SlideShare a Scribd company logo
แผนการการจัดการเรียนรูที่  1 
คณิตศาสตรเพิ่มเติม  รายวิชา ค31202 
ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4                                                                               ภาคเรียนที่ 2 
เรื่อง วงกลมและพาราโบลา (Cicle and Parabola)                                                        เวลา 4 ชั่วโมง 

ผลการเรียนรู                  สมการรูปทั่วไปของวงกลมและพาราโบลา 
สาระการเรียนรู                1. หาสมการวงกลมได 
                               2. เมื่อกําหนดสมการวงกลมมาให สามารถหาสวนประกอบตาง ๆ ของวงกลมได 
                               3. หาสมการพาราโบลาได 
                               4. เมื่อกําหนดสมการพาราโบลามาให สามารถหาสวนประกอบตาง ๆ 
                                   ของ  พาราโบลาได 
เนื้อหา               สมการวงกลม 
                      สมการพาราโบลา 
กิจกรรมการจัดการเรียนรู 
         1.  ผูสอนทบทวนเรื่องกรวยตรง แลวใหผูเรียนศึกษาภาพการตัดกรวยดวยระนาบในแนวตาง ๆ หนา 
               707 ในแบบเรียน 
         2.  ผูสอนแจงในระดับนี้จะศึกษาภาคตัดกรายสี่ลักษณะคือ วงกลม พาราโบลา วงรี และไฮเพอรโบลา 
               ดังนี้ 
         บทนิยามเชิงเรขาคณิตของวงกลม : - วงกลมคือเซตของจุดทั้งหมดในระนาบที่หางจากจุด ๆ หนึ่งที่ตรึง 
         อยูกับที่ เปนระยะทางคงตัว จุดที่ตรึงอยูกับที่เรียกวา จุดศูนยกลางของวงกลม ระยะทางคงตัวเรียก รัศมี 
         ของวงกลม 
               รูปแบบมาตรฐานของสมการวงกลม 
                      สมการวงกลมที่มีจุดศูนยกลางอยูที่ (h,k) รัศมีเทากับ r คือ
                                             ( x - h ) 2 + ( y - k ) 2 = r 2 
                      รูปทั่วไปคือ Ax 2 + By 2  + Cx + Dy + E = 0  เมื่อ A = B
         บทนิยามเชิงเรขาคณิตของพาราโบลา : - พาราโบลาคือเซตของจุดทั้งหมดในระนาบ ซึ่งหางจากจุด F ที่ 
         ตรึงอยูกับที่จุดหนึ่ง และเสนตรง l ที่ตรึงอยูกับเสนหนึ่งเปนระยะทางเทากัน เรียก F วาโฟกัส เสนตรง l 
         เรียกไดเรกตริกซหรือเสนบังคับ 
               รูปแบบมาตรฐานของสมการพาราโบลา 
                      สมการพาราโบลาที่มีจุดยอด (h,k) คือ
                                ( x - h ) 2  = 4 p ( y - k )  , p ¹ 0 
                                ( y - k ) 2  = 4 p ( x - h )  , p ¹ 0 
                      สมการพาราโบลาที่มีจุดยอด (0,0) คือ
                                        x 2  = 4 py                 , p ¹ 0 
                                        2 
                                       y = 4 px                     , p ¹ 0 
         ผูสอนใหผูเรียนเขียนพาราโบลาในกรณีตาง ๆ ทั้งหมดที่เปนไปได
3.  ผูสอนยกตัวอยางเชน 
        ตัวอยางที่ 1 จงหาสมการของพาราโบลาที่มีจุดยอด V(0,0) โฟกัส (0,3) พรอมทั้งเขียนกราฟ 
        ตัวอยางที่ 2 จงหาโฟกัสและไดเรกตริกซของพาราโบลา y = - 2 x 2  พรอมทั้งเขียนกราฟ 
        ตัวอยางที่ 3 จงหาสมการของพาราโบลาที่มีจุดยอด (2,1) โฟกัส (2,4) 
                                                    1            1 
        ตัวอยางที่ 4 จงหาโฟกัสของพาราโบลา y = - x 2  - x + 
                                                    2            2 
        4.  ผูสอนอธิบายเกี่ยวกับเลตัสเรกตัม สามารถใชเลตัสเรกตัมชวยในการเขียนกราฟพาราโบลา ซึ่ง 
            ความยาวเลตัสเรกตัมจะเทากับ |4P| สําหรับการหาสมการเสนสัมผัสพาราโบลาศึกษาจากตัวอยาง 
            ดังนี้ 
        ตัวอยางที่ 5 จงหาสมการเสนสัมผัสพาราโบลา y = x 2  ที่จุด (1,1) 
             y = x 2         Y                                                1 
                                                      จาก y = x 2  จะได p = 
                                                                              4 
                                    A                                1ö
                                      (1,1)           โฟกัสคือ  æ 0,  ÷
                                                                 ç
                           F                                     è 4  ø 
