เป็น 1)
B
                    สงคราม          สันติ
          สงคราม (-10, -10)         (1, -1)
          A
            สันติ   (-1, 1)          (0, 0)
                 Pay offs: (A, B)
A เลือกสงคราม B เลือกสันติ (1, -1) เป็นดุลยภาพแนช
เพราะฝ่ายใดเปลี่ยนใจแล้วไม่ดีขึ้น (เช่น B เปลี่ยนเป็น
สงคราม ผลตอบแทนเปลี่ยนจาก -1 เป็น -10 A
เปลี่ยนเป็นสันติ ผลตอบแทนเปลี่ยนจาก 1 เป็น 0)
B
                    สงคราม          สันติ
          สงคราม (-10, -10)         (1, -1)
          A
            สันติ   (-1, 1)          (0, 0)
                 Pay offs: (A, B)
A เลือกสันติ B เลือกสงคราม (-1, 1) เป็นดุลยภาพแนช
เพราะฝ่ายใดเปลี่ยนใจแล้วไม่ดีขึ้น (เช่น B เปลี่ยนเป็น
สันติ ผลตอบแทนเปลี่ยนจาก 1 เป็น 0 A เปลี่ยนเป็น
สงคราม ผลตอบแทนเปลี่ยนจาก -1 เป็น -10)
เกม Dove and Hawk
• ดุลยภาพแนช มีได้ 2 กรณี คือ
    A เลือกสงคราม B เลือกสันติ (B เสียเปรียบ)
    A เลือกสันติ B เลือกสงคราม (Aเสียเปรียบ)
• ผลลัพธ์(solution) ควรใช้กลยุทธ์ Maximin คือ
• ทั้ง 2 ประเทศ ผลเสียสูงสุดจากสงครามคือ -10 ส่วน
  ผลเสียสูงสุดจากการเลือกสันติคือ -1 ทั้ง 2 ฝ่ายจึงควร
  เลือกสันติ ทาให้ pay offs คือ (0, 0)

More Related Content

What's hot

Econ100 04 sec015
Econ100 04 sec015Econ100 04 sec015
Econ100 04 sec015
oraya wongdee
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)Areewan Plienduang
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
Ornkapat Bualom
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
tumetr1
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
Ornkapat Bualom
 
ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุ
ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุขั้นตอนการเขียนบทวิทยุ
ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุSakulsri Srisaracam
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
Ornkapat Bualom
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
VolunteerCharmSchool
 
Business Model Canvas Tools
Business Model Canvas ToolsBusiness Model Canvas Tools
Business Model Canvas Tools
Utai Sukviwatsirikul
 
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์Rose Banioki
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in product
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
Teetut Tresirichod
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา
tumetr1
 
Econ presentation 3
Econ presentation 3Econ presentation 3
Econ presentation 3wowwilawanph
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
Ornkapat Bualom
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
tumetr1
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Pattapong Promchai
 

What's hot (20)

Econ100 04 sec015
Econ100 04 sec015Econ100 04 sec015
Econ100 04 sec015
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
 
Ch3 and 4
Ch3 and 4Ch3 and 4
Ch3 and 4
 
Chapter2 communication-v62 a
Chapter2 communication-v62 aChapter2 communication-v62 a
Chapter2 communication-v62 a
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุ
ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุขั้นตอนการเขียนบทวิทยุ
ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุ
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
 
Business Model Canvas Tools
Business Model Canvas ToolsBusiness Model Canvas Tools
Business Model Canvas Tools
 
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in product
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา
 
Econ presentation 3
Econ presentation 3Econ presentation 3
Econ presentation 3
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 

Viewers also liked

ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3Mew
 
ทฤษฎีเกม
ทฤษฎีเกมทฤษฎีเกม
ทฤษฎีเกมsaranthorn007
 
Game theory
Game theoryGame theory
Game theorynissai
 
งานที่3
งานที่3งานที่3
งานที่3chalita41
 
ทฤษฎีเกม (Game theory)
ทฤษฎีเกม (Game theory)ทฤษฎีเกม (Game theory)
ทฤษฎีเกม (Game theory)umaraporn
 
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์Rose Banioki
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8Aungkana Na Na
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
KawinTheSinestron
 

Viewers also liked (9)

Ppt
PptPpt
Ppt
 
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
 
ทฤษฎีเกม
ทฤษฎีเกมทฤษฎีเกม
ทฤษฎีเกม
 
Game theory
Game theoryGame theory
Game theory
 
งานที่3
งานที่3งานที่3
งานที่3
 
ทฤษฎีเกม (Game theory)
ทฤษฎีเกม (Game theory)ทฤษฎีเกม (Game theory)
ทฤษฎีเกม (Game theory)
 
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีเกมส์กับการตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 

