SlideShare a Scribd company logo
1 of 151
Download to read offline
หลักเศรษฐศาสตร์จุลภาค (เบื้องต้น)
สาหรับปู้ประกอบการ
คู่มือฉบับนี้เป็นการสรุปรวบรวมจากหลายแหล่ง
ใช้สาหรับปู้สนใจศึกษาหลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นและปู้ที่สนใจทั่วไป
ไม่เหมาะสมสาหรับการใช้อ้างอิง 1
ขอบเขตเนื้อหา
• หลักเศรษฐศาสตร์จุลภาค
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชา
เศรษฐศาสตร์
2. อุปสงค์ อุปทาน และการกําหนดราคา
3. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
4. ประสิทธิภาพและความเป็นธรรม
5. การผลิตและต้นทุนการผลิต
6. รายรับและกําไร
7. ตลาด โครงสร้างตลาด และการ
กําหนดราคา
2
• หลักเศรษฐศาสตร์มหภาค
7. การกําหนดรายได้ประชาชาติ
8. บทบาทของภาครัฐบาล และนโยบาย
การคลัง
9. การเงิน การธนาคาร สถาบันการเงิน
และนโยบายการเงิน
10. เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
11. ดัชนีชี้วัดทางเศรษฐกิจที่สําคัญ
บทที่ 1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
1. เศรษฐศาสตร์คืออะไร
2. ความสําคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์
3. เศรษฐศาสตร์จุลภาคกับเศรษฐศาสตร์มหภาค
4. แนวความคิดพื้นฐาน (Economic Way of Thinking)
5. การหามาได้ยากหรือการขาดแคลน (Scarcity)
6. การเลือก (Choice)
7. ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost)
8. เส้นความเป็นไปได้ในการผลิต (Production Possibility Curve)
9. หน่วยเศรษฐกิจและวงจรเศรษฐกิจ
10. กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
4
เศรษฐศาสตร์คืออะไร
• เศรษฐศาสตร์ หรือ Economics เป็นคําที่มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก
“Oikonomikos” (Oikos = บ้าน + nomos = การดูแลจัดการ) ซึ่งหมายถึง ศาสตร์
ที่เกี่ยวกับการจัดการครอบครัว (household management) เนื่องจากในสมัยก่อน
ชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ยังอยู่ในสังคมที่แคบ การผลิตในสมัยนั้นเป็นการผลิตเพื่อ
ใช้บริโภคกันเองภายในครอบครัว สินค้าที่ผลิตขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นพวกอาหารและ
สินค้าที่จําเป็นในการดํารงชีพ
• เศรษฐศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่ศึกษาถึงวิธีการจัดสรรการเลือกใช้ (Choices) ทรัพยากร
อันมีอยู่อย่างจํากัด (scarcity resources) เพื่อผลิตสินค้าและบริการต่างๆ สนอง
ความต้องการของมนุษย์ซึ่งโดยทั่วไปมีความต้องการไม่จํากัด (Unlimited Wants) ให้
เกิดประสิทธิภาพสูงสุด (Efficiency)
5
ความสาคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์
• ด้านบุคคล เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวันของทุกคน เช่น ปัญหา
การเลือกใช้สินค้าบริการ การว่างงาน การขึ้นราคาของสินค้า ซึ่งปัญหาเหล่านี้ย่อม
ต้องมีความรู้ในทางเศรษฐศาสตร์เพื่อเป็นแนวทางแก้ไขที่ดีและถูกต้อง
• ด้านประชาชน การเรียนรู้วิชาเศรษฐศาสตร์ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจกลไกการทํางานของ
ระบบเศรษฐกิจ บทบาท และหน้าที่ของหน่วยต่าง ๆ ในระบบเศรษฐกิจ
• ด้านการบริหาร ผู้บริหารงานในทุกระดับของหน่วยเศรษฐกิจควรมีความรู้ความเข้าใจ
ในทางเศรษฐศาสตร์เพราะปัญหาทางเศรษฐกิจจําเป็นต้องอาศัยความรู้เศรษฐศาสตร์
ไปวิเคราะห์หรือไปแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารงานต่าง ๆ
6
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
• เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Micro economics) เป็นการศึกษาลักษณะพฤติกรรมของ
หน่วยเศรษฐกิจย่อยต่างๆ ในระบบเศรษฐกิจอันได้แก่ หน่วยผลิต หน่วยธุรกิจ ผู้ผลิต
ผู้บริโภค ปัจจัยการผลิต ฯลฯ และศึกษาเกี่ยวกับการกําหนดราคาของสินค้าแต่ละ
ชนิด ต้นทุนและปริมาณการผลิตของสินค้าแต่ละชนิดในตลาดสินค้าแบบต่างๆ การ
กําหนดราคาของปัจจัยการผลิต
• ทฤษฎีสาคัญ ที่ใช้ศึกษาและวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์จุลภาค ได้แก่ ทฤษฎีผู้บริโภค
ทฤษฎีการผลิต และทฤษฎีการกําหนดราคาของปัจจัยการผลิต ซึ่งรวมกันเรียกสั้นๆ
ว่า “ทฤษฎีราคา”
7
เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics)
• เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macro economics) เป็นการศึกษาเศรษฐกิจทั้งระบบหรือ
ส่วนหนึ่งส่วนใดของระบบเศรษฐกิจ ได้แก่ รายได้ประชาชาติ ระดับราคาสินค้าและ
บริการโดยทั่วไป ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้ การบริโภค การออมและการลงทุน
ระดับการจ้างงานโดยทั่วไป การหารายได้และการใช้จ่ายของรัฐบาล การเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ
• ทฤษฎีสาคัญ ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์มหภาค ได้แก่ ทฤษฎีการกําหนดรายได้และ
การจ้างงาน ทฤษฎีการเติบโตทางเศรษฐกิจ ซึ่งประกอบด้วยทฤษฎีแยกย่อยต่างๆ อีก
มากมายหลายทฤษฎี
8
เศรษฐศาสตร์มหาภาค (Macroeconomics)
รวมถึงการศึกษาปัญหาเศรษฐกิจมหาภาค (Macroeconomic Issues) ต่าง ๆ เช่น
• ปัญหาการเติบโตอย่างมีดุลยภาพในระยะยาว
• ปัญหาวัฏจักรเศรษฐกิจ
• ปัญหาการว่างงาน
• ปัญหาความไม่มีเสถียรภาพของระดับราคา
• ปัญหาผลกระทบจากกระทบระบบโลกาภิวัตน์
• ปัญหามาตรฐานการดํารงชีพ
• ปัญหาการขาดดุลงบประมาณและดุลการค้า
• ปัญหาว่านโยบายรัฐจะสามารถปรับปรุงยกระดับฐานะทางเศรษฐกิจให้ดีขึ้นได้หรือไม่
• ปัญหาอื่นๆ
9
เศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ
• ระดับจุลภาค การศึกษาด้านบริหารธุรกิจเป็นการศึกษาที่มุ่งแก้ปัญหาภายในธุรกิจต่าง
ๆ เช่น การบริหารบริษัทอย่างไรจึงจะได้กําไรสูงสุด วิชาเศรษฐศาสตร์ช่วยในการ
ตัดสินใจในการลงทุนหรือคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต รวมถึงการวิเคราะห์ตลาด
และหลักการตั้งราคาในภาพรวม
• ระดับมหภาค เศรษฐศาสตร์เป็นกรอบแนวคิดในการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจใน
ภาพรวมที่อาจกระทบการดําเนินธุรกิจ เช่น ระดับราคา ระดับความต้องการ ภาวะเงิน
เฟ้อ อัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย และ ระดับการจ้างงาน เป็นต้น
10
ลักษณะทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
1. เศรษฐศาสตร์ตามความเป็นจริง หรือ เศรษฐศาสตร์พรรณนา (Positive หรือ
descriptive economics) การศึกษาเศรษฐศาสตร์เป็นการศึกษาเพื่อให้เข้าใจพฤติกรรม
ของหน่วยเศรษฐกิจหรือระบบเศรษฐกิจในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพื่อให้รู้ว่า
อะไรคือสาเหตุ ทําให้เราสามารถพยากรณ์เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยไม่คํานึงถึง
เป้าหมายทางสังคม ไม่นําเอาจริยธรรม ค่านิยม ความคิดทางสังคมมาพิจารณาร่วมด้วย
2. เศรษฐศาสตร์ตามที่ควรจะเป็น หรือเศรษฐศาสตร์นโยบาย (normative หรือ policy
economics) การศึกษาที่กล่าวถึงพฤติกรรมของหน่วยเศรษฐกิจ หรือระบบเศรษฐกิจโดย
มีการสอดแทรกข้อเสนอแนะที่เห็นว่าถูกหรือควรจะเป็นลงไปด้วย โดยคํานึงถึงเป้าหมาย
ทางสังคมสอดแทรกความต้องการของสังคม มีการนําเอาค่านิยม จริยธรรม แนวคิดทาง
สังคมเข้าร่วมพิจารณา
11
แนวความคิดพื้นฐาน (Economic Way of Thinking)
แนวความคิดพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ที่สําคัญประกอบด้วย 6 ประการ ดังนี้
12
No แนวความคิด Way of Thinking
1 ไม่มีสิ่งใดได้มาฟรี ได้อย่างย่อมเสียอย่าง There is no free lunch, a choice is a tradeoff.
2 มนุษย์ตัดสินใจด้วยเหตุและผล People make rational choices by comparing benefits and costs.
3 ผลประโยชน์คือสิ่งที่ได้รับ Benefit is what you gain from something.
4 ต้นทุนคือสิ่งที่เสียไป หรือเรียกว่า ต้นทุนค่า
เสียโอกาส
Cost is what you must give up to get something, sometimes
called Opportunity cost
5 การตัดสินใจมักพิจารณาจาก ส่วนเพิ่ม Most choices are “how-much” choices made at the margin.
6 การตัดสินใจขึ้นอยู่กับแรงจูงใจ Choices respond to incentives
การหามาได้ยากหรือการขาดแคลน (Scarcity)
ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์ มีความขาดแคลน (Scarcity) ดังนั้น จึงจําเป็นต้องตอบ
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ 3 ประการดังนี้
1. จะผลิตสินค้าอะไร (What to Produce) เป็นปัญหาที่สังคมต้องตัดสินใจว่าจะผลิตสินค้า
อะไรตามความเชี่ยวชาญและทรัพยากรการผลิตที่มีอย่างจํากัด
2. จะผลิตอย่างไร (How to Produce) วิธีการผลิตว่าจะผลิตแบบใด ต้องใช้ปัจจัยการผลิต
อะไรจึงจะเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและเสียต้นทุนให้ต่ําที่สุด
3. จะผลิตเพื่อใคร (For Whom to Produce) เป็นปัญหาที่ต้องพิจารณาว่าควรจะผลิตสินค้า
เพื่อกลุ่มบุคคลใดที่สามารถเต็มใจจ่ายเงินซื้อตามราคาตลาด หรือรัฐบาลจะเป็นผู้ตัดสินเอง
ว่าใครควรจะได้รับสินค้าที่ผลิตขึ้นมานั้น
13
การเลือก (Choice)
หลักธรรมชาติพื้นฐานของการเลือก
1. มนุษย์เป็นสัตว์ที่มีเหตุผลในการเลือก (Rational Choice)
 เช่น เลือกที่ตนได้อรรถประโยชน์สูงสุด (Maximized Utility)
2. ทุกทางเลือกเผชิญปัญหา ได้อย่าง-เสียอย่าง (Trade-off)
 เช่น เลือกประสิทธิภาพ หรือ การเติบโต
3. ทุกทางเลือกจะได้มาซึ่งประโยชน์และสิ่งที่ต้องเสียไป (Benefit vs. Cost)
 เช่น เลือกจากผลประโยชน์สุทธิ (Net Benefit)
4. มนุษย์เลือกโดยพิจารณาส่วนเพิ่ม (Choosing at the Margin)
 เช่น เลือกบริโภคตามหลัก Law of Diminishing Marginal Utility
5. การตัดสินใจเลือกขึ้นอยู่กับแรงจูงใจ (Incentive)
 เช่น Carrot or Stick
14
ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost)
• ต้นทุนค่าเสียโอกาส คือต้นทุนของการตัดสินใจเลือกใดๆ ซึ่งหมายถึงมูลค่าทางเลือก
สูงสุดในการใช้ทรัพยากรที่ต้องเสียสละไปเมื่อได้ตัดสินใจเลือกทางเลือกอื่น (The
best alternative choices forgone)
• ตัวอย่างเช่น มีที่ดินอยู่แปลงหนึ่งถ้าให้เขาเช่าจะได้ค่าเช่าปีละ 90,000 บาท ถ้าปลูก
ผักจะมีรายได้ปีละ 20,000 บาท และถ้าปลูกพืชไร่จะมีรายได้ปีละ 40,000 บาท
ดังนั้น
– ต้นทุนค่าเสียโอกาสในการปลูกผัก คือ ค่าเช่าปีละ 90,000 บาท ที่ต้องเสียไป
– ต้นทุนค่าเสียโอกาสในการปลูกพืชไร่ คือ ค่าเช่าปีละ 90,000 บาท ที่ต้องเสียไป
15
เส้นความเป็นไปได้ในการผลิต
(Production Possibility Curve)
16
• เนื่องจากในระบบเศรษฐกิจมีทรัพยากร
อย่างจํากัด ดังนั้นจําเป็นต้องเลือกผลิต
ภายใต้เงื่อนไขทรัพยากรและเทคโนโลยี
ที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
• เส้นความเป็นไปได้ในการผลิต (PPC)
หมายถึงเส้นที่แสดงถึงการเลือกผลิต
สินค้าจํานวนต่างๆ ที่ผลิตได้อย่างมี
ประสิทธิภาพภายใต้เงื่อนไขข้อจํากัด
ด้านทรัพยากรและเทคโนโลยี
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
เส้นความเป็นไปได้ในการผลิต
(Production Possibility Curve)
17
สมมติฐาน
• เลือกผลิตสินค้า 2 ชนิด, ทรัพยากรจํากัด
เทคโนโลยีคงที่, ปัจจัยการผลิตสินค้าทดแทน
กันไม่ได้สมบูรณ์
เส้น PPC บอกอะไร
• การแลกเปลี่ยน (Trade-off)
• การได้มาเปล่า (Free Lunch)
• ประสิทธิภาพในการผลิต (Efficiency)
• การผลิตที่ไม่มีประสิทธิภาพ (Inefficiency)
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
เส้นความเป็นไปได้ในการผลิต
(Production Possibility Curve)
18
เส้น PPC บอกอะไร
• การเติบโตทางเศรษฐกิจ (Economic
Growth) ซึ่งเป็นผลจาก
– เทคโนโลยีที่ดีขึ้น (T)
– การพัฒนาคุณภาพทรัพยากรการผลิต
เช่น ประสิทธิภาพแรงงาน (L) และ
ต้นทุน (K)
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
หน่วยเศรษฐกิจและวงจรเศรษฐกิจ
19
หน่วยเศรษฐกิจแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1. ครัวเรือน (Household) หมายถึง กลุ่มคนที่อยู่ในครอบครัวเดียวกันเป็นเจ้าของปัจจัย
การผลิต โดยมีการตัดสินใจร่วมกันเกี่ยวกับการขายปัจจัยการผลิตและซื้อสินค้าและบริการ
ต่างๆ เพื่อบริโภค
2. ธุรกิจ (Firm) หมายถึง ผู้ที่ทําหน้าที่ตัดสินใจซื้อปัจจัยการผลิตมาเพื่อทําการผลิตเป็น
สินค้าและบริการ และขายสินค้าบริการที่ผลิตขึ้นให้กับผู้บริโภคในหน่วยเศรษฐกิจอื่น
3. รัฐบาล (Government) หมายถึง คณะรัฐบาลและหน่วยงานของรัฐที่ทําหน้าที่ในทาง
การเมือง และควบคุมดูแลการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของธุรกิจและครัวเรือน
4. การเงิน (Bank) หมายถึง ผู้ที่ทําหน้าที่เป็นตัวกลางในการทําธุรกรรมทางการเงินระหว่าง
ภาคอื่นๆ
หน่วยเศรษฐกิจและวงจรเศรษฐกิจ
20
วงจรเศรษฐกิจ
แสดงการไหลเวียนของเงินใน
ระบบเศรษฐกิจ (Circular Flow)
ระหว่างหน่วยเศรษฐกิจต่างๆ แบ่ง
ออกเป็น 2 ลักษณะคือ
1. ระบบเศรษฐกิจแบบเปิด
2. ระบบเศรษฐกิจแบบปิด
Bank Gov
Deposit Tax
TaxLending
Interest
Interest
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (3)
Circular Flow
Diagram
21
Spending
Goods and
services
bought
Revenue
Goods
and services
sold
Labor, land,
and capital
International Trade
Income
= Flow of inputs
and outputs
= Flow of dollars
Factors of
production
Wages, rent,
and profit
FIRMS
•Produce and sell
goods and services
•Hire and use factors
of production
•Buy and consume
goods and services
•Own and sell factors
of production
HOUSEHOLDS
Foreign Countries
•Households sell
•Firms buy
MARKETS
FOR
FACTORS OF PRODUCTION
•Firms sell
•Households buy
MARKETS
FOR
GOODS AND SERVICES
Opened
Economy
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (3)
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
22
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวกับการดํารงชีวิตของมนุษย์ทุกคน ซึ่งจะ
ประกอบไปด้วย การผลิต (Production) การแลกเปลี่ยน (Exchange) การบริโภค (consumption)
และการกระจาย (Distribution) โดยธรรมชาติของมนุษย์แล้วทําธุรกิจการค้าเพื่อมุ่งหวังการมีกําไร
รายได้ จึงก่อให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจขึ้นมา
การผลิตทางเศรษฐศาสตร์ (Production)
1. การผลิตขั้นต้น (Primary production) เป็นขั้นตอนการผลิตที่เก็บเกี่ยวผลประโยชน์จากธรรมชาติ
โดยไม่มีการดัดแปลหรือแปรสภาพ เช่น การทําเกษตร ทําป่าไม้ เป็นต้น
2. การผลิตที่สอง (Secondary production) เป็นกิจกรรมการผลิตที่จะช่วยเพิ่มคุณค่าของวัตถุดิบที่ได้
จากการผลิตขั้นต้น เพื่อให้มีคุณค่า และราคาสูงขึ้น
3. การผลิตขั้นที่สาม (Tertiary production) เป็นกิจกรรมการให้บริการที่จะช่วยให้การจําหน่ายจ่าย
แจกผลผลิตที่เกิดจากขั้นต้นและขั้นที่สองไปสู่มือผู้บริโภค ซึ่งต้องอาศัยการคมนาคมขนส่งเป็นตัวกลาง
แบบฝึกหัด
23
1. การศึกษาวิเคราะห์ดังต่อไปนี้จัดเป็นทฤษฎีเศรษฐศาสตร์รูปแบบใด
ข้อ การวิเคราะห์ ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์
ประเภทใด
1 การศึกษาความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจของโครงการคลองชลประทาน
2 การศึกษาความเหมาะสมของนโยบายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
3 การวิเคราะห์ผลกระทบของราคาน้ํามันต่อมูลค่าการค้าระหว่างประเทศ
4 การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคในยุคดิจิทัลต่อยอดขายของร้านค้าปลีก
ในจังหวัดเชียงราย
5 การศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาสัปปะรดนางแลล้นตลาด
แบบฝึกหัด
24
2. เทศบาลมีพื้นที่ส่วนสาธารณประโยชน์จํานวน 30 ไร่ มีต้นทุนในการดูแลรักษาปีละ 5 แสน
บาท หากเทศบาลตัดสินใจปล่อยเช่ายกแปลง จะมีรายได้ดังต่อไปนี้
ก. ปล่อยเช่าให้ชุมชนในการจัดตลาดนัดปีละ 3 แสนบาท
ข. ปล่อยเช่าให้บริษัทเอกชนปีละ 2 ล้านบาท
ค. ปล่อยเช่าให้เกษตรกรเพาะปลูกพืชผักอินทรีย์ปีละ 6 แสนบาท
2.1 ต้นทุนค่าเสียโอกาสในการปล่อยเช่าให้บริษัทเอกชนคือเท่าใด
2.2 ต้นทุนค่าเสียโอกาสในการปล่อยเช่าให้เกษตรกรคือเท่าใด
2.3 ต้นทุนค่าเสียโอกาสในการปล่อยเช่าให้ชุมชนคือเท่าใด
แบบฝึกหัด
25
3. ถ้าเส้นเป็นไปได้ในการผลิต ( Production
Possibility Curve ) ของไทยเป็นดังรูป
ข้างล่าง โดยที่ JL เป็นเส้น PPC เมื่อปี 2540
และ JL’ เป็นเส้น PPC ของปี 2544
3.1 เหตุใดเส้น PPC จึงเปลี่ยนตําแหน่งจาก
JL เป็น JL’
3.2 ต้นทุนการผลิตคอมพิวเตอร์จะสูงขึ้นหรือ
ลดลงเมื่อเส้น PPC เปลี่ยนจาก JL เป็น JL’
เพราะเหตุใด
L’
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
แบบฝึกหัด
26
4. หากภาคธุรกิจ (Firm) ดําเนินการผลิตโดยไม่คํานึงถึงทรัพยากรที่มีอยู่อย่างขาดแคลนและ
จํากัด (Scarcity and limited resources) จะเกิดปัญหาใด จงอธิบายโดยใช้หลักการของเส้น
ความเป็นไปได้ในการผลิต (PPC)
แบบฝึกหัด
27
5. จงพิจารณาว่าโครงการใด ไม่ เหมาะสมที่จะลงทุนที่สุด
ก. โครงการที่ Benefit > Cost
ข. โครงการที่ Benefit < Cost
ค. โครงการที่ Benefit = Cost
ง. โครงการที่ Benefit ≥ Cost
บทที่ 2
อุปสงค์ อุปทาน และการกาหนดราคาดุลยภาพ
2. อุปสงค์ อุปทาน และการกาหนดราคาดุลยภาพ
29
อุปสงค์ (Demand) อุปทาน (Supply) ดุลยภาพ (Equilibrium)
ความหมายของอุปสงค์ ตารางอุปสงค์
เส้นอุปสงค์
ความหมายของอุปทาน ตาราง
อุปทาน เส้นอุปทาน
ความหมายของดุลยภาพเชิง
สถิต คณิตศาสตร์ และความ
เป็นจริงอุปสงค์ตลาด อุปทานตลาด
กฎของอุปสงค์ กฎของอุปทาน
ตัวกําหนดอุปสงค์และฟังก์ชั่นอุปสงค์ ตัวกําหนดอุปทานและฟังก์ชั่นอุปทาน การวิเคราะห์การ
เปลี่ยนแปลงดุลยภาพ
ผลต่อราคาและปริมาณ
การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ (Change
in quantity demanded)
การเปลี่ยนแปลงปริมาณการเสนอ
ขาย (Change in quantity supply)
การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์
(Shift demand curve)
และการเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทาน
(Shift supply curve)
อุปสงค์ (Demand)
30
อุปสงค์ (Demand) หมายถึง ความต้องการ (Wants) ความเต็มใจซื้อ (Willing) และ
ความสามารถ (Ability) ในการซื้อสินค้าใดๆของผู้บริโภค ณ ระดับรายได้ที่มี ราคาที่กําหนด
และเวลาใดๆ
ปริมาณความต้องการสินค้า (Quantity Demanded: Qd
) หมายถึง ปริมาณสินค้าที่
ผู้บริโภคต้องการ ณ รายได้ ราคา และช่วงเวลาใดๆ
เมื่อพูดถึงอุปสงค์ หรือ ความต้องการซื้อ ต้องประกอบด้วย
1. ความเต็มใจที่จะซื้อ (Willingness to pay)
2. ความสามารถในการซื้อ (Ability to pay)
มิฉะนั้นจะไม่เกิดการซื้อสินค้า
ตารางและเส้นอุปสงค์ (Demand Curve)
31
ตารางและเส้นอุปสงค์ บ่งบอกความสัมพันธ์ระหว่างราคาสินค้าและปริมาณความต้องการซื้อ
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
อุปสงค์ตลาด (Market Demand)
32
อุปสงค์ตลาด (Market Demand) หมายถึง ความต้องการ (Wants) ความเต็มใจซื้อ (Willing)
และความสามารถ (Ability) ในการซื้อสินค้าใดๆของผู้บริโภคทุกคนในตลาดหรือความต้องการ
ของตลาดโดยภาพรวม ณ ราคาที่กําหนด และเวลาใดๆ
ตัวอย่าง: ในตลาดมีผู้บริโภค 2 ราย สามารถหาอุปสงค์ตลาดได้ดังนี้
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
กฎของอุปสงค์ (Law of Demand)
33
กฎของอุปสงค์ (Law of Demand) กําหนดไว้ว่าเมื่อปัจจัยอื่นๆ คงที่(Ceteris Paribus)
ระดับราคา (P) จะแปรผกผันหรือมีความสัมพันธ์ทางลบกับปริมาณความต้องการ (Qd)
ดังนั้นเส้นอุปสงค์จึงเป็นเส้นที่มีความชันเป็นลบ (Negative Slope)
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
ปัจจัยกาหนดอุปสงค์ (Demand Determinants)
34
ปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์ ประกอบด้วย 2 ประเภท ได้แก่
1. ปัจจัยกําหนดทางตรง (Direct Determinants) คือ ราคาสินค้า
2. ปัจจัยกําหนดทางอ้อม (Indirect Determinants) ประกอบด้วย รายได้ รสนิยม
ฤดูกาล จํานวนประชากร การคาดการราคาและรายได้ และ ราคาสิ้นค้าอื่นที่
เกี่ยวข้อง ได้แก่ สินค้าที่ใช้ร่วมกัน และสินค้าที่ทดแทนกัน
(รวมถึงปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น สิ่งกระตุ้นทางการตลาด นโยบาย หรือ ปัจจัยด้านจิตวิทยา
เป็นต้น)
ฟังก์ชั่นอุปสงค์ (Demand Function)
35