                                             X        ใหเสนสัมผัสตัดแกน Y ที่ (0,b)
                           B  (0,b)                          1 
                                                       FB = - b
                                                             4 
                                                                               2 
                                                                           1     5 
                                                     FA = (1 - 0) + æ 1 - ö =
                                                                  2 
                                                                         ç   ÷
                                                                         è 4 ø 4 
                                               1     5 
                             Q FB = FA จะได - b =            , b = - 1 
                                               4     4 
                                                         1 - ( -1) 
                             ความชันของเสนสัมผัส    m =            = 2 
                                                            1 - 0 
                             สมการเสนสัมผัส คือ     y = 2 x - 1 
         5.  ผูสอนใหผูเรียนทําใบกิจกรรม  และมอบหมายงาน โจทยใหทําตามความเหมาะสมกับผูเรียน 
สื่ออุปกรณ       ใบกิจกรรม 
                  รูปกรวย หนาตัดวงกลม พาราโบลา 
การวัดและการประเมินผล  สังเกตการตอบคําถาม 
                             สังเกตจากทําใบกิจกรรม 
                             สังเกตจากงานที่มอบหมาย 
แผนการการจัดการเรียนรูที่  2 
คณิตศาสตรเพิ่มเติม  รายวิชา ค31202 
ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4                                                                                  ภาคเรียนที่ 2 
เรื่อง วงรี (Ellipses)                                                                                 เวลา 4 ชั่วโมง 

สาระสําคัญ สมการรูปทั่วไปของวงรี จะมีตัวแปรอยูในรูปกําลังสองทั้งสองตัวแปร คือ
 Ax 2 + By 2  + Cx + Dy + E = 0 , A ¹ B ¹ 0  A, B เปนจํานวนบวกทั้งคู หรือ จํานวนลบทั้งคู 
ผลการเรียนรู                   1. สามารถหาสมการวงรีได 
                                2. เมื่อกําหนดสมการวงรีมาให สามารถหาสวนประกอบตาง ๆ ของวงรีได 
เนื้อหา                         สมการวงรี 
กิจกรรมการจัดการเรียนรู 
         1.  ทบทวนวงกลมและพาราโบลา แลวผูสอนเขียนรูปวงรีใหผูเรียนสังเกต จุดทุกจุดบนวงรี จะมี 
                ผลบวกของระยะทางจากจุดใด ๆ ไปยังจุดคงที่สองจุด เทากันเสมอ
                              P 1
                                               P 2
                           .               .               P1 F1 + PF2 = P2 F1 + P2 F  = คาคงที่ 
                                                                    1                2 
                        F 1                F 2
         2.  ผูสอนใหบทนิยามของวงรีเชิงเรขาคณิต เขียนรูปแลวใหผูเรียนบอกสวนประกอบของวงรี อยู 
              ตําแหนงใดบาง หรือเปนสวนใดในรูป แลวสรุปสมการในรูปมาตรฐาน ดังนี้ 
                    จุดศูนยกลาง (h,k) และ 0 < b < a 
                               ( x - h ) 2 ( y - k ) 2 
                                           + 2  = 1 
                                   a2          b
                               ( x - h ) ( y - k ) 2 
                                         2
                                           + 2  = 1 
                                   b2          a 
                                               x 2 y 2            x 2 y 2 
                    จุดศูนยกลาง (0,0) จะได 2 + 2  = 1 , 2 + 2  = 1 
                                               a b               b a 
         3.  ผูสอนยกตัวอยางเชน 
         ตัวอยางที่ 1 วงรีรูปหนึ่งมีจุดยอดอยูที่  ( ± 4,0)  โฟกัสอยูที่  ( ± 3,0)  จงหาสมการวงรีพรอมทั้งเขียน 