งานพักกาด

  • 2. ทฤษฎีเกมส์ (Games Theory) • ความหมาย ทฤษฎีเกมส์เป็นการศึกษาว่าจะใช้วิธีทาง คณิตศาสตร์กาหนดกลยุทธ์ที่ดีที่สุด(best strategy)อย่างไร เพื่อให้ได้ผลตอบแทนที่ดีที่สุด ภายใต้เงื่อนไขที่กาหนด • ทฤษฎีเกมส์พยายามลดความซับซ้อนของสถานการณ์จริง ลง เพื่อให้ใช้หลักเหตุผลหรือคณิตศาสตร์หาทางเลือกที่ดี ที่สุดได้ และลดโอกาสผิดพลาดลง
  • 3. หลักการพื้นฐานของทฤษฎีเกมส์ • ผู้เล่นเกมส์ เป็นผู้ที่ใช้หลักเหตุผลในการตัดสินใจ ดังนั้น จึงตัดสินใจอย่างมีเหตุผลเสมอ • ผู้เล่นเกมส์จะเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดเสมอจากทางเลือก ต่าง ๆ ที่มีอยู่ • ผู้เล่นพยายามทาความเข้าใจเกมส์จากมุมมองของฝ่าย ตรงข้าม แล้วกาหนดกลยุทธ์ตอบสนองการกระทาที่ คาดหมายนั้น
  • 4. ความหมายสาคัญ • ผู้เล่น (player) = ผู้ตัดสินใจ • กลยุทธ์ (strategy) = ทางเลือกต่าง ๆ ของผู้เล่น • ผลตอบแทน (pay off) = ผลลัพธ์จากแต่ละกลยุทธ์ • การเล่น (move) = การตัดสินใจใช้กลยุทธ์อย่างใดอย่าง หนึ่ง
  • 5. ความหมายสาคัญ • ดุลยภาพแนช (Nash equilibrium)= สถานการณ์ที่ผู้เล่นแต่ ละฝ่ายเลือกกลยุทธ์ที่ดที่สุดสาหรับฝ่ายตน โดยขึ้นกับ ี เงื่อนไขกลยุทธ์ที่ดีที่สุดที่ฝ่ายตรงข้ามใช้ • ในภาวะดุลยภาพ การเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์จะไม่ทาให้ดี ขึ้น ดังนั้นถ้าเปลี่ยนกลยุทธ์แล้วดีขึ้นได้ แสดงว่ายังไม่อยู่ ในดุลยภาพ
  • 6. เกมประมูลธนบัตร • กติกา:  ประมูลเพิ่มครั้งละ 10 บาท  ผู้ประมูลราคาสูงสุดได้ธนบัตรไป  ผู้ประมูลราคารองลงไปต้องจ่ายโดยไม่ได้อะไรเลย
  • 7. เกมประมูลธนบัตร • ก. ประมูล 20 บาท • ข. ประมูล 30 บาท • ถ้า ก. หยุดแล้วไม่มีใครประมูลต่อ ก. เสีย 20 ดังนั้น ก. ประมูล 40 บาท • ถ้า ข. หยุดแล้วไม่มีใครประมูลต่อ ข. เสีย 30 ดังนั้น ข. ประมูล 50 บาท • ก. ประมูล 60 ข. ประมูล 70 ก.ประมูล 80
  • 8. เกมประมูลธนบัตร • ข. ประมูล 90 ก. ประมูล 100 • ถ้า ข.หยุดจะเสีย 90 ถ้าประมูลต่อที่ 110 จะขาดทุน 10 ดังนั้น ข.ประมูล 110 • ถ้า ก.หยุดจะเสีย 100 ถ้าประมูลต่อที่ 120 จะขาดทุน 20 ดังนั้น ข.ประมูล 120 • ฯลฯ • เป็นพฤติกรรมที่ไม่มีเหตุผล
  • 9. ลักษณะของเกมส์ประเภทต่าง ๆที่สาคัญ • Zero-sum game = เกมส์ที่ผลได้ของฝ่ายหนึ่งเท่ากับ ผลเสียของอีกฝ่ายหนึ่งพอดี (ผลได้ผลเสียรวมกัน =0) • บริษัท A กับ B แข่งขันกันในตลาดน้าอัดลม มีทางเลือ กาหนดราคา 2 ราคาคือ ขวดละ 5 บาทกับ 10 บาท • ถ้ากาหนดราคา เท่ากันยอดขายแบ่งครึ่ง • ฝ่ายใดตั้งราคาสูงกว่าจะขายไม่ได้เลย
  • 10. Zero-sum game • กาไรคิดจากรายรับการขาย ลบด้วยต้นทุนคงที่ (25 ล้าน บาท) • ถ้าขายราคา 5 บาทยอดขาย 10 ล้านขวด รายรับ 50 ล้าน บาท แต่ละบริษัทกาไร = 25-25 =0 • ถ้าขายราคา 10 บาท ยอดขาย 5 ล้านขวด รายรับ 50 ล้าน บาท แต่ละบริษัทกาไร = 25-25 =0