ฟังก์ชั่นอุปสงค์ (Demand Function)
โดยที่ คือ ปริมาณความต้องการสินค้า x
คือ ตัวกําหนดทางตรง คือ ราคาสินค้า x
คือ ตัวกําหนดทางอ้อมเช่น รายได้ รสนิยม ฤดูกาล จํานวน เป็นต้น
,...),,,( 321 AAAPfQ x
d
x 
d
xQ
xP
nA
การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ
(Change in quantity demanded)
36
การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ (Change in quantity demanded) เป็นการเปลี่ยนแปลงปัจจัย
กําหนดอุปสงค์ทางตรง (ซึ่งก็คือการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า) โดยที่ปัจจัยกําหนดอุปสงค์อื่นๆ
คงที่ การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อจะทําให้เกิดการเคลื่อนที่ของจุดบนเส้นอุปสงค์ (Move along
the line)
ตัวอย่าง: ราคาเปลี่ยนแปลง
1) เมื่อราคาสินค้าเพิ่มขึ้น ทําให้จุด A เคลื่อนที่ไปจุด B
ปริมาณความต้องการซื้อลดลง
2) เมื่อราคาสินค้าลดลง ทําให้จุด A เคลื่อนที่ไป C
ปริมาณความต้องการซื้อเพิ่มขึ้น
A
B
C
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์
(Shift demand curve)
37
การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์ (Shift demand curve) เป็นการเปลี่ยนแปลงปัจจัยกําหนด
อุปสงค์ทางอ้อม โดยที่ปัจจัยกําหนดอุปสงค์ทางตรงคงที่ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะทําให้เกิด
การเคลื่อนย้ายเส้นอุปสงค์ (Shift)
ตัวอย่าง: รายได้เปลี่ยนแปลง
1) เมื่อรายได้เพิ่มขึ้น ทําให้เส้น D0 ย้ายไปทางขวาเป็นD1
ปริมาณความต้องการซื้อเพิ่มขึ้น
2) เมื่อรายได้ลดลง ทําให้เส้น D0 ย้ายไปทางซ้ายเป็น D2
ปริมาณความต้องการซื้อลดลง
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
สินค้าตามระดับรายได้
38
รายได้เป็นปัจจัยทางอ้อมที่กําหนดความต้องการสินค้า สินค้าทางที่สัมพันธ์กับรายได้
ประกอบด้วย สินค้า 3 ประเภท ได้แก่
1. สินค้าทั่วไป (Normal Goods) คือสินค้าที่มีความต้องการซื้อมากขึ้นเมื่อระดับรายได้
สูงขึ้น เช่น สินค้าอุปโภคบริโภค เครื่องนุ่งห่ม อาหาร เป็นต้น
2. สินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods) คือสินค้าที่ไม่มีคุณภาพ ราคาต่ํา ผู้บริโภคต้องการ
สินค้าชนิดนี้เพิ่มขึ้นเมื่อมีรายได้ต่ําลง เช่น บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป เป็นต้น
3. สินค้ากิฟเฟน (Giffen Goods) เป็นสินค้าชนิดเดียวที่ไม่เป็นไปตามกฎอุปสงค์ คือ
ปริมาณการต้องการซื้อจะสูงขึ้นเมื่อระดับราคาสูงขึ้น ถูกตั้งชื่อตามผู้ค้นพบเหตุการณ์นี้ คือ
เซอร์รอเบิร์ต กิฟเฟน (Sir Robert Giffen) ตัวอย่างเช่นสินค้าฟุ่มเฟือย สินค้าหรูหรา
สินค้าที่มีชิ้นเดียวในโลก เครื่องประดับ อัญมณี เป็นต้น
แบบฝึกหัด
39
จงวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ ต่อปริมาณความต้องการซื้อสินค้า ประเภทสินค้าจําเป็น สินค้าไม่จําเป็น
และสินค้าที่ไม่ตอบสนองต่อปัจจัยใดๆ
โดยทําเครื่อง หมาย / ลงในตาราง หากท่านคิดว่าส่งผล
หรือทําเครื่องหมาย – ลงในตาราง หากท่านคิดว่าไม่ส่งผล
และตอบคําถามต่อไปนี้
40
1. จงวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงปัจจัยดังต่อไปนี้ต่อปริมาณความต้องการซื้อ สินค้าจาเป็น เช่น
สินค้าอุปโภคบริโภค
เหตุการณ์
ปัจจัยกาหนด
อุปสงค์
การเปลี่ยนแปลง
อุปสงค์
ผลต่อปริมาณ
ความต้องการซื้อ
ทางตรง ทางอ้อม ย้ายจุด ย้ายเส้น ลดลง เพิ่มขึ้น
1 ค่าแรงขั้นต่ําเพิ่มเป็น 1,000 ต่อวัน
2 ราคาสินค้าจําเป็นลดลง 50 %
3 ตลาดธงฟ้าออกโปรฯ ซื้อ 1 แถม 1
4 การคาดการณ์ว่ารายได้จะลดลง
5 จํานวนประชากรคาดว่าจะเพิ่มขึ้น
6 ภัยทางธรรมชาติ เช่น น้ําท่วมหนัก
7 เงินเฟ้อขั้นรุนแรง
8 ลุงตู่ป่วยเป็นโรคความจําสั้น
41
2. จงวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงปัจจัยดังต่อไปนี้ต่อปริมาณความต้องการซื้อ สินค้าไม่จาเป็น
เช่น กาแฟ Amazon
เหตุการณ์
ปัจจัยกาหนด
อุปสงค์
การเปลี่ยนแปลง
อุปสงค์
ผลต่อปริมาณ
ความต้องการซื้อ
ทางตรง ทางอ้อม ย้ายจุด ย้ายเส้น ลดลง เพิ่มขึ้น
1 ค่าแรงขั้นต่ําเพิ่มเป็น 1,000 ต่อวัน
2 ราคากาแฟ Starbuck ลดลง 50 %
3 ราคากาแฟ Starbuck เพิ่มขึ้น 50 %
4 บัตรสะสมแต้ม Blue Card
5 ภาษีมูลค่าเพิ่มขึ้นเป็น 15 %
6 ราคาน้ํามันดิบเพิ่มขึ้น 150%
7 ราคาเมล็ดกาแฟเพิ่มขึ้น 200%
8 ลุงตู่ป่วยเป็นโรคความจําสั้น
แบบฝึกหัด
42
3. เมื่อพ่อนาย ก เสียชีวิต จงวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงปัจจัยดังต่อไปนี้ต่อปริมาณความต้องการ
ซื้อ โรงศพ ของนาย ก
เหตุการณ์
ปัจจัยกาหนด
อุปสงค์
การเปลี่ยนแปลง
อุปสงค์
ผลต่อปริมาณ
ความต้องการซื้อ
ทางตรง ทางอ้อม ย้ายจุด ย้ายเส้น ลดลง เพิ่มขึ้น
1 ค่าแรงขั้นต่ําเพิ่มเป็น 1,000 ต่อวัน
2 นาย ก ถูกสลากรัฐบาลรางวัลที่ 1
3 นาย ก ป่วยเป็นมะเร็ง
4 ราคาโรงศพเพิ่มขึ้น 800 %
5 ราคาโรงศพลดลง 800 %
6 นาย ก คาดว่าราคาโรงศพจะลดลง
7 ตู่ป่วยเป็นโรคความจําสั้น
แบบฝึกหัด
43
4. จากการวิเคราะห์ข้อ 1-3 ท่านคิดว่า สินค้าชนิดใดที่อุปสงค์ ไม่มีความยืดหยุ่นต่อราคา เพราะ
เหตุใด
5. จากการวิเคราะห์ข้อ 1-3 ท่านคิดว่า สินค้าใดมีปริมาณความต้องการซื้อมากกว่า ในกรณีเกิด
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ เพราะเหตุใด
6. จากการวิเคราะห์ข้อ 1-3 หากท่านต้องการผลิตสินค้า 1 ประเภท ท่านจะเลือกผลิตสินค้าใด
เพราะเหตุใด
อุปทาน (Supply)
อุปทาน (Supply) หมายถึง ความต้องการ (Wants) ความเต็มใจผลิต (Willing) และ
ความสามารถ (Ability) ในการนําสินค้าออกมาขาย ของผู้ผลิต ณ ราคาที่กําหนด และเวลาใดๆ
ปริมาณความต้องการผลิต (Quantity Supply: Qs
) หมายถึง ปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิต
ต้องการและเต็มใจจะผลิต ณ รายได้ ราคา และช่วงเวลาใดๆ
เมื่อพูดถึงอุปทานหรือ ความต้องการผลิต ต้องประกอบด้วย
1. ความเต็มใจที่จะผลิต (Willingness to produce)
2. ความสามารถในการนําออกมาขาย (Ability to sale)
มิฉะนั้นจะไม่เกิดการผลิตและขายสินค้า
44
ตารางและเส้นอุปทาน (Supply Curve)
45
ตารางและเส้นอุปทานบ่งบอกความสัมพันธ์ระหว่างราคาสินค้าและปริมาณความต้องการผลิต
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
อุปทานตลาด (Market Supply)
46
อุปทานตลาด (Market Supply) หมายถึง ความต้องการ (Wants) ความเต็มใจผลิต (Willing)
และความสามารถ (Ability) ในการนําสินค้าออกมาขายของผู้ผลิตทุกรายในตลาดหรือผลรวม
ของจํานวนสินค้าที่ผลิตออกสู่ตลาดโดยภาพรวม ณ ราคาที่กําหนด และเวลาใดๆ
ตัวอย่าง: ในตลาดมีผู้ผลิต 2 ราย สามารถหาอุปทานตลาดได้ดังนี้
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
กฎของอุปทาน (Law of Supply)
47
กฎของอุปทาน (Law of Supply) กําหนดไว้ว่าเมื่อปัจจัยอื่นๆ คงที่ (Ceteris Paribus)
ระดับราคา (P) จะแปรผันตรงหรือมีความสัมพันธ์ทางบวกกับปริมาณความต้องการผลิต
(Q 𝑠
) ดังนั้นเส้นอุปทานจึงเป็นเส้นที่มีความชันเป็นบวก (Positive Slope)
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
ปัจจัยกาหนดอุปทาน (Supply Determinants)
48
ปัจจัยที่กาหนดอุปทาน ประกอบด้วย 2 ประเภท ได้แก่
1. ปัจจัยกําหนดทางตรง (Direct Determinants) คือ ราคาสินค้า
2. ปัจจัยกําหนดทางอ้อม (Indirect Determinants) ประกอบด้วย ราคาปัจจัยการ
ผลิต การคาดการณ์ราคาในอนาคต จํานวนผู้ผลิต เทคโนโลยี ทรัพยากร และราคา
สินค้าที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สินค้าที่ใช้ร่วมกัน และสินค้าที่ใช้ทดแทนกัน
(รวมถึงปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น สิ่งกระตุ้นทางการตลาด นโยบาย หรือ ปัจจัยด้านจิตวิทยา
เป็นต้น)
ฟังก์ชั่นอุปทาน (Supply Function)
49
ฟังก์ชั่นอุปทาน (Supply Function)
โดยที่ คือ ปริมาณความต้องการผลิตสินค้า x
คือ ตัวกําหนดทางตรง คือ ราคาสินค้า x
คือ ตัวกําหนดทางอ้อมเช่น เทคโนโลยี ราคาปัจจัยการผลิต เป็นต้น
,...),,,( 321 AAAPfQ x
s
x 
s
xQ
xP
nA
การเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย
(Change in quantity Supplied)
50
การเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย (Change in quantity supplied) เป็นการเปลี่ยนแปลงปัจจัย
กําหนดอุปทานทางตรง (ซึ่งก็คือการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า) โดยที่ปัจจัยกําหนดอุปทานอื่นๆ
คงที่ การเปลี่ยนแปลงปริมาณขายจะทําให้เกิดการเคลื่อนที่ของจุดบนเส้นอุปทาน (Move
along the line)
ตัวอย่าง: ราคาเปลี่ยนแปลง
1) เมื่อราคาสินค้าเพิ่มขึ้น ทําให้จุด A เคลื่อนที่ไปจุด B
ปริมาณความขายเพิ่มขึ้น
2) เมื่อราคาสินค้าลดลง ทําให้จุด A เคลื่อนที่ไป C
ปริมาณความต้องการขายลดลง
A
B
C
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทาน
(Shift supply curve)
51
การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทาน (Shift supply curve) เป็นการเปลี่ยนแปลงปัจจัยกําหนด
อุปทานทางอ้อม โดยที่ปัจจัยกําหนดอุปทานทางตรงคงที่ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะทําให้เกิด
การเคลื่อนย้ายเส้นอุปทาน (Shift)
ตัวอย่าง: ราคาปัจจัยการผลิตเปลี่ยนแปลง
1) เมื่อราคาปัจจัยการผลิตลดลง ทําให้เส้น S0
ย้ายไปทางขวาเป็นS1 ปริมาณความต้องการผลิตเพิ่มขึ้น
2) เมื่อราคาปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้น ทําให้เส้น S0
ย้ายไปทางซ้าย เป็นS2 ปริมาณความต้องการผลิตลดลง
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
แบบฝึกหัด
52
1. จงวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงปัจจัยดังต่อไปนี้ต่อปริมาณความต้องการผลิต/ขาย ข้าวอินทรีย์
เหตุการณ์ ปัจจัยกาหนด
อุปทาน
การเปลี่ยนแปลง
อุปทาน
ผลต่อปริมาณ
ผลิต/ขาย
ทางตรง ทางอ้อม ย้ายจุด ย้ายเส้น ลดลง เพิ่มขึ้น
1 ค่าแรงขั้นต่ําเพิ่มเป็น 1,000 ต่อวัน
2 ฝนตกหนักทําให้น้ําท่วม
3 ศัตรูพืชระบาด
4 นโยบายประกันราคาข้าวอินทรีย์
5 ราคาข้าวอินทรีย์เพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 90
6 เกษตรกรคาดการณ์ว่าราคาจะเพิ่มขึ้น
7 ตู่ป่วยเป็นโรคความจําสั้น
ดุลยภาพตลาด (Market Equilibrium)
53
ดุลยภาพตลาด (Market Equilibrium: E*) หมายถึง จุดที่ปริมาณและราคาที่ผู้ซื้อและ
ผู้ขายมีความต้องการจะซื้อจะขายตรงกัน หรือจุดที่ปริมาณความต้องการซื้อเท่ากับ
ปริมาณความต้องการขาย (Demand = Supply)
ณ ดุลยภาพ(E*) ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงปลงใจที่จะซื้อขายที่
1. ปริมาณดุลยภาพ (Equilibrium Quantity: Q*)
2. ราคาดุลยภาพ (Equilibrium Price: P*)
ดุลยภาพตลาด (Market Equilibrium)
54
P* = 1.5 USD/Bar
Q* = 10 Million of Bars per week
ตัวอย่าง: ตลาดช็อคโกแลตบาร์
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
ภาวะสินค้าล้นตลาด
(Excess supply/Surplus)
55
สภาวะสินค้าลดตลาด คือสภาวะเมื่อปริมาณการผลิตสินค้า มากกว่า ปริมาณความต้องการซื้อ
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
ภาวะสินค้าขาดตลาด
(Excess Demand/Shortage)
56
สภาวะสินค้าขาดตลาด คือสภาวะเมื่อปริมาณความต้องการซื้อ มากกว่า ปริมาณการผลิตสินค้า
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
แบบฝึกหัด
57
1. จงวิเคราะห์สภาวะตลาดรองเท้า ดังต่อไปนี้
(1)
Price per Pair
(2)
Quantity
Demanded
(3)
Quantity
Supplied
(4)
Difference
(Qs-Qd)
(5)
Market
Condition
(6)
Pressure on
Price
$105 25,000 75,000
$90 30,000 70,000
$75 40,000 60,000
$60 50,000 50,000
$45 60,000 35,000
$30 80,000 20,000
$15 100,000 5,000
แบบฝึกหัด
58
2. จากการวิเคราะห์ข้อ 1 จงตอบคําถามต่อไปนี้
2.1 ราคาดุลยภาพเท่ากับเท่าใด เพราะเหตุใด
2.2 จะเกิดอะไรขึ้นหากราคารองเท้ามีค่าเท่ากับ 30$ / คู่ จงอธิบาย
2.3 จะเกิดอะไรขึ้นหากราคารองเท้ามีค่าเท่ากับ 90$ / คู่ จงอธิบาย
การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพ
ผลต่อราคาและปริมาณ
59
การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพ สามารถพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางอ้อม
ที่กําหนดอุปสงค์ และอุปทาน ที่เปลี่ยนแปลง (Shock) ราคาและปริมาณดุลยภาพ
การเปลี่ยนแปลง (Shift) การเปลี่ยนแปลงปัจจัยกาหนดทางอ้อม (Shock)
อุปสงค์ (Demand) รายได้ รสนิยม ฤดูกาล จํานวนประชากร การคาดการราคา
และรายได้ และ ราคาสิ้นค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สินค้าที่ใช้
ร่วมกัน และสินค้าที่ทดแทนกัน รวมถึงปัจจัยอื่นๆ ที่อาจ
เกี่ยวข้อง
อุปทาน (Supply) ราคาปัจจัยการผลิต การคาดการณ์ราคาในอนาคต จํานวน
ผู้ผลิต เทคโนโลยี ทรัพยากร และราคาสินค้าที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
สินค้าที่ใช้ร่วมกัน และสินค้าที่ใช้ทดแทนกัน
การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพ
ผลต่อราคาและปริมาณ
60
การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพ สามารถเกิดขึ้นได้ 3 กรณี
1. เหตุการณ์ส่งผลต่อ อุปสงค์ (Shock to Demand)
• ทําให้อุปสงค์เพิ่มขั้น (Shift ไปทางขวา)
• ทําให้อุปสงค์ลดลง (Shift ไปทางซ้าย)
2. เหตุการณ์ส่งผลต่อ อุปทาน (Shock to Supply)
• ทําให้อุปทานเพิ่มขั้น (Shift ไปทางขวา)
• ทําให้อุปทานลดลง (Shift ไปทางซ้าย)
3. เหตุการณ์ส่งผลต่อ อุปสงค์และอุปทาน (Shock to Demand and Supply)
เหตุการณ์ที่ส่งผลต่ออุปสงค์ (Demand Shock)
61
อุปสงค์ตลาดเพิ่มขึ้น (Increased Demand)
เช่น ระดับรายได้ประชากรสูงขึ้น จํานวน
ประชากรเพิ่มขึ้น การคาดการณ์ราคาในอนาคต
สูงขึ้น เป็นต้น
ผลที่เกิดขึ้นกับดุลยภาพตลาด
1. ดุลยภาพตลาดเปลี่ยนจาก E1 ไป E2
2. ราคาดุลยภาพเพิ่มขึ้นจาก 1.5 ไป 2.5
3. ปริมาณดุลภาพเพิ่มขึ้นจาก 10 ไป 15
E1
E2
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
เหตุการณ์ที่ส่งผลต่ออุปสงค์ (Demand Shock)
62
อุปสงค์ตลาดลดลง (Decreased Demand)
เช่น ระดับรายได้ประชากรลดลง จํานวน
ประชากรลดลง การคาดการณ์ราคาในอนาคต
ลดลง เป็นต้น
ผลที่เกิดขึ้นกับดุลยภาพตลาด
1. ดุลยภาพตลาดเปลี่ยนจาก E1 ไป E2
2. ราคาดุลยภาพลดลงจาก 2.5 ไป 1.5
3. ปริมาณดุลภาพลดลงจาก 15 ไป 20
E2
E1
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
เหตุการณ์ที่ส่งผลต่ออุปทาน (Supply Shock)
63
อุปทานตลาดเพิ่มขึ้น (Increased Supply)
เช่น ราคาปัจจัยการผลิตลดลง การคาดการณ์
ราคาในอนาคตสูงขึ้น จํานวนผู้ผลิตเพิ่มขึ้น
เทคโนโลยีดีขึ้น เป็นต้น
ผลที่เกิดขึ้นกับดุลยภาพตลาด
1. ดุลยภาพตลาดเปลี่ยนจาก E1 ไป E2
2. ราคาดุลยภาพลดลงจาก 1.5 ไป 1.0
3. ปริมาณดุลภาพเพิ่มขึ้นจาก 10 ไป 15
E1
E2
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
เหตุการณ์ที่ส่งผลต่ออุปทาน (Supply Shock)
64
อุปทานตลาดลดลง (Decreased Supply)
เช่น ราคาปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้น การคาดการณ์
ราคาในอนาคตลดลง จํานวนผู้ผลิตลดลง
เทคโนโลยีดีแย่ลง เป็นต้น
ผลที่เกิดขึ้นกับดุลยภาพตลาด
1. ดุลยภาพตลาดเปลี่ยนจาก E1 ไป E2
2. ราคาดุลยภาพเพิ่มขึ้นจาก 1.0 ไป 1.5
3. ปริมาณดุลภาพลดลงจาก 15 ไป 10
E2
E1
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
เหตุการณ์ที่ส่งผลต่อทั้งอุปสงค์และ อุปทาน
(Demand and Supply Shock)
65
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น:
1. อุปสงค์ตลาดเพิ่มขึ้น
2. อุปทานตลาดเพิ่มขึ้น ตอบสนอง
ผลที่เกิดขึ้นกับดุลยภาพตลาด
1. ดุลยภาพตลาดเปลี่ยนจาก E1 ไป E2 และ E3
2. ราคาดุลยภาพเพิ่มขึ้นจาก 1.5 ไป 2.5 และ
ลดลงมา 1.5
3. ปริมาณดุลภาพเพิ่มขึ้นจาก 10 ไป 15 และ
เพิ่มขึ้นไปที่ 20
E2
E1 E3
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
เหตุการณ์ที่ส่งผลต่อทั้งอุปสงค์และ อุปทาน
(Demand and Supply Shock)
66
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น:
1. อุปสงค์ตลาดลดลง
2. อุปทานตลาดลดลง ตอบสนอง
ผลที่เกิดขึ้นกับดุลยภาพตลาด
1. ดุลยภาพตลาดเปลี่ยนจาก E1 ไป E2 และ E3
2. ราคาดุลยภาพลดลงจาก 1.5 ไป 1.0 และเพิ่ม
ขั้น เป็น 1.5
3. ปริมาณดุลภาพลดลงจาก 10 ไป 7.5 และ
ลดลงไปที่ 5
E2
E1E3
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
แบบฝึกหัด
67
วิธีการวิเคราะห์ดุลยภาพตลาด 4ขั้นตอน
1. วาดรูปแบบจําลองอุปสงค์ อุปทาน ณ ดุลยภาพ
2. วิเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นว่าส่งผลกระทบต่อ อุปสงค์ หรือ อุปทาน หรือทั้งคู่
3. วิเคราะห์ว่าเหตุการณ์ส่งผลต่ออุปสงค์ หรือ อุปทานอย่างไร ( Move along a line /
shift ? เพิ่มขึ้นหรือลดลง)
4. จะเกิดอะไรขึ้นกับดุลยภาพตลาด ราคาดุลภายใหม่เปลี่ยนไปอย่างไร (เพิ่มขึ้น หรือ
ลดลง) ปริมาณดุลยภาพใหม่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร (เพิ่มขั้น หรือ ลดลง)
แบบฝึกหัด
68
1. จงวิเคราะห์เหตุการณ์ดังต่อไปนี้ต่อดุลยภาพตลาด
ก. ผลการวิจัยเปิดเผยว่า “การดื่มน้าประปาส่งผลกระทบต่อไตอย่างรุนแรง” จะเกิดผล
กระทบอย่างไรต่อราคาและปริมาณดุลยภาพตลาดน้ําดื่ม
ข. เหตุการณ์น้ําท่วมครั้งรุนแรงในปี 2546 ส่งผลกระทบอย่างไรต่อ ราคาดุลยภาพตลาด
สินค้าเกษตรของประเทศไทย
ค. เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ส่งผลให้โรงงานจํานวนมากเลิกจ้างพนักงาน โดยหันมา
ใช้เครื่องจักรแทนแรงงงานไร้ฝีมือ จากเหตุการณ์ดังกล่าว จงวิเคราะห์ผลกระทบต่อ
ราคาและปริมาณดุลยภาพตลาดรองเท้าในประเทศไทย
ง. ในสภาวะราคาน้ํามันดิบโลกกําลังอยู่ในช่วงขาขึ้น ทําให้ผู้บริโภคต่างวิตกถึงวิกฤต
เศรษฐกิจและอัตราเงินเฟ้อที่อาจเพิ่มขึ้นในอนาคต จงวิเคราะห์สถานการณ์ดังกล่าวต่อ
ราคาทองคําในประเทศไทย
บทที่ 3
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
69
3. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
(Elasticity of Demand and Supply)
70
ความยืดหยุ่นอุปสงค์ ความยืดหยุ่นอุปทาน
1. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา 1. ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา
ความหมาย สูตรการคํานวณ และค่าความยืดหยุ่นกับ
ลักษณะของเส้นอุปสงค์
ความหมาย สูตรการคํานวณ
ปัจจัยที่กําหนดความยืดหยุ่น ลักษณะของเส้นอุปทานที่มีค่าความยืดหยุ่นต่าง ๆ กัน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคากับรายรับรวม ตัวกําหนดความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา
2. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
ตัวกําหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้และ
ลักษณะของสินค้า
3. ความยืดหยุ่นไขว้
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
(Price Elasticity of Demand)
71
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand: 𝑬 𝒅) เป็นเครื่องมือใน
การวัดการตอบสนองของอุปสงค์ต่อระดับราคาที่เปลี่ยนแปลงไป
การอธิบายความหมาย
• ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสูง หมายความว่า สินค้าชนิดนั้นมีการตอบสนองต่อ
ราคาสูง เช่น สินค้าไม่จําเป็น สินค้าฟุ่มเฟือย
• ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาต่า หมายความว่า สินค้าชนิดนั้นมีการตอบสนองต่อ
ราคาต่ํา เช่น สินค้าจําเป็น
สูตรหาความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อราคา
72
ลักษณะของ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
1. |% ΔQ| = |% ΔP|, |𝑬 𝒅| เท่ากับ 1 : มีลักษณะ unit elastic
2. |% ΔQ| > |% ΔP|, |𝑬 𝒅| มากกว่า 1 : มีลักษณะยืดหยุ่นสูง (elastic)
3. |% ΔQ| < |% ΔP|, |𝑬 𝒅| น้อยกว่า 1 : มีลักษณะยืดหยุ่นต่ํา (inelastic)
|𝑬 𝒅| =
เปอร์เซ็นต์การเปลียนแปลงปริมาณอุปสงค์
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงราคา
=
|%∆𝑸 𝒅|
|%∆𝑷|
สูตรหาความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อราคา
73
|𝑬 𝒅| =
เปอร์เซ็นต์การเปลียนแปลงปริมาณอุปสงค์
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงราคา
=
|%∆𝑸 𝒅|
|%∆𝑷|
วิธีการคานวณ:
1. แบบจุด (Point Elasticity) 2. แบบช่วง (Arc Elasticity)
100x
P
)P-(P
100x
Q
)Q-(Q
|E|
1
12
1
12
d 
100x
2/)P(P
)P-(P
100x
2/)Q(Q
)Q-(Q
|E|
21
12
21
12
d