  • 11. • ถ้า A ขายราคา 5 บาท B ขายราคา 10 บาท A ได้ยอดขายทั้งหมด 50 ล้าน หักต้นทุนคงที่ 25 ล้าน ได้กาไร =25 ล้าน B ยอดขาย =0 หักต้นทุนคงที่ 25 ล้าน กาไร = -25 ล้าน • ถ้า B ขายราคา 5 บาท A ขายราคา 10 บาท B ได้ยอดขายทั้งหมด 50 ล้าน หักต้นทุนคงที่ 25 ล้าน ได้กาไร =25 ล้าน A ยอดขาย =0 หักต้นทุนคงที่ 25 ล้าน กาไร = -25 ล้าน
  • 12. บริษัท B 5 บาท 10 บาท 5 บาท (0, 0) (25, -25) บริษัท A 10 บาท (-25, 25) (0, 0) Pay off: (A, B) ตัวอย่างกรณี zero-sum game
  • 13. Nonzero-sum game • เกมส์ทั่วไปทางเศรษฐศาสตร์มักไม่ใช่ Zero-sum game คือผลได้ของฝ่ายหนึ่งกับผลเสียอีกฝ่ายหนึ่งรวมกันแล้วไม่ เท่ากับศูนย์ • ตัวอย่างเช่น การตัดสินใจของ บริษัท A และ B ว่าจะ ขยายกิจการหรือไม่ คาดหมายว่าจะได้ผลตอบแทนดังนี้  ถ้าทั้ง 2 บริษัทขยายกิจการ บริษัท A จะได้กาไร 3 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 2 ล้านบาท
  • 14.  ถ้าทั้ง 2 บริษัทไม่ขยายกิจการ บริษัท A จะได้กาไร 10 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 12 ล้านบาท  ถ้าบริษัท A ขยายแต่ B ไม่ขยายกิจการ บริษัท A จะได้ กาไร 20 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 5 ล้านบาท  ถ้าบริษัท B ขยายแต่ A ไม่ขยายกิจการ บริษัท A จะได้ กาไร 8 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 25 ล้านบาท
  • 15. บริษัท B ขยาย ไม่ขยาย ขยาย (3, 2) (20, 5) บริษัท A ไม่ขยาย (8, 25) (10, 12) Pay offs: (A, B) ตัวอย่างกรณี Nonzero-sum game
  • 16. กลยุทธ์เด่น(Dominant Strategy) • กลยุทธ์เด่น = ทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด ไม่ว่าคู่แข่งจะทา อย่างไร • ตัวอย่างเช่น การตัดสินใจของ บริษัท A และ B ว่าจะ โฆษณาหรือไม่ คาดหมายว่าจะได้ผลตอบแทนดังนี้  ถ้าทั้ง 2 บริษัทโฆษณา บริษัท A จะได้กาไร 4 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 3 ล้านบาท
  • 17.  ถ้าทั้ง 2 บริษัทไม่โฆษณาบริษัท A จะได้กาไร 3 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 2 ล้านบาท  ถ้าบริษัท A โฆษณาแต่ B ไม่โฆษณาบริษัท A จะได้ กาไร 5 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 1 ล้านบาท  ถ้าบริษัท B โฆษณาแต่ A ไม่โฆษณาบริษัท A จะได้ กาไร 2 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 5 ล้านบาท
  • 18. บริษัท B โฆษณา ไม่โฆษณา โฆษณา (4, 3) (5, 1) บริษัท A ไม่โฆษณา (2, 5) (3, 2) Pay offs: (A, B) ตัวอย่างกรณี Dominant strategy
  • 19. • การตัดสินใจของ A ขึ้นกับการตัดสินใจของ B  ถ้า B โฆษณา • A โฆษณา กาไรของ A = 4 √ • A ไม่โฆษณา กาไรของ A = 2  ถ้า B ไม่โฆษณา • A โฆษณา กาไรของ A = 5 √ • A ไม่โฆษณา กาไรของ A = 3
  • 20. • A เลือกโฆษณาแน่นอนไม่ว่า B ตัดสินใจอย่างไร • กลยุทธ์เด่นของ A คือโฆษณา • การตัดสินใจของ B ขึ้นกับการตัดสินใจของ A  ถ้า A โฆษณา • B โฆษณา กาไรของ B = 3 √ • B ไม่โฆษณา กาไรของ B = 1
  • 21.  ถ้า A ไม่โฆษณา • B โฆษณา กาไรของ B = 5 √ • B ไม่โฆษณา กาไรของ B = 2 • B เลือกโฆษณาแน่นอนไม่ว่า A ตัดสินใจอย่างไร • กลยุทธ์เด่นของ B คือโฆษณา • ในกรณีนี้ผลลัพธ์( solution)ก็คือทั้ง 2 บริษัทจะโฆษณา และ A กาไร 4 ล้าน B กาไร 3 ล้าน
  • 22. กรณีมกลยุทธ์เด่นฝ่ายเดียว ี • ตัวอย่าง การตัดสินใจของ บริษัท A และ B ว่าจะขยาย การผลิตหรือไม่ คาดหมายว่าจะได้ผลตอบแทนดังนี้  ถ้าทั้ง 2 บริษัทขยายการผลิต บริษัท A จะได้กาไร 18 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 8 ล้านบาท  ถ้าทั้ง 2 บริษัทไม่ขยายการผลิต บริษัท A จะได้กาไร 10 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 12 ล้านบาท
  • 23.  ถ้าบริษัท A ขยายแต่ B ไม่ขยายการผลิต บริษัท A จะ ได้กาไร 20 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 15 ล้านบาท  ถ้าบริษัท B ขยายแต่ A ไม่ขยายการผลิต บริษัท A จะ ได้กาไร 5 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 25 ล้านบาท
  • 24. บริษัท B ขยาย ไม่ขยาย ขยาย (18, 8) (20, 15) บริษัท A ไม่ขยาย (5, 25) (10, 12) Pay offs: (A, B) ตัวอย่างกรณีมีกลยุทธ์เด่นฝ่ายเดียว
  • 25. • การตัดสินใจของ A ขึ้นกับการตัดสินใจของ B  ถ้า B ขยายการผลิต • A ขยาย กาไรของ A = 18 √ • A ไม่ขยาย กาไรของ A = 5  ถ้า B ไม่ขยายการผลิต • A ขยาย กาไรของ A = 20 √ • A ไม่ขยาย กาไรของ A = 10
  • 26. • A เลือกขยายการผลิตแน่นอนไม่ว่า B ตัดสินใจอย่างไร • กลยุทธ์เด่นของ A คือขยายการผลิต • การตัดสินใจของ B ขึ้นกับการตัดสินใจของ A  ถ้า A ขยายการผลิต • B ขยาย กาไรของ B = 8 • B ไม่ขยาย กาไรของ B = 15 √
  • 27.  ถ้า A ไม่ขยายการผลิต • B ขยาย กาไรของ B = 25 √ • B ไม่ขยาย กาไรของ B = 12 • B ไม่มีกลยุทธ์เด่น การเลือกกลยุทธ์จะขึ้นกับการ ตัดสินใจของ A • เนื่องจาก A เลือกขยายการผลิตแน่นอน ในกรณีนี้ ผลลัพธ์( solution)ก็คือบริษัทจะขยายการผลิตแต่ B ไม่ ขยาย A กาไร 20 ล้าน B กาไร 15 ล้าน
  • 28. กรณีไม่มีฝ่ายใดมีกลยุทธ์เด่น • ตัวอย่าง การตัดสินใจของ บริษัท A และ B ว่าจะขยาย การผลิตหรือไม่ คาดหมายว่าจะได้ผลตอบแทนดังนี้  ถ้าทั้ง 2 บริษัทขยายการผลิต บริษัท A จะได้กาไร 18 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 8 ล้านบาท  ถ้าทั้ง 2 บริษัทไม่ขยายการผลิต บริษัท A จะได้กาไร 10 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 12 ล้านบาท
  • 29.  ถ้าบริษัท A ขยายแต่ B ไม่ขยายการผลิต บริษัท A จะ ได้กาไร 8 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 15 ล้านบาท  ถ้าบริษัท B ขยายแต่ A ไม่ขยายการผลิต บริษัท A จะ ได้กาไร 5 ล้าน บริษัท B ได้กาไร 25 ล้านบาท
  • 30. บริษัท B ขยาย ไม่ขยาย ขยาย (18, 8) (8, 15) บริษัท A ไม่ขยาย (5, 25) (10, 12) Pay offs: (A, B) ตัวอย่างกรณีไม่มีกลยุทธ์เด่น