ค่าความยืดหยุ่นกับลักษณะของเส้นอุปสงค์
74
P
P
P
P
P
Q
Q
Q
Q
Q
D
D
D
D
D
𝐸 𝑑 > 1
𝐸 𝑑 < 1
𝐸 𝑑 = 1
𝐸 𝑑 = ∞
𝐸 𝑑 = 0
Elastic
Inelastic
Unitary Elastic
Perfectly
Elastic
Perfectly
Inelastic
%∆𝑄 𝑑
> %∆𝑃
%∆𝑄 𝑑 < %∆𝑃
%∆𝑄 𝑑 = %∆𝑃
%∆𝑄 𝑑
= ∞
%∆𝑃 = 0
%∆𝑄 𝑑 = 0
%∆𝑃 = ∞
ปัจจัยที่กาหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์
(Factors Influence the Elasticity of Demand)
75
ปัจจัยที่กาหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ประกอบด้วย 5 ปัจจัย ได้แก่
1. การทดแทนกัน (The closeness of substitutes)
สินค้าที่หาแทนกันได้ง่าย ความยืดหยุ่นมีแนวโน้มสูง เช่น น้ํามัน เนย มาการีน
สินค้าที่หาทดกันได้ยาก จะมีความยืดหยุ่นน้อย เช่น ไข่
2. ความจาเป็นของสินค้า (Necessities vs Luxuries)
สินค้าจําเป็น (Necessities) เช่น บ้าน อาหาร ยารักษาโรค มักมีความยืดหยุ่นต่ํา
สินค้าไม่จําเป็น (Luxuries) เช่น เครื่องประดับ มักมีความยืดหยุ่นต่อราคาสูง
3. สัดส่วนรายได้ที่ใช้จ่ายต่อสินค้าหนึ่งๆ (The proportion of income spent on
the good)
สินค้าค้าใดที่ซื้อมีสัดส่วนรายได้ในการซื้อเยอะ จะมีความยืดหยุ่นสูง
สินค้าค้าใดที่ซื้อมีสัดส่วนรายได้ในการซื้อน้อย จะมีความยืดหยุ่นน้อย
ปัจจัยที่กาหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์
76
4. ระยะเวลาในการปรับตัวของผู้บริโภค (The time elapsed since a price change)
เวลาปรับตัวมาก ความยืดหยุ่นของสินค้านั้นก็มากตาม เช่น เมื่อน้ํามันแพง เปลี่ยนจากเติม
น้ํามันเบนซิน 95 มาเติม 91 เป็นต้น
เวลาปรับตัวน้อย ความยึดหยุ่นของสินค้านั้นก็น้อยตาม
5. นิสัยหรือความเคยชินของผู้บริโภค (Personality and Habit)
เมื่อผู้บริโภคนิยมสินค้าใดๆ หรือเสพติดสินค้าใด จะมีความยึดหยุ่นของอุปสงค์น้อย เช่น
บุหรี่ สุรา หรือ ชา กาแฟ เป็นต้น
แบบฝึกหัด
77
1. หากราคากาแฟลดลงจาก 60 บาท เป็น 40 บาทต่อแก้ว ปริมาณความต้องการซื้อ เพิ่มขึ้น
จาก 40 เป็น 55 แก้วต่อวัน ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคามีค่าเป็นเท่าใด จงคํานวณ (ความ
ยืดหยุ่นแบบจุด) และอธิบาย
วิธีทา:
|𝑬 𝒅| =
|
𝑸 𝟐 − 𝑸 𝟏
𝑸 𝟏
× 𝟏𝟎𝟎|
|
𝑷 𝟐 − 𝑷 𝟏
𝑷 𝟏
× 𝟏𝟎𝟎|
=
=
=
อธิบายความหมาย:
ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์และความสัมพันธ์กับรายรับรวม
78
รายรับรวม (Total Revenue)
หมายถึง มูลค่ารายรับจากการขายสินค้า โดยไม่คํานึงถึงต้นทุน หรือ กําไร
สูตรหารายรับรวม
TR = P x Q
การเปลี่ยนแปลงของ ราคา (P) จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของปริมาณที่ขายได้ (Q) ส่งผล
กระทบต่อ TR สามารถวิเคราะห์ได้ 2 กรณี
1. กรณี P ลดลง
2. กรณี P เพิ่มขึ้น
ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์และความสัมพันธ์กับรายรับรวม
79
สูตรหารายรับรวม
TR = P x Q
วิธีทา:
TR = P x Q
TR = 75 x 4
TR = 300
หรือมีค่าเท่ากับพื้นที่สี่เหลี่ยม
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์และความสัมพันธ์กับรายรับรวม
80
หากราคาเปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงของราคา (P) จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ
ปริมาณที่ขายได้ (Q) ส่งผลกระทบต่อรายรับรวม (TR) แยกตามกรณีได้ดังนี้
1. กรณีราคาเพิ่ม สูงขึ้น
P P P
Q Q
P2
P1
Q
Inelastic Demand
ความยืดหยุ่นน้อย
สินค้าจําเป็น
TR เพิ่มขึ้น
Elastic Demand
ความยืดหยุ่นมาก
สินค้าไม่จําเป็น
TR ลดลง
Unitary Elastic
TR เท่าเดิม
TR2 TR2 TR2
TR1 TR1 TR1
ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์และความสัมพันธ์กับรายรับรวม
81
หากราคาเปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงของราคา (P) จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ
ปริมาณที่ขายได้ (Q) ส่งผลกระทบต่อรายรับรวม (TR) แยกตามกรณีได้ดังนี้
2. กรณีราคา ลดลง
P P P
Q Q
P1
P2
Q
Unitary Elastic
TR เท่าเดิม
TR1 TR1 TR1
TR2 TR2 TR2
Inelastic Demand
ความยืดหยุ่นน้อย
เช่น สินค้าจําเป็น
TR ลดลง
Elastic Demand
ความยืดหยุ่นมาก
เช่น สินค้าไม่จําเป็น
TR เพิ่มขึ้น
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
(Income elasticity of demand)
82
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand: 𝑬𝒊) เป็นเครื่องมือ
ในการวัดการตอบสนองของอุปสงค์ต่อระดับรายได้ของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไป
การอธิบายความหมาย
• ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้สูง หมายความว่า สินค้าชนิดนั้นมีการตอบสนอง
ต่อรายได้ลูกค้าสูง เช่น สินค้าไม่จําเป็น สินค้าฟุ่มเฟือย
• ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ต่า หมายความว่า สินค้าชนิดนั้นมีการตอบสนอง
ต่อรายได้ลูกค้าต่ํา เช่น สินค้าจําเป็น
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
(Income elasticity of demand)
83
การอธิบายเครื่องหมาย
• ความยืดหยุ่น ( 𝑬𝒊) มีเครื่องหมายเป็นบวก แสดงว่าเป็นสินค้าปกติ (Normal Goods)
หมายถึง เมื่อระดับรายได้สูงขึ้น ผู้บริโภคมีความต้องการซื้อสินค้าปกติมากขึ้นตาม
ระดับรายได้
• ความยืดหยุ่น ( 𝑬𝒊) มีเครื่องหมายเป็นลบ แสดงว่าเป็นสินค้าด้อย (Inferior Goods)
หมายถึง เมื่อระดับรายได้สูงขึ้น ผู้บริโภคมีความต้องการซื้อสินค้าด้อยคุณภาพลดลง
การอธิบายค่าความยืดหยุ่น
• ความยืดหยุ่น (| 𝑬𝒊|) มีค่าสูง หรือ มากกว่า 1 แสดงว่าเป็นสินค้าฟุุมเฟือย (Luxuries)
• ความยืดหยุ่น (| 𝑬𝒊|) มีค่าต่ํา หรือ น้อยกว่า 1 แสดงว่าเป็นจาเป็น (Necessaries)
สูตรหาความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อรายได้
84
ลักษณะของ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
1. |% ΔQ| = |% Δi|, |𝑬𝒊| เท่ากับ 1 : มีลักษณะ unit elastic
2. |% ΔQ| > |% Δi|, |𝑬𝒊| มากกว่า 1 : มีลักษณะยืดหยุ่นสูง (elastic)
3. |% ΔQ| < |% Δi|, |𝑬𝒊| น้อยกว่า 1 : มีลักษณะยืดหยุ่นต่ํา (inelastic)
|𝑬𝒊| =
เปอร์เซ็นต์การเปลียนแปลงปริมาณอุปสงค์
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงรายได้
=
|%∆𝑸 𝒅|
|%∆𝒊|
สูตรหาความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อรายได้
85
|𝑬𝒊| =
เปอร์เซ็นต์การเปลียนแปลงปริมาณอุปสงค์
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงรายได้
=
|%∆𝑸 𝒅|
|%∆𝒊|
วิธีการคานวณ:
1. แบบจุด (Point Elasticity) 2. แบบช่วง (Arc Elasticity)
x100
i
)i-(i
100x
Q
)Q-(Q
|E|
1
12
1
12
i 
100x
2/)i(i
)i-(i
x100
2/)Q(Q
)Q-(Q
|E|
21
12
21
12
i



แบบฝึกหัด
86
1. เมื่อระดับรายได้ของผู้บริโภคเพิ่มขึ้นจาก 300 เป็น 450 บาทต่อวัน ทําให้เกิดความต้องการซื้อน้ําอัดลมลดลง
จาก 3 แก้วต่อวันเหลือ 1 แก้วต่อวัน จงคํานวณความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อรายได้ และอธิบายโดยพิจารณาจาก
เครื่องหมายและค่าความยืดหยุ่นว่าน้ําอัดลมเป็นสินค้าประเภทใด
วิธีทา: อธิบายความหมาย:
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบไขว้
(Cross-price elasticity of demand)
87
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบไขว้หรือ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น
(Cross-price Elasticity of Demand: 𝑬 𝒄) เป็นเครื่องมือในการวัดการตอบสนองของอุป
สงค์ต่อระดับราคาของสินค้าอื่นๆที่เปลี่ยนแปลงไป
การอธิบายความหมาย
• ความยืดหยุ่น (𝐸𝑐) มีเครื่องหมายเป็นบวก แสดงว่าสินค้าทั้งสองชนิดเป็นสินค้าแทน
กันได้ (Substitute Goods)
• ความยืดหยุ่น (𝐸𝑐) มีเครื่องหมายเป็นลบ แสดงว่าสินค้าทั้งสองชนิดเป็นสินค้าที่ต้อง
ใช้ร่วมกัน (Complimentary Goods)
สูตรหาความยืดหยุ่นอุปสงค์แบบไขว้
88
ลักษณะของ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบไขว้
1. |% ΔQ| = |% ΔP|, |𝑬 𝒄| เท่ากับ 1 : มีลักษณะ unit elastic
2. |% ΔQ| > |% ΔP|, |𝑬 𝒄| มากกว่า 1 : มีลักษณะยืดหยุ่นสูง (elastic)
3. |% ΔQ| < |% ΔP|, |𝑬 𝒄| น้อยกว่า 1 : มีลักษณะยืดหยุ่นต่ํา (inelastic)
|𝑬 𝒄| =
เปอร์เซ็นต์การเปลียนแปลงปริมาณอุปสงค์สินค้า A
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า B
=
|%∆𝑄𝐴
𝑑
|
|%∆𝑃𝐵|
สูตรหาความยืดหยุ่นอุปสงค์แบบไขว้
89
วิธีการคานวณ:
1. แบบจุด (Point Elasticity) 2. แบบช่วง (Arc Elasticity)
x100
P
)P-(P
100x
Q
)Q-(Q
|Ec|
1B
1B2B
1A
1A2A