  • 31. • การตัดสินใจของ A ขึ้นกับการตัดสินใจของ B  ถ้า B ขยายการผลิต • A ขยาย กาไรของ A = 18 √ • A ไม่ขยาย กาไรของ A = 5  ถ้า B ไม่ขยายการผลิต • A ขยาย กาไรของ A = 8 • A ไม่ขยาย กาไรของ A = 10 √
  • 32. • A ไม่มีกลยุทธ์เด่น การตัดสินใจขึ้นกับว่า B จะตัดสินใจ อย่างไร • การตัดสินใจของ B ขึ้นกับการตัดสินใจของ A  ถ้า A ขยายการผลิต • B ขยาย กาไรของ B = 8 • B ไม่ขยาย กาไรของ B = 15 √
  • 33.  ถ้า A ไม่ขยายการผลิต • B ขยาย กาไรของ B = 25 √ • B ไม่ขยาย กาไรของ B = 12 • B ไม่มีกลยุทธ์เด่น การเลือกกลยุทธ์จะขึ้นกับการ ตัดสินใจของ A • ไม่อาจหาคาตอบที่แน่นอนได้ ผลลัพธ์ขึ้นกับว่าฝ่ายใด สามารถโน้มน้าวให้อีกฝ่ายหนึ่งเชื่อว่าจะตัดสินใจอย่างไร ได้ก่อน
  • 34. • ถ้า A ออกข่าวให้ B เชื่อได้ว่าไม่ขยายการผลิตแน่นอน ทาให้ B เลือกขยายการผลิตโดยหวังกาไร = 25 ล้าน • เมื่อ B ขยายการผลิตแน่แล้ว A ก็จะดาเนินกลยุทธ์ดีที่สุด ของตนคือขยายการผลิตด้วย • ผลทาให้ A กาไร = 18 ล้าน แต่ B กาไรเพียง 8 ล้าน
  • 35. กลยุทธ์ปลอดภัยไว้กอน(Maximin Strategy) ่ • ในกรณีที่ไม่สามารถคาดคะเนทางเลือกของฝ่ายตรงข้าม ได้แน่นอน หรือไม่มั่นใจพอ • ต้องการหลีกเลี่ยงความเสี่ยง จะใช้ maximin strategy • หลักการคือ  ดูว่าความเสียหายสูงสุดในแต่ละทางเลือกเป็นเท่าใด  เลือกทางเลือกที่เสียหายน้อยที่สุด
  • 36. กรณีใช้ maximin strategy • ตัวอย่าง การตัดสินใจของ บริษัท A และ B ว่าจะลงทุนใน เทคโนโลยีใหม่หรือไม่ คาดหมายว่าจะได้ผลตอบแทน เพิ่มขึ้นจากการลงทุนดังนี้  ถ้าทั้ง 2 บริษัทต่างลงทุนบริษัท A จะกาไรเพิ่มขึ้น 20 ล้าน บริษัท B ได้กาไรเพิ่มขึ้น 10 ล้านบาท  ถ้าทั้ง 2 บริษัทไม่ลงทุน บริษัท A จะกาไรเพิ่ม = 0 บริษัท B กาไรเพิ่ม = 0
  • 37.  ถ้าบริษัท A ลงทุนแต่ B ไม่ลงทุน บริษัท A จะได้กาไร ลดลง 100 ล้าน บริษัท B ได้กาไรเพิ่ม =0  ถ้าบริษัท B ลงทุนแต่ A ไม่ลงทุนบริษัท A จะได้กาไร ลดลง 10 ล้าน บริษัท B ได้กาไรเพิ่ม 10 ล้านบาท
  • 38. บริษัท B ลงทุน ไม่ลงทุน ลงทุน (20, 10) (-100, 0) บริษัท A ไม่ลงทุน (-10, 10) (0, 0) Pay offs: (A, B) Maximin strategy
  • 39. • การตัดสินใจของ A ขึ้นกับการตัดสินใจของ B  ถ้า B ลงทุน • A ลงทุน กาไรของ A = 20 √ • A ไม่ลงทุน กาไรของ A = -10  ถ้า B ไม่ลงทุน • A ลงทุน กาไรของ A = -100 • A ไม่ลงทุน กาไรของ A = 0 √
  • 40. • A ไม่มีกลยุทธ์เด่น การตัดสินใจขึ้นกับว่า B จะใช้กลยุทธ์ อย่างไร • การตัดสินใจของ B ขึ้นกับการตัดสินใจของ A  ถ้า A ลงทุน • B ลงทุน กาไรของ B = 10 √ • B ไม่ลงทุน กาไรของ B = 0
  • 41.  ถ้า A ไม่ลงทุน • B ลงทุน กาไรของ B = 10 √ • B ไม่ลงทุน กาไรของ B = 0 • B มีกลยุทธ์เด่น การเลือกกลยุทธ์จะขึ้นกับการตัดสินใจ ของ A • ถ้าการตัดสินใจเป็นไปอย่างมีเหตุผลและการคาดการณ์ ถูกต้อง B จะลงทุน ทาให้ A เลือกลงทุนด้วย • Nash equilibrium คือ A กาไร 20 B กาไร 10
  • 42. • แต่ถ้าพฤติกรรมของ B ไม่มีเหตุผล และ A ไม่แน่ใจว่าถ้า ตัดสินใจลงทุนไปแล้ว B ไม่ลงทุน ผลจะทาให้ A กาไร ลดลงถึง 100 ล้าน • ควรใช้หลักปลอดภัยไว้ก่อนซึ่งได้ผลลัพธ์คือ  A ควรเลือกไม่ลงทุน  B เลือกที่จะลงทุน
  • 43. • เหตุผลการตัดสินใจของ A คือ  ถ้า B ลงทุน minimum payoff ของ A = -10 (เมื่อ A ไม่ ลงทุน)  ถ้า B ไม่ลงทุน minimum payoff ของ A = -100 (เมื่อ A ลงทุน)  A จะ maximize minimum pay off (สูญเสียต่าสุด) เมื่อ เลือกไม่ลงทุน
  • 44. สถานการณ์ Prisoners’ Dilemma • สามารถประยุกต์ใช้ได้ดีเมื่อวิเคราะห์ตลาดผูขายน้อยราย ้ • เป็นแนวคิดของ A.W.Tucker • ตารวจจับโจร 2 คน โทษจาคุก 10 ปี แต่หลักฐานอ่อน • ถ้าไม่มีใครสารภาพ โทษเบาแค่จาคุก 1 ปี • ตารวจแยกสอบสวน โดยไม่ให้พบกันเลย • เสนอว่าถ้าสารภาพจะกันเป็นพยาน คนไม่สารภาพจะติด คุก 10 ปี แต่ถาสารภาพทั้งคู่จะติดคุกคนละ 5 ปี ้
  • 45. โจร B สารภาพ ไม่สารภาพ สารภาพ (5, 5) (0, 10) โจร A ไม่สารภาพ (10, 0) (1, 1) Pay offs: (A, B) Prisoners’ Dilemma
  • 46. • การตัดสินใจของ A ขึ้นกับการตัดสินใจของ B  ถ้า B สารภาพ • A สารภาพ A ติดคุก 5 ปี √ • A ไม่สารภาพ A ติดคุก 10 ปี  ถ้า B ไม่สารภาพ • A สารภาพ A ติดคุก 0 ปี √ • A ไม่สารภาพ A ติดคุก 1 ปี
  • 47. • A มีกลยุทธ์เด่นคือสารภาพ • การตัดสินใจของ B ขึ้นกับการตัดสินใจของ A  ถ้า A สารภาพ • B สารภาพ B ติดคุก 5 ปี √ • B ไม่สารภาพ B ติดคุก 10 ปี  ถ้า A ไม่สารภาพ • B สารภาพ B ติดคุก 0 ปี √ • B ไม่สารภาพ B ติดคุก 1 ปี
  • 48. • B มีกลยุทธ์เด่น คือสารภาพเช่นกัน • ถ้าทั้ง 2 คนเลือกกลยุทธ์เด่นคือสารภาพ จะติดคุกคนละ 5 ปี • ถ้าตกลงกันได้คอไม่สารภาพทั้งคู่ จะติดคุกเพียงคนละ 1 ื ปี แต่ปัญหาก็คออาจถูกหักหลังทาให้ติดคุกถึง 10 ปีได้ ื
  • 49. การประยุกต์ Prisoners’ Dilemma • ในการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ กรณีตลาดผูขายน้อย ้ ราย สามารถนาเอาแนวคิด Prisoners’ Dilemma มาใช้ได้ • ปกติกิจการที่แข่งขันกันสูง จะต่างฝ่ายต่างได้กาไรน้อยซึ่ง เป็นผลจากการแข่งขัน • ถ้ารวมมือกันผูกขาดได้สาเร็จ ต่างฝ่ายต่างได้กาไรมากขึ้น • แต่การร่วมมือกันผูกขาดยากจะเกิดขึ้นเพราะไม่แน่ใจว่า อีกฝ่ายหนึ่งจะหักหลังหรือไม่
  • 50. จากตัวอย่างกรณี oligopoly ในบทที่ 12 • แข่งขัน (ราคาขาย = 4) กาไรบริษัทละ = 12 • ร่วมมือกันผูกขาด (ราคาขาย = 6) กาไรบริษัทละ = 16 • ถ้าตกลงจะผูกขาด แต่ฝ่ายหนึ่งไม่ปฏิบัติ ฝ่ายที่ทาตาม ข้อตกลง(ขายราคา =6)ได้กาไร = 4 ฝ่ายไม่ทาตาม(ขาย ราคา = 4)ได้กาไร = 20 • นามาเขียนเป็น pay off matrix ได้ดังนี้
  • 51. บริษัท B ราคา 4 ราคา 6 ราคา 4 (12, 12) (20, 4) บริษัท A ราคา 6 (4, 20) (16, 16) Pay offs: (A, B)
  • 52. • การตัดสินใจของ A ขึ้นกับการตัดสินใจของ B  ถ้า B ขายราคา = 4 • A ขายราคา = 4 กาไรของ A = 12 √ • A ขายราคา = 6 กาไรของ A = 4  ถ้า B ขายราคา = 6 • A ขายราคา =4 กาไรของ A = 20 √ • A ขายราคา =6 กาไรของ A = 16