100x
2/)P(P
)P-(P
x100
2/)Q(Q
)Q-(Q
|E|
2B1B
1B2B
2A1A
1A2A
c



|𝑬 𝒄| =
เปอร์เซ็นต์การเปลียนแปลงปริมาณอุปสงค์สินค้า A
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า B
=
|%∆𝑄𝐴
𝑑
|
|%∆𝑃𝐵|
แบบฝึกหัด
90
1. เมื่อระดับราคาโค้กเพิ่มขึ้น 40% ทําให้ผู้บริโภคหันมาดื่มเป๊ปซี่มากขึ้น 60% คําถาม จงคํานวณความยืดหยุ่น
อุปสงค์แบบไขว้ พร้อมทั้งอธิบายว่าโค้กและเป๊ปซี่เป็นสินค้าประเภทใด เพราะเหตุใด
วิธีทา: อธิบายความหมาย:
แบบฝึกหัด
91
2. เมื่อระดับราคาลูกขนไก่เพิ่มขึ้น 40% ทําให้ผู้บริโภคซื้อไม้แบดมินตันน้อยลง -20% คําถาม จงคํานวณความ
ยืดหยุ่นอุปสงค์แบบไขว้ พร้อมทั้งอธิบายว่าลูกขนไก่และไม้แบดมินตันเป็นสินค้าประเภทใด เพราะเหตุใด
วิธีทา: อธิบายความหมาย:
ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา
(Price Elasticity of Supply)
92
ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Price Elasticity of Supply: 𝑬 𝒔) เป็นเครื่องมือในการ
วัดการตอบสนองของอุปทานต่อระดับราคาที่เปลี่ยนแปลงไป
การอธิบายความหมาย
• ความยืดหยุ่นของอุปทานบอกให้รู้ถึงความมากน้อยของการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ
เสนอขาย หรือ ปริมาณการผลิต เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า
• การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า และการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอขาย จะ
เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
• ดังนั้น ค่าความยืดหยุ่นจะมีเครื่องหมายเป็นบวก
สูตรหาความยืดหยุ่นอุปทานต่อราคา
93
ลักษณะของ ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา
1. |% ΔQ| = |% ΔP|, |𝑬 𝒔| เท่ากับ 1 : มีลักษณะ unit elastic
2. |% ΔQ| > |% ΔP|, |𝑬 𝒔| มากกว่า 1 : มีลักษณะยืดหยุ่นสูง (elastic)
3. |% ΔQ| < |% ΔP|, |𝑬 𝒔| น้อยกว่า 1 : มีลักษณะยืดหยุ่นต่ํา (inelastic)
|𝑬 𝒔| =
เปอร์เซ็นต์การเปลียนแปลงปริมาณอุปทาน
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงราคา
=
|%∆𝑸 𝒔|
|%∆𝑷|
สูตรหาความยืดหยุ่นอุปทานต่อราคา
94
|𝑬 𝒔| =
เปอร์เซ็นต์การเปลียนแปลงปริมาณอุปสงค์
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงราคา
=
|%∆𝑸 𝒔|
|%∆𝑷|
วิธีการคานวณ:
1. แบบจุด (Point Elasticity) 2. แบบช่วง (Arc Elasticity)
100x
P
)P-(P
100x
Q
)Q-(Q
|E|
1
12
1
12
s 
100x
2/)P(P
)P-(P
100x
2/)Q(Q
)Q-(Q
|E|
21
12
21
12
s



ค่าความยืดหยุ่นกับลักษณะของเส้นอุปทาน
95
P
P
P
P
P
Q
Q
Q
Q
Q
S
S
S
S
S
𝑬 𝒔 > 𝟏
𝑬 𝒔 < 𝟏
𝑬 𝒔 = 𝟏
𝑬 𝒔 = ∞
𝑬 𝒔 = 𝟎
Elastic
Inelastic
Unitary Elastic
Perfectly
Elastic
Perfectly
Inelastic
%∆𝑸 𝒔
> %∆𝑷
%∆𝑸 𝒔 < %∆𝑷
%∆𝑸 𝒔 = %∆𝑷
%∆𝑸 𝒔 = ∞
%∆𝑷 = 𝟎
%∆𝑸 𝒔 = 𝟎
%∆𝑷 = ∞
ปัจจัยที่กาหนดความยืดหยุ่นอุปทาน
(Factors Influence the Elasticity of Supply)
96
ปัจจัยที่กาหนดความยืดหยุ่นของอุปทาน ประกอบด้วย 3 ปัจจัย ได้แก่
1. ระยะเวลาที่ใช้ในการผลิตสินค้า (Time Elapsed Since Price Change )
สินค้าเกษตร (ใช้เวลาผลิตนาน) มีความยืดหยุ่นต่ํา
สินค้าอุตสาหกรรม (ใช้เวลาผลิตน้อย) มีความยึดหยุ่นสูง
2. ความยากง่ายในการหาปัจจัยการผลิต(Production Possibilities)
การผลิตที่ใช้ปัจจัยการผลิตที่หาได้ยาก จะมีความยืดหยุ่นต่ํา
การผลิตที่ใช้ปัจจัยการผลิตที่หาได้ง่าย จะมีความยืดหยุ่นสูง
3. ความยากง่ายในการเข้าออกจากอุตสาหกรรมของผู้ผลิต (Entry or Exit)
การเข้าในอุตสาหกรรมได้ง่าย จะทําให้อุปทานมีความยืดหยุ่นสูง
การเข้าในอุตสาหกรรมได้ยาก จะทําให้อุปทานมีความยืดหยุ่นต่ํา
บทที่ 4
ประสิทธิภาพและความเป็นธรรมของตลาด
97
4.ประสิทธิภาพและความเป็นธรรม
(Efficiency and Equity)
98
ประสิทธิภาพของตลาดแข่งขัน
(Efficiency of Competitive Equilibrium)
หมายถึง จุดที่แสดงให้เห็นว่าตลาดการ
แข่งขันมีการจัดสรรทรัพยากรอย่างมี
ประสิทธิภาพ ณ จุดดุลยภาพ ซึ่งเป็นจุดที่
ปริมาณความต้องการซื้อเท่ากับปริมาณความ
ต้องการขาย และเป็นจุดที่ส่วนเกินผู้บริโภค
(Consumer surplus) และผู้ผลิต
(Producer surplus) มีความพึงพอใจสูงสุด
ไม่ก่อให้เกิดปัญหาการสูญเสียทางสังคมต่างๆ
(Dead Weight Loss)
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
ตลาดล้มเหลว (Market Failure)
99
ตลาดล้มเหลว (Market Failure)
หมายถึง ภาวะที่ตลาดไม่สามารถทํางานตาม
กลไกเพื่อนํามาซึ่งการจัดสรรทรัพยากรที่มี
ประสิทธิภาพได้ เช่น ราคาต่ําหรือสูงเกินไป การ
ผลิตมากเกินไป หรือ การผลิตน้อยเกินไป
สาเหตุของความล้มเหลวของตลาด
1. โครงสร้างของตลาด (market structure)
ที่เบี่ยงเบนไปจากตลาดแข่งขันสมบูรณ์
2. การทํางานของตลาดไม่สามารถสะท้อน
ต้นทุนหรือผลประโยชน์ที่แท้จริงของ
ทรัพยากรจากผลกระทบต่อภายนอก
(externalities)
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
สาเหตุของความล้มเหลวของตลาด
100
สาเหตุของความล้มเหลวของตลาดจากการผลิตมาก
หรือน้อยเกินไป (Over and Under production)
เกิดจากสาเหตุดังนี้
1. กฎระเบียบด้านราคาและปริมาณ (Price and
quantity regulations)
2. ภาษีและเงินอุดหนุน (Taxes and subsidies)
3. ผลกระทบภายนอก (Externalities)
4. สินค้าสาธารณะและทรัพยากรทั่วไป(Public
goods and common resources )
5. ผู้ผูกขาด (Monopoly)
6. ค่าใช้จ่ายในการทําธุรกรรมสูง (High
transactions costs)
ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version

More Related Content

What's hot

Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินOrnkapat Bualom
 
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์ssuser214242
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นKunlaya Kamwut
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตPattapong Promchai
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)Areewan Plienduang
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Unit 4 costs production
Unit 4 costs productionUnit 4 costs production
Unit 4 costs productionsavinee
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังOrnkapat Bualom
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลOrnkapat Bualom
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 

What's hot (20)

Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
 
03 ma
03 ma03 ma
03 ma
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
Unit 4 costs production
Unit 4 costs productionUnit 4 costs production
Unit 4 costs production
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 

Similar to Economic analysis for entrepreneur. thai version

เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่arm_smiley
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่supatra39
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่supatra39
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์sunisasa
 
เรื่องที่ 3 กระบวนการเล็งเห็นปัญหา000
เรื่องที่ 3 กระบวนการเล็งเห็นปัญหา000เรื่องที่ 3 กระบวนการเล็งเห็นปัญหา000
เรื่องที่ 3 กระบวนการเล็งเห็นปัญหา000JeenNe915
 
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0maruay songtanin
 
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSarinee Achavanuntakul
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์Saran Yuwanna
 
NESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and ProductivityNESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and Productivityguestad02e0
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpointthanaporn
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯThamonwan Theerabunchorn
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : Change 1ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา VS. ธุรกิจในเครือกฤษฎา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : Change 1ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา VS. ธุรกิจในเครือกฤษฎาดร.ดนัย เทียนพุฒ : Change 1ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา VS. ธุรกิจในเครือกฤษฎา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : Change 1ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา VS. ธุรกิจในเครือกฤษฎาDrDanai Thienphut
 

Similar to Economic analysis for entrepreneur. thai version (20)

เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
Introgecon
IntrogeconIntrogecon
Introgecon
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
Tu tot1
Tu tot1Tu tot1
Tu tot1
 
เรื่องที่ 3 กระบวนการเล็งเห็นปัญหา000
เรื่องที่ 3 กระบวนการเล็งเห็นปัญหา000เรื่องที่ 3 กระบวนการเล็งเห็นปัญหา000
เรื่องที่ 3 กระบวนการเล็งเห็นปัญหา000
 