  • 53. • การตัดสินใจของ B ขึ้นกับการตัดสินใจของ A  ถ้า A ขายราคา = 4 • B ขายราคา = 4 กาไรของ B = 12 √ • B ขายราคา = 6 กาไรของ B = 4  ถ้า A ขายราคา = 6 • B ขายราคา =4 กาไรของ B = 20 √ • B ขายราคา =6 กาไรของ B = 16
  • 54. • A มีกลยุทธ์เด่น คือขายราคาแข่งขัน = 4 • B มีกลยุทธ์เด่น คือขายราคาแข่งขัน = 4 • ทั้ง 2 บริษัทจะแข่งขันกัน ได้กาไรฝ่ายละ 12 ทั้ง ๆ ที่ถ้า ร่วมมือกันผูกขาด(ตั้งราคา =6) จะได้กาไรฝ่ายละ 16 • เหตุที่ไม่ร่วมมือกันเพราะถ้าตั้งราคา =6 แล้วอีกฝ่ายหนึ่ง หักหลังตั้งราคา = 4 ก็จะทาให้ฝ่ายที่ทาตามข้อตกลงมี กาไรเหลือเพียง 4 ในขณะที่ฝ่ายละเมิดหรือหักหลังจะได้ กาไรถึง 20
  • 55. ตัวอย่างของ Nash equilibrium • เกม Battle of the Sexes (แสดงอรรถประโยชน์ของสามี/ ภรรยาจากเลือกชมรายการโทรทัศน์) สมศรี ฟุตบอล ละคร ฟุตบอล (3, 1) (0, 0) สมศักดิ์ ละคร (0, 0) (1, 3) Pay offs: (สมศักดิ์, สมศรี)
  • 56. • การที่ความพอใจ = 0 ถ้าความต้องการไม่ตรงกันเกิด เพราะต้องทะเลาะกัน • การที่ความพอใจ = 3 จะเกิดในกรณีได้ดูตามความ ต้องการโดยไม่มีความขัดแย้ง • การที่ความพอใจ = 1 เกิดจากการยอมโอนอ่อนผ่อนตาม อีกฝ่ายหนึ่ง แม้จะไม่ได้ดูตามต้องการ
  • 57. • สมศรี เลือกดูฟุตบอล  สมศักดิ์ ดูฟุตบอล ความพอใจสมศักดิ์ = 3 √  สมศักดิ์ ดูละคร ความพอใจสมศักดิ์ = 0 • สมศรีเลือกดูละคร  สมศักดิ์ ดูฟุตบอล ความพอใจสมศักดิ์ = 0  สมศักดิ์ ดูละคร ความพอใจสมศักดิ์ = 1 √ • สมศักดิ์ไม่มีกลยุทธ์เด่น
  • 58. • สมศักดิ์ เลือกดูฟุตบอล  สมศรี ดูฟุตบอล ความพอใจสมศรี = 1 √  สมศรี ดูละคร ความพอใจสมศรี = 0 • สมศักดิ์เลือกดูละคร  สมศรี ดูฟุตบอล ความพอใจสมศรี = 0  สมศรี ดูละคร ความพอใจสมศรี = 3 √ • สมศรีไม่มีกลยุทธ์เด่น
  • 59. สมศรีละคร ฟุตบอล ฟุตบอล (3, 1) (0, 0) สมศักดิ์ ละคร (0, 0) (1, 3) (0, 0) สมศักดิ์ดูฟุตบอล สมศรีดูละคร ไม่ใช่ดลยภาพ ุ แนช เพราะ เปลี่ยนแล้วดีขึ้น (เช่นถ้าสมศรีเปลี่ยนไปดู ฟุตบอล ความพอใจเปลี่ยนเป็น 1)
  • 60. สมศรีละคร ฟุตบอล ฟุตบอล (3, 1) (0, 0) สมศักดิ์ ละคร (0, 0) (1, 3) (0, 0) สมศักดิ์ดูละคร สมศรีดูฟุตบอล ไม่ใช่ดุลยภาพ แนช เพราะ เปลี่ยนแล้วดีขึ้น (เช่นถ้าสมศักดิ์เปลี่ยนไป ดูฟุตบอล ความพอใจเปลี่ยนเป็น 3)
  • 61. สมศรีละคร ฟุตบอล ฟุตบอล (3, 1) (0, 0) สมศักดิ์ ละคร (0, 0) (1, 3) (3, 1) สมศักดิ์ดูฟุตบอล สมศรีดูฟุตบอล เป็นดุลยภาพ แนช เพราะเปลี่ยนแล้วไม่มีฝ่ายใดดีขึ้น (เช่นถ้าสมศรี เปลี่ยนไปดูละคร ความพอใจเปลี่ยนเป็น 0 สมศักดิ์ เปลี่ยนไปดูละคร ความพอใจเปลี่ยนเป็น 0)
  • 62. สมศรีละคร ฟุตบอล ฟุตบอล (3, 1) (0, 0) สมศักดิ์ ละคร (0, 0) (1, 3) (1, 3) สมศักดิ์ดูละคร สมศรีดูละคร เป็นดุลยภาพแนช เพราะเปลี่ยนแล้วไม่มฝ่ายใดดีขึ้น (เช่นถ้าสมศรี ี เปลี่ยนไปดูฟุตบอล ความพอใจเปลี่ยนเป็น 0 สมศักดิ์ เปลี่ยนไปดูฟุตบอล ความพอใจเปลี่ยนเป็น 0)