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
 
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์
 
NESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and ProductivityNESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and Productivity
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpoint
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
Social Return on Investment
Social Return on InvestmentSocial Return on Investment
Social Return on Investment
 
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : Change 1ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา VS. ธุรกิจในเครือกฤษฎา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : Change 1ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา VS. ธุรกิจในเครือกฤษฎาดร.ดนัย เทียนพุฒ : Change 1ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา VS. ธุรกิจในเครือกฤษฎา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : Change 1ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา VS. ธุรกิจในเครือกฤษฎา
 
Plans
PlansPlans
Plans
 

More from warawut ruankham

Saving and investment puzzle in Thailand
Saving and investment puzzle in Thailand Saving and investment puzzle in Thailand
Saving and investment puzzle in Thailand warawut ruankham
 
Chapter 7 tradable permits
Chapter 7 tradable permitsChapter 7 tradable permits
Chapter 7 tradable permitswarawut ruankham
 
Chapter 14 equilibrium effects and market conditions
Chapter 14 equilibrium effects and market conditionsChapter 14 equilibrium effects and market conditions
Chapter 14 equilibrium effects and market conditionswarawut ruankham
 
The value of cultural heritage sites in southeast
The value of cultural heritage sites in southeastThe value of cultural heritage sites in southeast
The value of cultural heritage sites in southeastwarawut ruankham
 
Comparison utility in a growth model
Comparison utility in a growth modelComparison utility in a growth model
Comparison utility in a growth modelwarawut ruankham
 
Income and substitution effects of estate taxation
Income and substitution effects of estate taxationIncome and substitution effects of estate taxation
Income and substitution effects of estate taxationwarawut ruankham
 
Giffen behavior and subsistence consumption
Giffen behavior and subsistence consumptionGiffen behavior and subsistence consumption
Giffen behavior and subsistence consumptionwarawut ruankham
 
Fundamental economic analysis for managers
Fundamental economic analysis for managersFundamental economic analysis for managers
Fundamental economic analysis for managerswarawut ruankham
 
Cross-Border Transport and Trade Facilitation along R12 Route
Cross-Border Transport and Trade Facilitation along R12 Route Cross-Border Transport and Trade Facilitation along R12 Route
Cross-Border Transport and Trade Facilitation along R12 Route warawut ruankham
 
ผลกระทบราคาน้ำมัน
ผลกระทบราคาน้ำมันผลกระทบราคาน้ำมัน
ผลกระทบราคาน้ำมันwarawut ruankham
 

More from warawut ruankham (11)

Saving and investment puzzle in Thailand
Saving and investment puzzle in Thailand Saving and investment puzzle in Thailand
Saving and investment puzzle in Thailand
 
Travel cost model warawut
Travel cost model warawutTravel cost model warawut
Travel cost model warawut
 
Chapter 7 tradable permits
Chapter 7 tradable permitsChapter 7 tradable permits
Chapter 7 tradable permits
 
Chapter 14 equilibrium effects and market conditions
Chapter 14 equilibrium effects and market conditionsChapter 14 equilibrium effects and market conditions
Chapter 14 equilibrium effects and market conditions
 
The value of cultural heritage sites in southeast
The value of cultural heritage sites in southeastThe value of cultural heritage sites in southeast
The value of cultural heritage sites in southeast
 
Comparison utility in a growth model
Comparison utility in a growth modelComparison utility in a growth model
Comparison utility in a growth model
 
Income and substitution effects of estate taxation
Income and substitution effects of estate taxationIncome and substitution effects of estate taxation
Income and substitution effects of estate taxation
 
Giffen behavior and subsistence consumption
Giffen behavior and subsistence consumptionGiffen behavior and subsistence consumption
Giffen behavior and subsistence consumption
 
Fundamental economic analysis for managers
Fundamental economic analysis for managersFundamental economic analysis for managers
Fundamental economic analysis for managers
 
Cross-Border Transport and Trade Facilitation along R12 Route
Cross-Border Transport and Trade Facilitation along R12 Route Cross-Border Transport and Trade Facilitation along R12 Route
Cross-Border Transport and Trade Facilitation along R12 Route
 
ผลกระทบราคาน้ำมัน
ผลกระทบราคาน้ำมันผลกระทบราคาน้ำมัน
ผลกระทบราคาน้ำมัน
 

Economic analysis for entrepreneur. thai version

  • 2. ขอบเขตเนื้อหา • หลักเศรษฐศาสตร์จุลภาค 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชา เศรษฐศาสตร์ 2. อุปสงค์ อุปทาน และการกําหนดราคา 3. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน 4. ประสิทธิภาพและความเป็นธรรม 5. การผลิตและต้นทุนการผลิต 6. รายรับและกําไร 7. ตลาด โครงสร้างตลาด และการ กําหนดราคา 2 • หลักเศรษฐศาสตร์มหภาค 7. การกําหนดรายได้ประชาชาติ 8. บทบาทของภาครัฐบาล และนโยบาย การคลัง 9. การเงิน การธนาคาร สถาบันการเงิน และนโยบายการเงิน 10. เศรษฐกิจระหว่างประเทศ 11. ดัชนีชี้วัดทางเศรษฐกิจที่สําคัญ
  • 4. 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์ 1. เศรษฐศาสตร์คืออะไร 2. ความสําคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์ 3. เศรษฐศาสตร์จุลภาคกับเศรษฐศาสตร์มหภาค 4. แนวความคิดพื้นฐาน (Economic Way of Thinking) 5. การหามาได้ยากหรือการขาดแคลน (Scarcity) 6. การเลือก (Choice) 7. ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost) 8. เส้นความเป็นไปได้ในการผลิต (Production Possibility Curve) 9. หน่วยเศรษฐกิจและวงจรเศรษฐกิจ 10. กิจกรรมทางเศรษฐกิจ 4
  • 5. เศรษฐศาสตร์คืออะไร • เศรษฐศาสตร์ หรือ Economics เป็นคําที่มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก “Oikonomikos” (Oikos = บ้าน + nomos = การดูแลจัดการ) ซึ่งหมายถึง ศาสตร์ ที่เกี่ยวกับการจัดการครอบครัว (household management) เนื่องจากในสมัยก่อน ชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ยังอยู่ในสังคมที่แคบ การผลิตในสมัยนั้นเป็นการผลิตเพื่อ ใช้บริโภคกันเองภายในครอบครัว สินค้าที่ผลิตขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นพวกอาหารและ สินค้าที่จําเป็นในการดํารงชีพ • เศรษฐศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่ศึกษาถึงวิธีการจัดสรรการเลือกใช้ (Choices) ทรัพยากร อันมีอยู่อย่างจํากัด (scarcity resources) เพื่อผลิตสินค้าและบริการต่างๆ สนอง ความต้องการของมนุษย์ซึ่งโดยทั่วไปมีความต้องการไม่จํากัด (Unlimited Wants) ให้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด (Efficiency) 5
  • 6. ความสาคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์ • ด้านบุคคล เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวันของทุกคน เช่น ปัญหา การเลือกใช้สินค้าบริการ การว่างงาน การขึ้นราคาของสินค้า ซึ่งปัญหาเหล่านี้ย่อม ต้องมีความรู้ในทางเศรษฐศาสตร์เพื่อเป็นแนวทางแก้ไขที่ดีและถูกต้อง • ด้านประชาชน การเรียนรู้วิชาเศรษฐศาสตร์ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจกลไกการทํางานของ ระบบเศรษฐกิจ บทบาท และหน้าที่ของหน่วยต่าง ๆ ในระบบเศรษฐกิจ • ด้านการบริหาร ผู้บริหารงานในทุกระดับของหน่วยเศรษฐกิจควรมีความรู้ความเข้าใจ ในทางเศรษฐศาสตร์เพราะปัญหาทางเศรษฐกิจจําเป็นต้องอาศัยความรู้เศรษฐศาสตร์ ไปวิเคราะห์หรือไปแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารงานต่าง ๆ 6
  • 7. เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) • เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Micro economics) เป็นการศึกษาลักษณะพฤติกรรมของ หน่วยเศรษฐกิจย่อยต่างๆ ในระบบเศรษฐกิจอันได้แก่ หน่วยผลิต หน่วยธุรกิจ ผู้ผลิต ผู้บริโภค ปัจจัยการผลิต ฯลฯ และศึกษาเกี่ยวกับการกําหนดราคาของสินค้าแต่ละ ชนิด ต้นทุนและปริมาณการผลิตของสินค้าแต่ละชนิดในตลาดสินค้าแบบต่างๆ การ กําหนดราคาของปัจจัยการผลิต • ทฤษฎีสาคัญ ที่ใช้ศึกษาและวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์จุลภาค ได้แก่ ทฤษฎีผู้บริโภค ทฤษฎีการผลิต และทฤษฎีการกําหนดราคาของปัจจัยการผลิต ซึ่งรวมกันเรียกสั้นๆ ว่า “ทฤษฎีราคา” 7
  • 8. เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) • เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macro economics) เป็นการศึกษาเศรษฐกิจทั้งระบบหรือ ส่วนหนึ่งส่วนใดของระบบเศรษฐกิจ ได้แก่ รายได้ประชาชาติ ระดับราคาสินค้าและ บริการโดยทั่วไป ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้ การบริโภค การออมและการลงทุน ระดับการจ้างงานโดยทั่วไป การหารายได้และการใช้จ่ายของรัฐบาล การเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ • ทฤษฎีสาคัญ ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์มหภาค ได้แก่ ทฤษฎีการกําหนดรายได้และ การจ้างงาน ทฤษฎีการเติบโตทางเศรษฐกิจ ซึ่งประกอบด้วยทฤษฎีแยกย่อยต่างๆ อีก มากมายหลายทฤษฎี 8
  • 9. เศรษฐศาสตร์มหาภาค (Macroeconomics) รวมถึงการศึกษาปัญหาเศรษฐกิจมหาภาค (Macroeconomic Issues) ต่าง ๆ เช่น • ปัญหาการเติบโตอย่างมีดุลยภาพในระยะยาว • ปัญหาวัฏจักรเศรษฐกิจ • ปัญหาการว่างงาน • ปัญหาความไม่มีเสถียรภาพของระดับราคา • ปัญหาผลกระทบจากกระทบระบบโลกาภิวัตน์ • ปัญหามาตรฐานการดํารงชีพ • ปัญหาการขาดดุลงบประมาณและดุลการค้า • ปัญหาว่านโยบายรัฐจะสามารถปรับปรุงยกระดับฐานะทางเศรษฐกิจให้ดีขึ้นได้หรือไม่ • ปัญหาอื่นๆ 9
  • 10. เศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ • ระดับจุลภาค การศึกษาด้านบริหารธุรกิจเป็นการศึกษาที่มุ่งแก้ปัญหาภายในธุรกิจต่าง ๆ เช่น การบริหารบริษัทอย่างไรจึงจะได้กําไรสูงสุด วิชาเศรษฐศาสตร์ช่วยในการ ตัดสินใจในการลงทุนหรือคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต รวมถึงการวิเคราะห์ตลาด และหลักการตั้งราคาในภาพรวม • ระดับมหภาค เศรษฐศาสตร์เป็นกรอบแนวคิดในการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจใน ภาพรวมที่อาจกระทบการดําเนินธุรกิจ เช่น ระดับราคา ระดับความต้องการ ภาวะเงิน เฟ้อ อัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย และ ระดับการจ้างงาน เป็นต้น 10
  • 11. ลักษณะทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ 1. เศรษฐศาสตร์ตามความเป็นจริง หรือ เศรษฐศาสตร์พรรณนา (Positive หรือ descriptive economics) การศึกษาเศรษฐศาสตร์เป็นการศึกษาเพื่อให้เข้าใจพฤติกรรม ของหน่วยเศรษฐกิจหรือระบบเศรษฐกิจในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพื่อให้รู้ว่า อะไรคือสาเหตุ ทําให้เราสามารถพยากรณ์เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยไม่คํานึงถึง เป้าหมายทางสังคม ไม่นําเอาจริยธรรม ค่านิยม ความคิดทางสังคมมาพิจารณาร่วมด้วย 2. เศรษฐศาสตร์ตามที่ควรจะเป็น หรือเศรษฐศาสตร์นโยบาย (normative หรือ policy economics) การศึกษาที่กล่าวถึงพฤติกรรมของหน่วยเศรษฐกิจ หรือระบบเศรษฐกิจโดย มีการสอดแทรกข้อเสนอแนะที่เห็นว่าถูกหรือควรจะเป็นลงไปด้วย โดยคํานึงถึงเป้าหมาย ทางสังคมสอดแทรกความต้องการของสังคม มีการนําเอาค่านิยม จริยธรรม แนวคิดทาง สังคมเข้าร่วมพิจารณา 11
  • 12. แนวความคิดพื้นฐาน (Economic Way of Thinking) แนวความคิดพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ที่สําคัญประกอบด้วย 6 ประการ ดังนี้ 12 No แนวความคิด Way of Thinking 1 ไม่มีสิ่งใดได้มาฟรี ได้อย่างย่อมเสียอย่าง There is no free lunch, a choice is a tradeoff. 2 มนุษย์ตัดสินใจด้วยเหตุและผล People make rational choices by comparing benefits and costs. 3 ผลประโยชน์คือสิ่งที่ได้รับ Benefit is what you gain from something. 4 ต้นทุนคือสิ่งที่เสียไป หรือเรียกว่า ต้นทุนค่า เสียโอกาส Cost is what you must give up to get something, sometimes called Opportunity cost 5 การตัดสินใจมักพิจารณาจาก ส่วนเพิ่ม Most choices are “how-much” choices made at the margin. 6 การตัดสินใจขึ้นอยู่กับแรงจูงใจ Choices respond to incentives
  • 13. การหามาได้ยากหรือการขาดแคลน (Scarcity) ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์ มีความขาดแคลน (Scarcity) ดังนั้น จึงจําเป็นต้องตอบ ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ 3 ประการดังนี้ 1. จะผลิตสินค้าอะไร (What to Produce) เป็นปัญหาที่สังคมต้องตัดสินใจว่าจะผลิตสินค้า อะไรตามความเชี่ยวชาญและทรัพยากรการผลิตที่มีอย่างจํากัด 2. จะผลิตอย่างไร (How to Produce) วิธีการผลิตว่าจะผลิตแบบใด ต้องใช้ปัจจัยการผลิต อะไรจึงจะเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและเสียต้นทุนให้ต่ําที่สุด 3. จะผลิตเพื่อใคร (For Whom to Produce) เป็นปัญหาที่ต้องพิจารณาว่าควรจะผลิตสินค้า เพื่อกลุ่มบุคคลใดที่สามารถเต็มใจจ่ายเงินซื้อตามราคาตลาด หรือรัฐบาลจะเป็นผู้ตัดสินเอง ว่าใครควรจะได้รับสินค้าที่ผลิตขึ้นมานั้น 13
  • 14. การเลือก (Choice) หลักธรรมชาติพื้นฐานของการเลือก 1. มนุษย์เป็นสัตว์ที่มีเหตุผลในการเลือก (Rational Choice)  เช่น เลือกที่ตนได้อรรถประโยชน์สูงสุด (Maximized Utility) 2. ทุกทางเลือกเผชิญปัญหา ได้อย่าง-เสียอย่าง (Trade-off)  เช่น เลือกประสิทธิภาพ หรือ การเติบโต 3. ทุกทางเลือกจะได้มาซึ่งประโยชน์และสิ่งที่ต้องเสียไป (Benefit vs. Cost)  เช่น เลือกจากผลประโยชน์สุทธิ (Net Benefit) 4. มนุษย์เลือกโดยพิจารณาส่วนเพิ่ม (Choosing at the Margin)  เช่น เลือกบริโภคตามหลัก Law of Diminishing Marginal Utility 5. การตัดสินใจเลือกขึ้นอยู่กับแรงจูงใจ (Incentive)  เช่น Carrot or Stick 14
  • 15. ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost) • ต้นทุนค่าเสียโอกาส คือต้นทุนของการตัดสินใจเลือกใดๆ ซึ่งหมายถึงมูลค่าทางเลือก สูงสุดในการใช้ทรัพยากรที่ต้องเสียสละไปเมื่อได้ตัดสินใจเลือกทางเลือกอื่น (The best alternative choices forgone) • ตัวอย่างเช่น มีที่ดินอยู่แปลงหนึ่งถ้าให้เขาเช่าจะได้ค่าเช่าปีละ 90,000 บาท ถ้าปลูก ผักจะมีรายได้ปีละ 20,000 บาท และถ้าปลูกพืชไร่จะมีรายได้ปีละ 40,000 บาท ดังนั้น – ต้นทุนค่าเสียโอกาสในการปลูกผัก คือ ค่าเช่าปีละ 90,000 บาท ที่ต้องเสียไป – ต้นทุนค่าเสียโอกาสในการปลูกพืชไร่ คือ ค่าเช่าปีละ 90,000 บาท ที่ต้องเสียไป 15
  • 16. เส้นความเป็นไปได้ในการผลิต (Production Possibility Curve) 16 • เนื่องจากในระบบเศรษฐกิจมีทรัพยากร อย่างจํากัด ดังนั้นจําเป็นต้องเลือกผลิต ภายใต้เงื่อนไขทรัพยากรและเทคโนโลยี ที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด • เส้นความเป็นไปได้ในการผลิต (PPC) หมายถึงเส้นที่แสดงถึงการเลือกผลิต สินค้าจํานวนต่างๆ ที่ผลิตได้อย่างมี ประสิทธิภาพภายใต้เงื่อนไขข้อจํากัด ด้านทรัพยากรและเทคโนโลยี ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 17. เส้นความเป็นไปได้ในการผลิต (Production Possibility Curve) 17 สมมติฐาน • เลือกผลิตสินค้า 2 ชนิด, ทรัพยากรจํากัด เทคโนโลยีคงที่, ปัจจัยการผลิตสินค้าทดแทน กันไม่ได้สมบูรณ์ เส้น PPC บอกอะไร • การแลกเปลี่ยน (Trade-off) • การได้มาเปล่า (Free Lunch) • ประสิทธิภาพในการผลิต (Efficiency) • การผลิตที่ไม่มีประสิทธิภาพ (Inefficiency) ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 18. เส้นความเป็นไปได้ในการผลิต (Production Possibility Curve) 18 เส้น PPC บอกอะไร • การเติบโตทางเศรษฐกิจ (Economic Growth) ซึ่งเป็นผลจาก – เทคโนโลยีที่ดีขึ้น (T) – การพัฒนาคุณภาพทรัพยากรการผลิต เช่น ประสิทธิภาพแรงงาน (L) และ ต้นทุน (K) ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 19. หน่วยเศรษฐกิจและวงจรเศรษฐกิจ 19 หน่วยเศรษฐกิจแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1. ครัวเรือน (Household) หมายถึง กลุ่มคนที่อยู่ในครอบครัวเดียวกันเป็นเจ้าของปัจจัย การผลิต โดยมีการตัดสินใจร่วมกันเกี่ยวกับการขายปัจจัยการผลิตและซื้อสินค้าและบริการ ต่างๆ เพื่อบริโภค 2. ธุรกิจ (Firm) หมายถึง ผู้ที่ทําหน้าที่ตัดสินใจซื้อปัจจัยการผลิตมาเพื่อทําการผลิตเป็น สินค้าและบริการ และขายสินค้าบริการที่ผลิตขึ้นให้กับผู้บริโภคในหน่วยเศรษฐกิจอื่น 3. รัฐบาล (Government) หมายถึง คณะรัฐบาลและหน่วยงานของรัฐที่ทําหน้าที่ในทาง การเมือง และควบคุมดูแลการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของธุรกิจและครัวเรือน 4. การเงิน (Bank) หมายถึง ผู้ที่ทําหน้าที่เป็นตัวกลางในการทําธุรกรรมทางการเงินระหว่าง ภาคอื่นๆ
  • 20. หน่วยเศรษฐกิจและวงจรเศรษฐกิจ 20 วงจรเศรษฐกิจ แสดงการไหลเวียนของเงินใน ระบบเศรษฐกิจ (Circular Flow) ระหว่างหน่วยเศรษฐกิจต่างๆ แบ่ง ออกเป็น 2 ลักษณะคือ 1. ระบบเศรษฐกิจแบบเปิด 2. ระบบเศรษฐกิจแบบปิด Bank Gov Deposit Tax TaxLending Interest Interest ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (3)
  • 21. Circular Flow Diagram 21 Spending Goods and services bought Revenue Goods and services sold Labor, land, and capital International Trade Income = Flow of inputs and outputs = Flow of dollars Factors of production Wages, rent, and profit FIRMS •Produce and sell goods and services •Hire and use factors of production •Buy and consume goods and services •Own and sell factors of production HOUSEHOLDS Foreign Countries •Households sell •Firms buy MARKETS FOR FACTORS OF PRODUCTION •Firms sell •Households buy MARKETS FOR GOODS AND SERVICES Opened Economy ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (3)
  • 22. กิจกรรมทางเศรษฐกิจ 22 กิจกรรมทางเศรษฐกิจ หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวกับการดํารงชีวิตของมนุษย์ทุกคน ซึ่งจะ ประกอบไปด้วย การผลิต (Production) การแลกเปลี่ยน (Exchange) การบริโภค (consumption) และการกระจาย (Distribution) โดยธรรมชาติของมนุษย์แล้วทําธุรกิจการค้าเพื่อมุ่งหวังการมีกําไร รายได้ จึงก่อให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจขึ้นมา การผลิตทางเศรษฐศาสตร์ (Production) 1. การผลิตขั้นต้น (Primary production) เป็นขั้นตอนการผลิตที่เก็บเกี่ยวผลประโยชน์จากธรรมชาติ โดยไม่มีการดัดแปลหรือแปรสภาพ เช่น การทําเกษตร ทําป่าไม้ เป็นต้น 2. การผลิตที่สอง (Secondary production) เป็นกิจกรรมการผลิตที่จะช่วยเพิ่มคุณค่าของวัตถุดิบที่ได้ จากการผลิตขั้นต้น เพื่อให้มีคุณค่า และราคาสูงขึ้น 3. การผลิตขั้นที่สาม (Tertiary production) เป็นกิจกรรมการให้บริการที่จะช่วยให้การจําหน่ายจ่าย แจกผลผลิตที่เกิดจากขั้นต้นและขั้นที่สองไปสู่มือผู้บริโภค ซึ่งต้องอาศัยการคมนาคมขนส่งเป็นตัวกลาง
  • 23. แบบฝึกหัด 23 1. การศึกษาวิเคราะห์ดังต่อไปนี้จัดเป็นทฤษฎีเศรษฐศาสตร์รูปแบบใด ข้อ การวิเคราะห์ ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ประเภทใด 1 การศึกษาความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจของโครงการคลองชลประทาน 2 การศึกษาความเหมาะสมของนโยบายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 3 การวิเคราะห์ผลกระทบของราคาน้ํามันต่อมูลค่าการค้าระหว่างประเทศ 4 การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคในยุคดิจิทัลต่อยอดขายของร้านค้าปลีก ในจังหวัดเชียงราย 5 การศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาสัปปะรดนางแลล้นตลาด
  • 24. แบบฝึกหัด 24 2. เทศบาลมีพื้นที่ส่วนสาธารณประโยชน์จํานวน 30 ไร่ มีต้นทุนในการดูแลรักษาปีละ 5 แสน บาท หากเทศบาลตัดสินใจปล่อยเช่ายกแปลง จะมีรายได้ดังต่อไปนี้ ก. ปล่อยเช่าให้ชุมชนในการจัดตลาดนัดปีละ 3 แสนบาท ข. ปล่อยเช่าให้บริษัทเอกชนปีละ 2 ล้านบาท ค. ปล่อยเช่าให้เกษตรกรเพาะปลูกพืชผักอินทรีย์ปีละ 6 แสนบาท 2.1 ต้นทุนค่าเสียโอกาสในการปล่อยเช่าให้บริษัทเอกชนคือเท่าใด 2.2 ต้นทุนค่าเสียโอกาสในการปล่อยเช่าให้เกษตรกรคือเท่าใด 2.3 ต้นทุนค่าเสียโอกาสในการปล่อยเช่าให้ชุมชนคือเท่าใด
  • 25. แบบฝึกหัด 25 3. ถ้าเส้นเป็นไปได้ในการผลิต ( Production Possibility Curve ) ของไทยเป็นดังรูป ข้างล่าง โดยที่ JL เป็นเส้น PPC เมื่อปี 2540 และ JL’ เป็นเส้น PPC ของปี 2544 3.1 เหตุใดเส้น PPC จึงเปลี่ยนตําแหน่งจาก JL เป็น JL’ 3.2 ต้นทุนการผลิตคอมพิวเตอร์จะสูงขึ้นหรือ ลดลงเมื่อเส้น PPC เปลี่ยนจาก JL เป็น JL’ เพราะเหตุใด L’ ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 26. แบบฝึกหัด 26 4. หากภาคธุรกิจ (Firm) ดําเนินการผลิตโดยไม่คํานึงถึงทรัพยากรที่มีอยู่อย่างขาดแคลนและ จํากัด (Scarcity and limited resources) จะเกิดปัญหาใด จงอธิบายโดยใช้หลักการของเส้น ความเป็นไปได้ในการผลิต (PPC)
  • 27. แบบฝึกหัด 27 5. จงพิจารณาว่าโครงการใด ไม่ เหมาะสมที่จะลงทุนที่สุด ก. โครงการที่ Benefit > Cost ข. โครงการที่ Benefit < Cost ค. โครงการที่ Benefit = Cost ง. โครงการที่ Benefit ≥ Cost
  • 28. บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกาหนดราคาดุลยภาพ
  • 29. 2. อุปสงค์ อุปทาน และการกาหนดราคาดุลยภาพ 29 อุปสงค์ (Demand) อุปทาน (Supply) ดุลยภาพ (Equilibrium) ความหมายของอุปสงค์ ตารางอุปสงค์ เส้นอุปสงค์ ความหมายของอุปทาน ตาราง อุปทาน เส้นอุปทาน ความหมายของดุลยภาพเชิง สถิต คณิตศาสตร์ และความ เป็นจริงอุปสงค์ตลาด อุปทานตลาด กฎของอุปสงค์ กฎของอุปทาน ตัวกําหนดอุปสงค์และฟังก์ชั่นอุปสงค์ ตัวกําหนดอุปทานและฟังก์ชั่นอุปทาน การวิเคราะห์การ เปลี่ยนแปลงดุลยภาพ ผลต่อราคาและปริมาณ การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ (Change in quantity demanded) การเปลี่ยนแปลงปริมาณการเสนอ ขาย (Change in quantity supply) การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์ (Shift demand curve) และการเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทาน (Shift supply curve)
  • 30. อุปสงค์ (Demand) 30 อุปสงค์ (Demand) หมายถึง ความต้องการ (Wants) ความเต็มใจซื้อ (Willing) และ ความสามารถ (Ability) ในการซื้อสินค้าใดๆของผู้บริโภค ณ ระดับรายได้ที่มี ราคาที่กําหนด และเวลาใดๆ ปริมาณความต้องการสินค้า (Quantity Demanded: Qd ) หมายถึง ปริมาณสินค้าที่ ผู้บริโภคต้องการ ณ รายได้ ราคา และช่วงเวลาใดๆ เมื่อพูดถึงอุปสงค์ หรือ ความต้องการซื้อ ต้องประกอบด้วย 1. ความเต็มใจที่จะซื้อ (Willingness to pay) 2. ความสามารถในการซื้อ (Ability to pay) มิฉะนั้นจะไม่เกิดการซื้อสินค้า
  • 31. ตารางและเส้นอุปสงค์ (Demand Curve) 31 ตารางและเส้นอุปสงค์ บ่งบอกความสัมพันธ์ระหว่างราคาสินค้าและปริมาณความต้องการซื้อ ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 32. อุปสงค์ตลาด (Market Demand) 32 อุปสงค์ตลาด (Market Demand) หมายถึง ความต้องการ (Wants) ความเต็มใจซื้อ (Willing) และความสามารถ (Ability) ในการซื้อสินค้าใดๆของผู้บริโภคทุกคนในตลาดหรือความต้องการ ของตลาดโดยภาพรวม ณ ราคาที่กําหนด และเวลาใดๆ ตัวอย่าง: ในตลาดมีผู้บริโภค 2 ราย สามารถหาอุปสงค์ตลาดได้ดังนี้ ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 33. กฎของอุปสงค์ (Law of Demand) 33 กฎของอุปสงค์ (Law of Demand) กําหนดไว้ว่าเมื่อปัจจัยอื่นๆ คงที่(Ceteris Paribus) ระดับราคา (P) จะแปรผกผันหรือมีความสัมพันธ์ทางลบกับปริมาณความต้องการ (Qd) ดังนั้นเส้นอุปสงค์จึงเป็นเส้นที่มีความชันเป็นลบ (Negative Slope) ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 34. ปัจจัยกาหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) 34 ปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์ ประกอบด้วย 2 ประเภท ได้แก่ 1. ปัจจัยกําหนดทางตรง (Direct Determinants) คือ ราคาสินค้า 2. ปัจจัยกําหนดทางอ้อม (Indirect Determinants) ประกอบด้วย รายได้ รสนิยม ฤดูกาล จํานวนประชากร การคาดการราคาและรายได้ และ ราคาสิ้นค้าอื่นที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่ สินค้าที่ใช้ร่วมกัน และสินค้าที่ทดแทนกัน (รวมถึงปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น สิ่งกระตุ้นทางการตลาด นโยบาย หรือ ปัจจัยด้านจิตวิทยา เป็นต้น)
  • 35. ฟังก์ชั่นอุปสงค์ (Demand Function) 35 ฟังก์ชั่นอุปสงค์ (Demand Function) โดยที่ คือ ปริมาณความต้องการสินค้า x คือ ตัวกําหนดทางตรง คือ ราคาสินค้า x คือ ตัวกําหนดทางอ้อมเช่น รายได้ รสนิยม ฤดูกาล จํานวน เป็นต้น ,...),,,( 321 AAAPfQ x d x  d xQ xP nA
  • 36. การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ (Change in quantity demanded) 36 การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ (Change in quantity demanded) เป็นการเปลี่ยนแปลงปัจจัย กําหนดอุปสงค์ทางตรง (ซึ่งก็คือการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า) โดยที่ปัจจัยกําหนดอุปสงค์อื่นๆ คงที่ การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อจะทําให้เกิดการเคลื่อนที่ของจุดบนเส้นอุปสงค์ (Move along the line) ตัวอย่าง: ราคาเปลี่ยนแปลง 1) เมื่อราคาสินค้าเพิ่มขึ้น ทําให้จุด A เคลื่อนที่ไปจุด B ปริมาณความต้องการซื้อลดลง 2) เมื่อราคาสินค้าลดลง ทําให้จุด A เคลื่อนที่ไป C ปริมาณความต้องการซื้อเพิ่มขึ้น A B C ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 37. การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์ (Shift demand curve) 37 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์ (Shift demand curve) เป็นการเปลี่ยนแปลงปัจจัยกําหนด อุปสงค์ทางอ้อม โดยที่ปัจจัยกําหนดอุปสงค์ทางตรงคงที่ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะทําให้เกิด การเคลื่อนย้ายเส้นอุปสงค์ (Shift) ตัวอย่าง: รายได้เปลี่ยนแปลง 1) เมื่อรายได้เพิ่มขึ้น ทําให้เส้น D0 ย้ายไปทางขวาเป็นD1 ปริมาณความต้องการซื้อเพิ่มขึ้น 2) เมื่อรายได้ลดลง ทําให้เส้น D0 ย้ายไปทางซ้ายเป็น D2 ปริมาณความต้องการซื้อลดลง ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 38. สินค้าตามระดับรายได้ 38 รายได้เป็นปัจจัยทางอ้อมที่กําหนดความต้องการสินค้า สินค้าทางที่สัมพันธ์กับรายได้ ประกอบด้วย สินค้า 3 ประเภท ได้แก่ 1. สินค้าทั่วไป (Normal Goods) คือสินค้าที่มีความต้องการซื้อมากขึ้นเมื่อระดับรายได้ สูงขึ้น เช่น สินค้าอุปโภคบริโภค เครื่องนุ่งห่ม อาหาร เป็นต้น 2. สินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods) คือสินค้าที่ไม่มีคุณภาพ ราคาต่ํา ผู้บริโภคต้องการ สินค้าชนิดนี้เพิ่มขึ้นเมื่อมีรายได้ต่ําลง เช่น บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป เป็นต้น 3. สินค้ากิฟเฟน (Giffen Goods) เป็นสินค้าชนิดเดียวที่ไม่เป็นไปตามกฎอุปสงค์ คือ ปริมาณการต้องการซื้อจะสูงขึ้นเมื่อระดับราคาสูงขึ้น ถูกตั้งชื่อตามผู้ค้นพบเหตุการณ์นี้ คือ เซอร์รอเบิร์ต กิฟเฟน (Sir Robert Giffen) ตัวอย่างเช่นสินค้าฟุ่มเฟือย สินค้าหรูหรา สินค้าที่มีชิ้นเดียวในโลก เครื่องประดับ อัญมณี เป็นต้น
  • 39. แบบฝึกหัด 39 จงวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ ต่อปริมาณความต้องการซื้อสินค้า ประเภทสินค้าจําเป็น สินค้าไม่จําเป็น และสินค้าที่ไม่ตอบสนองต่อปัจจัยใดๆ โดยทําเครื่อง หมาย / ลงในตาราง หากท่านคิดว่าส่งผล หรือทําเครื่องหมาย – ลงในตาราง หากท่านคิดว่าไม่ส่งผล และตอบคําถามต่อไปนี้
  • 40. 40 1. จงวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงปัจจัยดังต่อไปนี้ต่อปริมาณความต้องการซื้อ สินค้าจาเป็น เช่น สินค้าอุปโภคบริโภค เหตุการณ์ ปัจจัยกาหนด อุปสงค์ การเปลี่ยนแปลง อุปสงค์ ผลต่อปริมาณ ความต้องการซื้อ ทางตรง ทางอ้อม ย้ายจุด ย้ายเส้น ลดลง เพิ่มขึ้น 1 ค่าแรงขั้นต่ําเพิ่มเป็น 1,000 ต่อวัน 2 ราคาสินค้าจําเป็นลดลง 50 % 3 ตลาดธงฟ้าออกโปรฯ ซื้อ 1 แถม 1 4 การคาดการณ์ว่ารายได้จะลดลง 5 จํานวนประชากรคาดว่าจะเพิ่มขึ้น 6 ภัยทางธรรมชาติ เช่น น้ําท่วมหนัก 7 เงินเฟ้อขั้นรุนแรง 8 ลุงตู่ป่วยเป็นโรคความจําสั้น
  • 41. 41 2. จงวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงปัจจัยดังต่อไปนี้ต่อปริมาณความต้องการซื้อ สินค้าไม่จาเป็น เช่น กาแฟ Amazon เหตุการณ์ ปัจจัยกาหนด อุปสงค์ การเปลี่ยนแปลง อุปสงค์ ผลต่อปริมาณ ความต้องการซื้อ ทางตรง ทางอ้อม ย้ายจุด ย้ายเส้น ลดลง เพิ่มขึ้น 1 ค่าแรงขั้นต่ําเพิ่มเป็น 1,000 ต่อวัน 2 ราคากาแฟ Starbuck ลดลง 50 % 3 ราคากาแฟ Starbuck เพิ่มขึ้น 50 % 4 บัตรสะสมแต้ม Blue Card 5 ภาษีมูลค่าเพิ่มขึ้นเป็น 15 % 6 ราคาน้ํามันดิบเพิ่มขึ้น 150% 7 ราคาเมล็ดกาแฟเพิ่มขึ้น 200% 8 ลุงตู่ป่วยเป็นโรคความจําสั้น
  • 42. แบบฝึกหัด 42 3. เมื่อพ่อนาย ก เสียชีวิต จงวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงปัจจัยดังต่อไปนี้ต่อปริมาณความต้องการ ซื้อ โรงศพ ของนาย ก เหตุการณ์ ปัจจัยกาหนด อุปสงค์ การเปลี่ยนแปลง อุปสงค์ ผลต่อปริมาณ ความต้องการซื้อ ทางตรง ทางอ้อม ย้ายจุด ย้ายเส้น ลดลง เพิ่มขึ้น 1 ค่าแรงขั้นต่ําเพิ่มเป็น 1,000 ต่อวัน 2 นาย ก ถูกสลากรัฐบาลรางวัลที่ 1 3 นาย ก ป่วยเป็นมะเร็ง 4 ราคาโรงศพเพิ่มขึ้น 800 % 5 ราคาโรงศพลดลง 800 % 6 นาย ก คาดว่าราคาโรงศพจะลดลง 7 ตู่ป่วยเป็นโรคความจําสั้น
  • 43. แบบฝึกหัด 43 4. จากการวิเคราะห์ข้อ 1-3 ท่านคิดว่า สินค้าชนิดใดที่อุปสงค์ ไม่มีความยืดหยุ่นต่อราคา เพราะ เหตุใด 5. จากการวิเคราะห์ข้อ 1-3 ท่านคิดว่า สินค้าใดมีปริมาณความต้องการซื้อมากกว่า ในกรณีเกิด ภัยพิบัติทางธรรมชาติ เพราะเหตุใด 6. จากการวิเคราะห์ข้อ 1-3 หากท่านต้องการผลิตสินค้า 1 ประเภท ท่านจะเลือกผลิตสินค้าใด เพราะเหตุใด
  • 44. อุปทาน (Supply) อุปทาน (Supply) หมายถึง ความต้องการ (Wants) ความเต็มใจผลิต (Willing) และ ความสามารถ (Ability) ในการนําสินค้าออกมาขาย ของผู้ผลิต ณ ราคาที่กําหนด และเวลาใดๆ ปริมาณความต้องการผลิต (Quantity Supply: Qs ) หมายถึง ปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิต ต้องการและเต็มใจจะผลิต ณ รายได้ ราคา และช่วงเวลาใดๆ เมื่อพูดถึงอุปทานหรือ ความต้องการผลิต ต้องประกอบด้วย 1. ความเต็มใจที่จะผลิต (Willingness to produce) 2. ความสามารถในการนําออกมาขาย (Ability to sale) มิฉะนั้นจะไม่เกิดการผลิตและขายสินค้า 44