  • 63. Battle of the Sexes • ดุลยภาพแนช มีได้ 2 กรณี คือ  สมศักดิ์ดูฟุตบอล สมศรีดูฟุตบอล  สมศักดิ์ดูละคร สมศรีดูละคร • ผลลัพธ์(solution) จะเป็นกรณีใดขึ้นกับว่าฝ่ายใดยอม เสียเปรียบ
  • 64. เกม Dove and Hawk • ประเทศ A และ B มีข้อพิพาทเขตแดน แต่ละฝ่ายมี 2 ทางเลือกหรือกลยุทธ์ คือ สันติ (Dove) กับสงคราม (Hawk) B สงคราม สันติ สงคราม (-10, -10) (1, -1) A สันติ (-1, 1) (0, 0) Pay offs: (A, B)
  • 65. • ถ้าต่างฝ่ายทาสงครามทาลายกัน จะสูญเสียอย่างหนัก พอ ๆ กันคือประมาณ 10 พันล้าน • ถ้าใช้สันติวธีทั้ง 2 ฝ่าย ไม่มีฝ่ายใดสูญเสียเลย ิ • ถ้าทาสงครามฝ่ายเดียว ฝ่ายใช้กาลังได้ประโยชน์จากากร ยึดครอง = 1 พันล้าน ฝ่ายไม่ใช้กาลังสูญเสีย 1 พันล้าน
  • 66. • A เลือกสงคราม  B เลือกสงคราม B ได้ = -10  B เลือกสันติ B ได้ = -1 √ • A เลือกสันติ  B เลือกสงคราม B ได้ = 1√  B เลือกสันติ B ได้ = 0 • B ไม่มีกลยุทธ์เด่น
  • 67. • B เลือกสงคราม  A เลือกสงคราม A ได้ = -10  A เลือกสันติ A ได้ = -1 √ • B เลือกสันติ  A เลือกสงคราม A ได้ = 1√  A เลือกสันติ A ได้ = 0 • A ไม่มีกลยุทธ์เด่น
  • 68. B สงคราม สันติ สงคราม (-10, -10) (1, -1) A สันติ (-1, 1) (0, 0) Pay offs: (A, B) ทั้ง 2 ประเทศเลือกสงคราม (-10, -10) ไม่ใช่ดุลยภาพแนช เพราะฝ่ายใดเปลี่ยนใจแล้วจะดีขึ้น (เช่น B เปลี่ยนเป็น สันติ ผลตอบแทนเปลี่ยนจาก -10 เป็น -1 A เปลี่ยนเป็น สันติ ผลตอบแทนเปลี่ยนจาก -10 เป็น -1)
  • 69. B สงคราม สันติ สงคราม (-10, -10) (1, -1) A สันติ (-1, 1) (0, 0) Pay offs: (A, B) ทั้ง 2 ประเทศเลือกสันติ (0, 0) ไม่ใช่ดุลยภาพแนชเพราะ ฝ่ายใดเปลี่ยนใจแล้วจะดีขึ้น (เช่น B เปลี่ยนเป็น สงครามผลตอบแทนเปลี่ยนจาก 0 เป็น 1 A เปลี่ยนเป็น สงคราม ผลตอบแทนเปลี่ยนจาก 0 เป็น 1)
  • 70. B สงคราม สันติ สงคราม (-10, -10) (1, -1) A สันติ (-1, 1) (0, 0) Pay offs: (A, B) A เลือกสงคราม B เลือกสันติ (1, -1) เป็นดุลยภาพแนช เพราะฝ่ายใดเปลี่ยนใจแล้วไม่ดีขึ้น (เช่น B เปลี่ยนเป็น สงคราม ผลตอบแทนเปลี่ยนจาก -1 เป็น -10 A เปลี่ยนเป็นสันติ ผลตอบแทนเปลี่ยนจาก 1 เป็น 0)
  • 71. B สงคราม สันติ สงคราม (-10, -10) (1, -1) A สันติ (-1, 1) (0, 0) Pay offs: (A, B) A เลือกสันติ B เลือกสงคราม (-1, 1) เป็นดุลยภาพแนช เพราะฝ่ายใดเปลี่ยนใจแล้วไม่ดีขึ้น (เช่น B เปลี่ยนเป็น สันติ ผลตอบแทนเปลี่ยนจาก 1 เป็น 0 A เปลี่ยนเป็น สงคราม ผลตอบแทนเปลี่ยนจาก -1 เป็น -10)
  • 72. เกม Dove and Hawk • ดุลยภาพแนช มีได้ 2 กรณี คือ  A เลือกสงคราม B เลือกสันติ (B เสียเปรียบ)  A เลือกสันติ B เลือกสงคราม (Aเสียเปรียบ) • ผลลัพธ์(solution) ควรใช้กลยุทธ์ Maximin คือ • ทั้ง 2 ประเทศ ผลเสียสูงสุดจากสงครามคือ -10 ส่วน ผลเสียสูงสุดจากการเลือกสันติคือ -1 ทั้ง 2 ฝ่ายจึงควร เลือกสันติ ทาให้ pay offs คือ (0, 0)