  • 46. อุปทานตลาด (Market Supply) 46 อุปทานตลาด (Market Supply) หมายถึง ความต้องการ (Wants) ความเต็มใจผลิต (Willing) และความสามารถ (Ability) ในการนําสินค้าออกมาขายของผู้ผลิตทุกรายในตลาดหรือผลรวม ของจํานวนสินค้าที่ผลิตออกสู่ตลาดโดยภาพรวม ณ ราคาที่กําหนด และเวลาใดๆ ตัวอย่าง: ในตลาดมีผู้ผลิต 2 ราย สามารถหาอุปทานตลาดได้ดังนี้ ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 47. กฎของอุปทาน (Law of Supply) 47 กฎของอุปทาน (Law of Supply) กําหนดไว้ว่าเมื่อปัจจัยอื่นๆ คงที่ (Ceteris Paribus) ระดับราคา (P) จะแปรผันตรงหรือมีความสัมพันธ์ทางบวกกับปริมาณความต้องการผลิต (Q 𝑠 ) ดังนั้นเส้นอุปทานจึงเป็นเส้นที่มีความชันเป็นบวก (Positive Slope) ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 48. ปัจจัยกาหนดอุปทาน (Supply Determinants) 48 ปัจจัยที่กาหนดอุปทาน ประกอบด้วย 2 ประเภท ได้แก่ 1. ปัจจัยกําหนดทางตรง (Direct Determinants) คือ ราคาสินค้า 2. ปัจจัยกําหนดทางอ้อม (Indirect Determinants) ประกอบด้วย ราคาปัจจัยการ ผลิต การคาดการณ์ราคาในอนาคต จํานวนผู้ผลิต เทคโนโลยี ทรัพยากร และราคา สินค้าที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สินค้าที่ใช้ร่วมกัน และสินค้าที่ใช้ทดแทนกัน (รวมถึงปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น สิ่งกระตุ้นทางการตลาด นโยบาย หรือ ปัจจัยด้านจิตวิทยา เป็นต้น)
  • 49. ฟังก์ชั่นอุปทาน (Supply Function) 49 ฟังก์ชั่นอุปทาน (Supply Function) โดยที่ คือ ปริมาณความต้องการผลิตสินค้า x คือ ตัวกําหนดทางตรง คือ ราคาสินค้า x คือ ตัวกําหนดทางอ้อมเช่น เทคโนโลยี ราคาปัจจัยการผลิต เป็นต้น ,...),,,( 321 AAAPfQ x s x  s xQ xP nA
  • 50. การเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย (Change in quantity Supplied) 50 การเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย (Change in quantity supplied) เป็นการเปลี่ยนแปลงปัจจัย กําหนดอุปทานทางตรง (ซึ่งก็คือการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า) โดยที่ปัจจัยกําหนดอุปทานอื่นๆ คงที่ การเปลี่ยนแปลงปริมาณขายจะทําให้เกิดการเคลื่อนที่ของจุดบนเส้นอุปทาน (Move along the line) ตัวอย่าง: ราคาเปลี่ยนแปลง 1) เมื่อราคาสินค้าเพิ่มขึ้น ทําให้จุด A เคลื่อนที่ไปจุด B ปริมาณความขายเพิ่มขึ้น 2) เมื่อราคาสินค้าลดลง ทําให้จุด A เคลื่อนที่ไป C ปริมาณความต้องการขายลดลง A B C ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 51. การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทาน (Shift supply curve) 51 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทาน (Shift supply curve) เป็นการเปลี่ยนแปลงปัจจัยกําหนด อุปทานทางอ้อม โดยที่ปัจจัยกําหนดอุปทานทางตรงคงที่ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะทําให้เกิด การเคลื่อนย้ายเส้นอุปทาน (Shift) ตัวอย่าง: ราคาปัจจัยการผลิตเปลี่ยนแปลง 1) เมื่อราคาปัจจัยการผลิตลดลง ทําให้เส้น S0 ย้ายไปทางขวาเป็นS1 ปริมาณความต้องการผลิตเพิ่มขึ้น 2) เมื่อราคาปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้น ทําให้เส้น S0 ย้ายไปทางซ้าย เป็นS2 ปริมาณความต้องการผลิตลดลง ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 52. แบบฝึกหัด 52 1. จงวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงปัจจัยดังต่อไปนี้ต่อปริมาณความต้องการผลิต/ขาย ข้าวอินทรีย์ เหตุการณ์ ปัจจัยกาหนด อุปทาน การเปลี่ยนแปลง อุปทาน ผลต่อปริมาณ ผลิต/ขาย ทางตรง ทางอ้อม ย้ายจุด ย้ายเส้น ลดลง เพิ่มขึ้น 1 ค่าแรงขั้นต่ําเพิ่มเป็น 1,000 ต่อวัน 2 ฝนตกหนักทําให้น้ําท่วม 3 ศัตรูพืชระบาด 4 นโยบายประกันราคาข้าวอินทรีย์ 5 ราคาข้าวอินทรีย์เพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 90 6 เกษตรกรคาดการณ์ว่าราคาจะเพิ่มขึ้น 7 ตู่ป่วยเป็นโรคความจําสั้น
  • 53. ดุลยภาพตลาด (Market Equilibrium) 53 ดุลยภาพตลาด (Market Equilibrium: E*) หมายถึง จุดที่ปริมาณและราคาที่ผู้ซื้อและ ผู้ขายมีความต้องการจะซื้อจะขายตรงกัน หรือจุดที่ปริมาณความต้องการซื้อเท่ากับ ปริมาณความต้องการขาย (Demand = Supply) ณ ดุลยภาพ(E*) ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงปลงใจที่จะซื้อขายที่ 1. ปริมาณดุลยภาพ (Equilibrium Quantity: Q*) 2. ราคาดุลยภาพ (Equilibrium Price: P*)
  • 54. ดุลยภาพตลาด (Market Equilibrium) 54 P* = 1.5 USD/Bar Q* = 10 Million of Bars per week ตัวอย่าง: ตลาดช็อคโกแลตบาร์ ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 55. ภาวะสินค้าล้นตลาด (Excess supply/Surplus) 55 สภาวะสินค้าลดตลาด คือสภาวะเมื่อปริมาณการผลิตสินค้า มากกว่า ปริมาณความต้องการซื้อ ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 57. แบบฝึกหัด 57 1. จงวิเคราะห์สภาวะตลาดรองเท้า ดังต่อไปนี้ (1) Price per Pair (2) Quantity Demanded (3) Quantity Supplied (4) Difference (Qs-Qd) (5) Market Condition (6) Pressure on Price $105 25,000 75,000 $90 30,000 70,000 $75 40,000 60,000 $60 50,000 50,000 $45 60,000 35,000 $30 80,000 20,000 $15 100,000 5,000
  • 58. แบบฝึกหัด 58 2. จากการวิเคราะห์ข้อ 1 จงตอบคําถามต่อไปนี้ 2.1 ราคาดุลยภาพเท่ากับเท่าใด เพราะเหตุใด 2.2 จะเกิดอะไรขึ้นหากราคารองเท้ามีค่าเท่ากับ 30$ / คู่ จงอธิบาย 2.3 จะเกิดอะไรขึ้นหากราคารองเท้ามีค่าเท่ากับ 90$ / คู่ จงอธิบาย
  • 59. การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพ ผลต่อราคาและปริมาณ 59 การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพ สามารถพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางอ้อม ที่กําหนดอุปสงค์ และอุปทาน ที่เปลี่ยนแปลง (Shock) ราคาและปริมาณดุลยภาพ การเปลี่ยนแปลง (Shift) การเปลี่ยนแปลงปัจจัยกาหนดทางอ้อม (Shock) อุปสงค์ (Demand) รายได้ รสนิยม ฤดูกาล จํานวนประชากร การคาดการราคา และรายได้ และ ราคาสิ้นค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สินค้าที่ใช้ ร่วมกัน และสินค้าที่ทดแทนกัน รวมถึงปัจจัยอื่นๆ ที่อาจ เกี่ยวข้อง อุปทาน (Supply) ราคาปัจจัยการผลิต การคาดการณ์ราคาในอนาคต จํานวน ผู้ผลิต เทคโนโลยี ทรัพยากร และราคาสินค้าที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สินค้าที่ใช้ร่วมกัน และสินค้าที่ใช้ทดแทนกัน
  • 60. การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพ ผลต่อราคาและปริมาณ 60 การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพ สามารถเกิดขึ้นได้ 3 กรณี 1. เหตุการณ์ส่งผลต่อ อุปสงค์ (Shock to Demand) • ทําให้อุปสงค์เพิ่มขั้น (Shift ไปทางขวา) • ทําให้อุปสงค์ลดลง (Shift ไปทางซ้าย) 2. เหตุการณ์ส่งผลต่อ อุปทาน (Shock to Supply) • ทําให้อุปทานเพิ่มขั้น (Shift ไปทางขวา) • ทําให้อุปทานลดลง (Shift ไปทางซ้าย) 3. เหตุการณ์ส่งผลต่อ อุปสงค์และอุปทาน (Shock to Demand and Supply)
  • 61. เหตุการณ์ที่ส่งผลต่ออุปสงค์ (Demand Shock) 61 อุปสงค์ตลาดเพิ่มขึ้น (Increased Demand) เช่น ระดับรายได้ประชากรสูงขึ้น จํานวน ประชากรเพิ่มขึ้น การคาดการณ์ราคาในอนาคต สูงขึ้น เป็นต้น ผลที่เกิดขึ้นกับดุลยภาพตลาด 1. ดุลยภาพตลาดเปลี่ยนจาก E1 ไป E2 2. ราคาดุลยภาพเพิ่มขึ้นจาก 1.5 ไป 2.5 3. ปริมาณดุลภาพเพิ่มขึ้นจาก 10 ไป 15 E1 E2 ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 62. เหตุการณ์ที่ส่งผลต่ออุปสงค์ (Demand Shock) 62 อุปสงค์ตลาดลดลง (Decreased Demand) เช่น ระดับรายได้ประชากรลดลง จํานวน ประชากรลดลง การคาดการณ์ราคาในอนาคต ลดลง เป็นต้น ผลที่เกิดขึ้นกับดุลยภาพตลาด 1. ดุลยภาพตลาดเปลี่ยนจาก E1 ไป E2 2. ราคาดุลยภาพลดลงจาก 2.5 ไป 1.5 3. ปริมาณดุลภาพลดลงจาก 15 ไป 20 E2 E1 ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 63. เหตุการณ์ที่ส่งผลต่ออุปทาน (Supply Shock) 63 อุปทานตลาดเพิ่มขึ้น (Increased Supply) เช่น ราคาปัจจัยการผลิตลดลง การคาดการณ์ ราคาในอนาคตสูงขึ้น จํานวนผู้ผลิตเพิ่มขึ้น เทคโนโลยีดีขึ้น เป็นต้น ผลที่เกิดขึ้นกับดุลยภาพตลาด 1. ดุลยภาพตลาดเปลี่ยนจาก E1 ไป E2 2. ราคาดุลยภาพลดลงจาก 1.5 ไป 1.0 3. ปริมาณดุลภาพเพิ่มขึ้นจาก 10 ไป 15 E1 E2 ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 64. เหตุการณ์ที่ส่งผลต่ออุปทาน (Supply Shock) 64 อุปทานตลาดลดลง (Decreased Supply) เช่น ราคาปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้น การคาดการณ์ ราคาในอนาคตลดลง จํานวนผู้ผลิตลดลง เทคโนโลยีดีแย่ลง เป็นต้น ผลที่เกิดขึ้นกับดุลยภาพตลาด 1. ดุลยภาพตลาดเปลี่ยนจาก E1 ไป E2 2. ราคาดุลยภาพเพิ่มขึ้นจาก 1.0 ไป 1.5 3. ปริมาณดุลภาพลดลงจาก 15 ไป 10 E2 E1 ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 65. เหตุการณ์ที่ส่งผลต่อทั้งอุปสงค์และ อุปทาน (Demand and Supply Shock) 65 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น: 1. อุปสงค์ตลาดเพิ่มขึ้น 2. อุปทานตลาดเพิ่มขึ้น ตอบสนอง ผลที่เกิดขึ้นกับดุลยภาพตลาด 1. ดุลยภาพตลาดเปลี่ยนจาก E1 ไป E2 และ E3 2. ราคาดุลยภาพเพิ่มขึ้นจาก 1.5 ไป 2.5 และ ลดลงมา 1.5 3. ปริมาณดุลภาพเพิ่มขึ้นจาก 10 ไป 15 และ เพิ่มขึ้นไปที่ 20 E2 E1 E3 ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 66. เหตุการณ์ที่ส่งผลต่อทั้งอุปสงค์และ อุปทาน (Demand and Supply Shock) 66 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น: 1. อุปสงค์ตลาดลดลง 2. อุปทานตลาดลดลง ตอบสนอง ผลที่เกิดขึ้นกับดุลยภาพตลาด 1. ดุลยภาพตลาดเปลี่ยนจาก E1 ไป E2 และ E3 2. ราคาดุลยภาพลดลงจาก 1.5 ไป 1.0 และเพิ่ม ขั้น เป็น 1.5 3. ปริมาณดุลภาพลดลงจาก 10 ไป 7.5 และ ลดลงไปที่ 5 E2 E1E3 ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 67. แบบฝึกหัด 67 วิธีการวิเคราะห์ดุลยภาพตลาด 4ขั้นตอน 1. วาดรูปแบบจําลองอุปสงค์ อุปทาน ณ ดุลยภาพ 2. วิเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นว่าส่งผลกระทบต่อ อุปสงค์ หรือ อุปทาน หรือทั้งคู่ 3. วิเคราะห์ว่าเหตุการณ์ส่งผลต่ออุปสงค์ หรือ อุปทานอย่างไร ( Move along a line / shift ? เพิ่มขึ้นหรือลดลง) 4. จะเกิดอะไรขึ้นกับดุลยภาพตลาด ราคาดุลภายใหม่เปลี่ยนไปอย่างไร (เพิ่มขึ้น หรือ ลดลง) ปริมาณดุลยภาพใหม่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร (เพิ่มขั้น หรือ ลดลง)
  • 68. แบบฝึกหัด 68 1. จงวิเคราะห์เหตุการณ์ดังต่อไปนี้ต่อดุลยภาพตลาด ก. ผลการวิจัยเปิดเผยว่า “การดื่มน้าประปาส่งผลกระทบต่อไตอย่างรุนแรง” จะเกิดผล กระทบอย่างไรต่อราคาและปริมาณดุลยภาพตลาดน้ําดื่ม ข. เหตุการณ์น้ําท่วมครั้งรุนแรงในปี 2546 ส่งผลกระทบอย่างไรต่อ ราคาดุลยภาพตลาด สินค้าเกษตรของประเทศไทย ค. เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ส่งผลให้โรงงานจํานวนมากเลิกจ้างพนักงาน โดยหันมา ใช้เครื่องจักรแทนแรงงงานไร้ฝีมือ จากเหตุการณ์ดังกล่าว จงวิเคราะห์ผลกระทบต่อ ราคาและปริมาณดุลยภาพตลาดรองเท้าในประเทศไทย ง. ในสภาวะราคาน้ํามันดิบโลกกําลังอยู่ในช่วงขาขึ้น ทําให้ผู้บริโภคต่างวิตกถึงวิกฤต เศรษฐกิจและอัตราเงินเฟ้อที่อาจเพิ่มขึ้นในอนาคต จงวิเคราะห์สถานการณ์ดังกล่าวต่อ ราคาทองคําในประเทศไทย
  • 70. 3. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) 70 ความยืดหยุ่นอุปสงค์ ความยืดหยุ่นอุปทาน 1. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา 1. ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา ความหมาย สูตรการคํานวณ และค่าความยืดหยุ่นกับ ลักษณะของเส้นอุปสงค์ ความหมาย สูตรการคํานวณ ปัจจัยที่กําหนดความยืดหยุ่น ลักษณะของเส้นอุปทานที่มีค่าความยืดหยุ่นต่าง ๆ กัน ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคากับรายรับรวม ตัวกําหนดความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา 2. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ ตัวกําหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้และ ลักษณะของสินค้า 3. ความยืดหยุ่นไขว้
  • 71. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand) 71 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand: 𝑬 𝒅) เป็นเครื่องมือใน การวัดการตอบสนองของอุปสงค์ต่อระดับราคาที่เปลี่ยนแปลงไป การอธิบายความหมาย • ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสูง หมายความว่า สินค้าชนิดนั้นมีการตอบสนองต่อ ราคาสูง เช่น สินค้าไม่จําเป็น สินค้าฟุ่มเฟือย • ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาต่า หมายความว่า สินค้าชนิดนั้นมีการตอบสนองต่อ ราคาต่ํา เช่น สินค้าจําเป็น
  • 72. สูตรหาความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อราคา 72 ลักษณะของ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา 1. |% ΔQ| = |% ΔP|, |𝑬 𝒅| เท่ากับ 1 : มีลักษณะ unit elastic 2. |% ΔQ| > |% ΔP|, |𝑬 𝒅| มากกว่า 1 : มีลักษณะยืดหยุ่นสูง (elastic) 3. |% ΔQ| < |% ΔP|, |𝑬 𝒅| น้อยกว่า 1 : มีลักษณะยืดหยุ่นต่ํา (inelastic) |𝑬 𝒅| = เปอร์เซ็นต์การเปลียนแปลงปริมาณอุปสงค์ เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงราคา = |%∆𝑸 𝒅| |%∆𝑷|
  • 73. สูตรหาความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อราคา 73 |𝑬 𝒅| = เปอร์เซ็นต์การเปลียนแปลงปริมาณอุปสงค์ เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงราคา = |%∆𝑸 𝒅| |%∆𝑷| วิธีการคานวณ: 1. แบบจุด (Point Elasticity) 2. แบบช่วง (Arc Elasticity) 100x P )P-(P 100x Q )Q-(Q |E| 1 12 1 12 d  100x 2/)P(P )P-(P 100x 2/)Q(Q )Q-(Q |E| 21 12 21 12 d   
  • 74. ค่าความยืดหยุ่นกับลักษณะของเส้นอุปสงค์ 74 P P P P P Q Q Q Q Q D D D D D 𝐸 𝑑 > 1 𝐸 𝑑 < 1 𝐸 𝑑 = 1 𝐸 𝑑 = ∞ 𝐸 𝑑 = 0 Elastic Inelastic Unitary Elastic Perfectly Elastic Perfectly Inelastic %∆𝑄 𝑑 > %∆𝑃 %∆𝑄 𝑑 < %∆𝑃 %∆𝑄 𝑑 = %∆𝑃 %∆𝑄 𝑑 = ∞ %∆𝑃 = 0 %∆𝑄 𝑑 = 0 %∆𝑃 = ∞
  • 75. ปัจจัยที่กาหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Factors Influence the Elasticity of Demand) 75 ปัจจัยที่กาหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ประกอบด้วย 5 ปัจจัย ได้แก่ 1. การทดแทนกัน (The closeness of substitutes) สินค้าที่หาแทนกันได้ง่าย ความยืดหยุ่นมีแนวโน้มสูง เช่น น้ํามัน เนย มาการีน สินค้าที่หาทดกันได้ยาก จะมีความยืดหยุ่นน้อย เช่น ไข่ 2. ความจาเป็นของสินค้า (Necessities vs Luxuries) สินค้าจําเป็น (Necessities) เช่น บ้าน อาหาร ยารักษาโรค มักมีความยืดหยุ่นต่ํา สินค้าไม่จําเป็น (Luxuries) เช่น เครื่องประดับ มักมีความยืดหยุ่นต่อราคาสูง 3. สัดส่วนรายได้ที่ใช้จ่ายต่อสินค้าหนึ่งๆ (The proportion of income spent on the good) สินค้าค้าใดที่ซื้อมีสัดส่วนรายได้ในการซื้อเยอะ จะมีความยืดหยุ่นสูง สินค้าค้าใดที่ซื้อมีสัดส่วนรายได้ในการซื้อน้อย จะมีความยืดหยุ่นน้อย
  • 76. ปัจจัยที่กาหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ 76 4. ระยะเวลาในการปรับตัวของผู้บริโภค (The time elapsed since a price change) เวลาปรับตัวมาก ความยืดหยุ่นของสินค้านั้นก็มากตาม เช่น เมื่อน้ํามันแพง เปลี่ยนจากเติม น้ํามันเบนซิน 95 มาเติม 91 เป็นต้น เวลาปรับตัวน้อย ความยึดหยุ่นของสินค้านั้นก็น้อยตาม 5. นิสัยหรือความเคยชินของผู้บริโภค (Personality and Habit) เมื่อผู้บริโภคนิยมสินค้าใดๆ หรือเสพติดสินค้าใด จะมีความยึดหยุ่นของอุปสงค์น้อย เช่น บุหรี่ สุรา หรือ ชา กาแฟ เป็นต้น
  • 77. แบบฝึกหัด 77 1. หากราคากาแฟลดลงจาก 60 บาท เป็น 40 บาทต่อแก้ว ปริมาณความต้องการซื้อ เพิ่มขึ้น จาก 40 เป็น 55 แก้วต่อวัน ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคามีค่าเป็นเท่าใด จงคํานวณ (ความ ยืดหยุ่นแบบจุด) และอธิบาย วิธีทา: |𝑬 𝒅| = | 𝑸 𝟐 − 𝑸 𝟏 𝑸 𝟏 × 𝟏𝟎𝟎| | 𝑷 𝟐 − 𝑷 𝟏 𝑷 𝟏 × 𝟏𝟎𝟎| = = = อธิบายความหมาย:
  • 78. ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์และความสัมพันธ์กับรายรับรวม 78 รายรับรวม (Total Revenue) หมายถึง มูลค่ารายรับจากการขายสินค้า โดยไม่คํานึงถึงต้นทุน หรือ กําไร สูตรหารายรับรวม TR = P x Q การเปลี่ยนแปลงของ ราคา (P) จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของปริมาณที่ขายได้ (Q) ส่งผล กระทบต่อ TR สามารถวิเคราะห์ได้ 2 กรณี 1. กรณี P ลดลง 2. กรณี P เพิ่มขึ้น
  • 79. ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์และความสัมพันธ์กับรายรับรวม 79 สูตรหารายรับรวม TR = P x Q วิธีทา: TR = P x Q TR = 75 x 4 TR = 300 หรือมีค่าเท่ากับพื้นที่สี่เหลี่ยม ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 80. ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์และความสัมพันธ์กับรายรับรวม 80 หากราคาเปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงของราคา (P) จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ ปริมาณที่ขายได้ (Q) ส่งผลกระทบต่อรายรับรวม (TR) แยกตามกรณีได้ดังนี้ 1. กรณีราคาเพิ่ม สูงขึ้น P P P Q Q P2 P1 Q Inelastic Demand ความยืดหยุ่นน้อย สินค้าจําเป็น TR เพิ่มขึ้น Elastic Demand ความยืดหยุ่นมาก สินค้าไม่จําเป็น TR ลดลง Unitary Elastic TR เท่าเดิม TR2 TR2 TR2 TR1 TR1 TR1
  • 81. ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์และความสัมพันธ์กับรายรับรวม 81 หากราคาเปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงของราคา (P) จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ ปริมาณที่ขายได้ (Q) ส่งผลกระทบต่อรายรับรวม (TR) แยกตามกรณีได้ดังนี้ 2. กรณีราคา ลดลง P P P Q Q P1 P2 Q Unitary Elastic TR เท่าเดิม TR1 TR1 TR1 TR2 TR2 TR2 Inelastic Demand ความยืดหยุ่นน้อย เช่น สินค้าจําเป็น TR ลดลง Elastic Demand ความยืดหยุ่นมาก เช่น สินค้าไม่จําเป็น TR เพิ่มขึ้น
  • 82. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income elasticity of demand) 82 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand: 𝑬𝒊) เป็นเครื่องมือ ในการวัดการตอบสนองของอุปสงค์ต่อระดับรายได้ของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไป การอธิบายความหมาย • ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้สูง หมายความว่า สินค้าชนิดนั้นมีการตอบสนอง ต่อรายได้ลูกค้าสูง เช่น สินค้าไม่จําเป็น สินค้าฟุ่มเฟือย • ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ต่า หมายความว่า สินค้าชนิดนั้นมีการตอบสนอง ต่อรายได้ลูกค้าต่ํา เช่น สินค้าจําเป็น
  • 83. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income elasticity of demand) 83 การอธิบายเครื่องหมาย • ความยืดหยุ่น ( 𝑬𝒊) มีเครื่องหมายเป็นบวก แสดงว่าเป็นสินค้าปกติ (Normal Goods) หมายถึง เมื่อระดับรายได้สูงขึ้น ผู้บริโภคมีความต้องการซื้อสินค้าปกติมากขึ้นตาม ระดับรายได้ • ความยืดหยุ่น ( 𝑬𝒊) มีเครื่องหมายเป็นลบ แสดงว่าเป็นสินค้าด้อย (Inferior Goods) หมายถึง เมื่อระดับรายได้สูงขึ้น ผู้บริโภคมีความต้องการซื้อสินค้าด้อยคุณภาพลดลง การอธิบายค่าความยืดหยุ่น • ความยืดหยุ่น (| 𝑬𝒊|) มีค่าสูง หรือ มากกว่า 1 แสดงว่าเป็นสินค้าฟุุมเฟือย (Luxuries) • ความยืดหยุ่น (| 𝑬𝒊|) มีค่าต่ํา หรือ น้อยกว่า 1 แสดงว่าเป็นจาเป็น (Necessaries)
  • 84. สูตรหาความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อรายได้ 84 ลักษณะของ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา 1. |% ΔQ| = |% Δi|, |𝑬𝒊| เท่ากับ 1 : มีลักษณะ unit elastic 2. |% ΔQ| > |% Δi|, |𝑬𝒊| มากกว่า 1 : มีลักษณะยืดหยุ่นสูง (elastic) 3. |% ΔQ| < |% Δi|, |𝑬𝒊| น้อยกว่า 1 : มีลักษณะยืดหยุ่นต่ํา (inelastic) |𝑬𝒊| = เปอร์เซ็นต์การเปลียนแปลงปริมาณอุปสงค์ เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงรายได้ = |%∆𝑸 𝒅| |%∆𝒊|
  • 86. แบบฝึกหัด 86 1. เมื่อระดับรายได้ของผู้บริโภคเพิ่มขึ้นจาก 300 เป็น 450 บาทต่อวัน ทําให้เกิดความต้องการซื้อน้ําอัดลมลดลง จาก 3 แก้วต่อวันเหลือ 1 แก้วต่อวัน จงคํานวณความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อรายได้ และอธิบายโดยพิจารณาจาก เครื่องหมายและค่าความยืดหยุ่นว่าน้ําอัดลมเป็นสินค้าประเภทใด วิธีทา: อธิบายความหมาย:
  • 87. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบไขว้ (Cross-price elasticity of demand) 87 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบไขว้หรือ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น (Cross-price Elasticity of Demand: 𝑬 𝒄) เป็นเครื่องมือในการวัดการตอบสนองของอุป สงค์ต่อระดับราคาของสินค้าอื่นๆที่เปลี่ยนแปลงไป การอธิบายความหมาย • ความยืดหยุ่น (𝐸𝑐) มีเครื่องหมายเป็นบวก แสดงว่าสินค้าทั้งสองชนิดเป็นสินค้าแทน กันได้ (Substitute Goods) • ความยืดหยุ่น (𝐸𝑐) มีเครื่องหมายเป็นลบ แสดงว่าสินค้าทั้งสองชนิดเป็นสินค้าที่ต้อง ใช้ร่วมกัน (Complimentary Goods)
  • 88. สูตรหาความยืดหยุ่นอุปสงค์แบบไขว้ 88 ลักษณะของ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบไขว้ 1. |% ΔQ| = |% ΔP|, |𝑬 𝒄| เท่ากับ 1 : มีลักษณะ unit elastic 2. |% ΔQ| > |% ΔP|, |𝑬 𝒄| มากกว่า 1 : มีลักษณะยืดหยุ่นสูง (elastic) 3. |% ΔQ| < |% ΔP|, |𝑬 𝒄| น้อยกว่า 1 : มีลักษณะยืดหยุ่นต่ํา (inelastic) |𝑬 𝒄| = เปอร์เซ็นต์การเปลียนแปลงปริมาณอุปสงค์สินค้า A เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า B = |%∆𝑄𝐴 𝑑 | |%∆𝑃𝐵|
  • 89. สูตรหาความยืดหยุ่นอุปสงค์แบบไขว้ 89 วิธีการคานวณ: 1. แบบจุด (Point Elasticity) 2. แบบช่วง (Arc Elasticity) x100 P )P-(P 100x Q )Q-(Q |Ec| 1B 1B2B 1A 1A2A  100x 2/)P(P )P-(P x100 2/)Q(Q )Q-(Q |E| 2B1B 1B2B 2A1A 1A2A c    |𝑬 𝒄| = เปอร์เซ็นต์การเปลียนแปลงปริมาณอุปสงค์สินค้า A เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า B = |%∆𝑄𝐴 𝑑 | |%∆𝑃𝐵|
  • 90. แบบฝึกหัด 90 1. เมื่อระดับราคาโค้กเพิ่มขึ้น 40% ทําให้ผู้บริโภคหันมาดื่มเป๊ปซี่มากขึ้น 60% คําถาม จงคํานวณความยืดหยุ่น อุปสงค์แบบไขว้ พร้อมทั้งอธิบายว่าโค้กและเป๊ปซี่เป็นสินค้าประเภทใด เพราะเหตุใด วิธีทา: อธิบายความหมาย:
  • 91. แบบฝึกหัด 91 2. เมื่อระดับราคาลูกขนไก่เพิ่มขึ้น 40% ทําให้ผู้บริโภคซื้อไม้แบดมินตันน้อยลง -20% คําถาม จงคํานวณความ ยืดหยุ่นอุปสงค์แบบไขว้ พร้อมทั้งอธิบายว่าลูกขนไก่และไม้แบดมินตันเป็นสินค้าประเภทใด เพราะเหตุใด วิธีทา: อธิบายความหมาย:
  • 92. ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Price Elasticity of Supply) 92 ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Price Elasticity of Supply: 𝑬 𝒔) เป็นเครื่องมือในการ วัดการตอบสนองของอุปทานต่อระดับราคาที่เปลี่ยนแปลงไป การอธิบายความหมาย • ความยืดหยุ่นของอุปทานบอกให้รู้ถึงความมากน้อยของการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ เสนอขาย หรือ ปริมาณการผลิต เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า • การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า และการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอขาย จะ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน • ดังนั้น ค่าความยืดหยุ่นจะมีเครื่องหมายเป็นบวก
  • 93. สูตรหาความยืดหยุ่นอุปทานต่อราคา 93 ลักษณะของ ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา 1. |% ΔQ| = |% ΔP|, |𝑬 𝒔| เท่ากับ 1 : มีลักษณะ unit elastic 2. |% ΔQ| > |% ΔP|, |𝑬 𝒔| มากกว่า 1 : มีลักษณะยืดหยุ่นสูง (elastic) 3. |% ΔQ| < |% ΔP|, |𝑬 𝒔| น้อยกว่า 1 : มีลักษณะยืดหยุ่นต่ํา (inelastic) |𝑬 𝒔| = เปอร์เซ็นต์การเปลียนแปลงปริมาณอุปทาน เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงราคา = |%∆𝑸 𝒔| |%∆𝑷|
  • 94. สูตรหาความยืดหยุ่นอุปทานต่อราคา 94 |𝑬 𝒔| = เปอร์เซ็นต์การเปลียนแปลงปริมาณอุปสงค์ เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงราคา = |%∆𝑸 𝒔| |%∆𝑷| วิธีการคานวณ: 1. แบบจุด (Point Elasticity) 2. แบบช่วง (Arc Elasticity) 100x P )P-(P 100x Q )Q-(Q |E| 1 12 1 12 s  100x 2/)P(P )P-(P 100x 2/)Q(Q )Q-(Q |E| 21 12 21 12 s   
  • 95. ค่าความยืดหยุ่นกับลักษณะของเส้นอุปทาน 95 P P P P P Q Q Q Q Q S S S S S 𝑬 𝒔 > 𝟏 𝑬 𝒔 < 𝟏 𝑬 𝒔 = 𝟏 𝑬 𝒔 = ∞ 𝑬 𝒔 = 𝟎 Elastic Inelastic Unitary Elastic Perfectly Elastic Perfectly Inelastic %∆𝑸 𝒔 > %∆𝑷 %∆𝑸 𝒔 < %∆𝑷 %∆𝑸 𝒔 = %∆𝑷 %∆𝑸 𝒔 = ∞ %∆𝑷 = 𝟎 %∆𝑸 𝒔 = 𝟎 %∆𝑷 = ∞
  • 96. ปัจจัยที่กาหนดความยืดหยุ่นอุปทาน (Factors Influence the Elasticity of Supply) 96 ปัจจัยที่กาหนดความยืดหยุ่นของอุปทาน ประกอบด้วย 3 ปัจจัย ได้แก่ 1. ระยะเวลาที่ใช้ในการผลิตสินค้า (Time Elapsed Since Price Change ) สินค้าเกษตร (ใช้เวลาผลิตนาน) มีความยืดหยุ่นต่ํา สินค้าอุตสาหกรรม (ใช้เวลาผลิตน้อย) มีความยึดหยุ่นสูง 2. ความยากง่ายในการหาปัจจัยการผลิต(Production Possibilities) การผลิตที่ใช้ปัจจัยการผลิตที่หาได้ยาก จะมีความยืดหยุ่นต่ํา การผลิตที่ใช้ปัจจัยการผลิตที่หาได้ง่าย จะมีความยืดหยุ่นสูง 3. ความยากง่ายในการเข้าออกจากอุตสาหกรรมของผู้ผลิต (Entry or Exit) การเข้าในอุตสาหกรรมได้ง่าย จะทําให้อุปทานมีความยืดหยุ่นสูง การเข้าในอุตสาหกรรมได้ยาก จะทําให้อุปทานมีความยืดหยุ่นต่ํา
  • 98. 4.ประสิทธิภาพและความเป็นธรรม (Efficiency and Equity) 98 ประสิทธิภาพของตลาดแข่งขัน (Efficiency of Competitive Equilibrium) หมายถึง จุดที่แสดงให้เห็นว่าตลาดการ แข่งขันมีการจัดสรรทรัพยากรอย่างมี ประสิทธิภาพ ณ จุดดุลยภาพ ซึ่งเป็นจุดที่ ปริมาณความต้องการซื้อเท่ากับปริมาณความ ต้องการขาย และเป็นจุดที่ส่วนเกินผู้บริโภค (Consumer surplus) และผู้ผลิต (Producer surplus) มีความพึงพอใจสูงสุด ไม่ก่อให้เกิดปัญหาการสูญเสียทางสังคมต่างๆ (Dead Weight Loss) ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 99. ตลาดล้มเหลว (Market Failure) 99 ตลาดล้มเหลว (Market Failure) หมายถึง ภาวะที่ตลาดไม่สามารถทํางานตาม กลไกเพื่อนํามาซึ่งการจัดสรรทรัพยากรที่มี ประสิทธิภาพได้ เช่น ราคาต่ําหรือสูงเกินไป การ ผลิตมากเกินไป หรือ การผลิตน้อยเกินไป สาเหตุของความล้มเหลวของตลาด 1. โครงสร้างของตลาด (market structure) ที่เบี่ยงเบนไปจากตลาดแข่งขันสมบูรณ์ 2. การทํางานของตลาดไม่สามารถสะท้อน ต้นทุนหรือผลประโยชน์ที่แท้จริงของ ทรัพยากรจากผลกระทบต่อภายนอก (externalities) ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)
  • 100. สาเหตุของความล้มเหลวของตลาด 100 สาเหตุของความล้มเหลวของตลาดจากการผลิตมาก หรือน้อยเกินไป (Over and Under production) เกิดจากสาเหตุดังนี้ 1. กฎระเบียบด้านราคาและปริมาณ (Price and quantity regulations) 2. ภาษีและเงินอุดหนุน (Taxes and subsidies) 3. ผลกระทบภายนอก (Externalities) 4. สินค้าสาธารณะและทรัพยากรทั่วไป(Public goods and common resources ) 5. ผู้ผูกขาด (Monopoly) 6. ค่าใช้จ่ายในการทําธุรกรรมสูง (High transactions costs) ที่มา: *อ้างอิงรูปภาพ (1)