         กราฟ 
                                                                                         x 2 y 2 
         ตัวอยางที่ 2 จงหาโฟกัส จุดยอด ความยาวแกนเอกและแกนโทของวงรี + = 1 
                                                                                         16 4 
                                            2          2 
         ตัวอยางที่ 3 จงเขียนสมการวงรี x + 4 y + 6 x - 8 y + 9 = 0  ในรูปสมการมาตรฐาน 
         ตัวอยางที่ 4 จงหาจุดศูนยกลาง จุดยอด และโฟกัสของวงรี 4 x 2 + y 2  - 8 x + 4 y - 8 = 0 
                                                             c
         4.  ผูสอนอธิบาย Eccentricity (e) จะได e =  , 0 < e < 1 , e = a 2 - b 2  พรอมยกตัวอยาง 
                                                             a
         ตัวอยางที่ 5 จงหาสมการของวงรีที่มีโฟกัสอยูที่  (0, ± 4)  และมีความเยื้องศูนยกลาง (Eccentricity) 
                   8 
         เทากับ 
                  15 
5.  ผูสอนใหผูเรียนทําใบกิจกรรม 
         6.  ผูสอนสุมผูเรียนทําบนกระดาน และทําโจทย แลวมอบหมายงานตามความเหมาะสม 
สื่ออุปกรณ       ใบกิจกรรม 
                  กรวย หนาตัดวงรี 
การวัดและการประเมินผล  สังเกตการตอบคําถาม 
                              สังเกตการทําบนกระดาน 
                              สังเกตจากใบกิจกรรม  ที่ผูเรียนทํา 
                              สังเกตจากงานที่มอบหมาย
แผนการการจัดการเรียนรูที่  3 
คณิตศาสตรเพิ่มเติม  รายวิชา ค31202 
ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4                                                                      ภาคเรียนที่ 2 
เรื่อง  ไฮเพอรโบลา)  Hyperbola                                                            เวลา 4 ชั่วโมง 

ผลการเรียนรู      ไฮเพอรโบลาเกิดจากผลตางของระยะจากโฟกัสทั้งสอง สมการรูปทั่วไป
                       Ax 2 + By 2  + Cx + Dy + E = 0 , A > 0 , B < 0  หรือ A < 0 , B > 0 
สาระการเรียนรู               1. หาสมการไฮเพอรโบลาได 
                              2. เมื่อกําหนดสมการไฮเพอรโบลามาให สามารถหาสวนประกอบตาง ๆ ของ 
                              ไฮเพอรโบลาได 
เนื้อหา             สมการไฮเพอรโบลา 
                    สมการของภาคตัดกรวยลดรูป 
กิจกรรมการจัดการเรียนรู 
         1.  ผูสอนทบทวนสมการวงรี พาราโบลา วงกลม แลวใหบทนิยามเชิงเรขาคณิตของไฮเพอรโบลา 
               เขียนรูปไฮเพอรโบลาที่มีแกนตามขวางขนานแกน X และแกน Y ถามสวนประกอบตาง ๆ ของ 
               ไฮเพอรโบลา แนะนําการเขียนรูปไฮเพอรโบลาโดยใชเสนกํากับ (Asymptotes) 
         2.  ผูสอนสรุปสมการมาตรฐานของไฮเพอรโบลาดังนี้ 
               จุดศูนยกลาง (h,k) , c 2 = a 2 + b 2 
                               ( x - h ) 2 ( y - k ) 2 
                                           - 2  = 1 
                                   a2           b
                               ( y - k ) ( x - h ) 2 
                                         2
                                           - 2  = 1 
                                   a2           b 
               จุดศูนยกลาง (0,0)
                               x 2 y 2                y 2 x 2 
                                    - = 1  หรือ  2 - 2  = 1 
                               a 2 b 2                a b 
                                                        b
               สําหรับสมการเสนกํากับคือ y = k ± ( x - h ) 
                                                        a 
                                                        a
                              หรือ            y = k ± ( x - h ) 
                                                        b 
         3.  ผูสอนยกตัวอยางเชน 
         ตัวอยางที่ 1 จงหาโฟกัส ความยาวแกนตามขวางและแกนสังยุค สมการเสนกํากับของไฮเพอรโบลา
         4 x 2 - y 2  = 16 
         ตัวอยางที่ 2 จงเขียนสมการไฮเพอรโบลา 4 x 3 - 3 y 2  + 8 x + 16 = 0  ในรูปสมการมาตรฐาน และจงหา 
         สมการเสนกํากับ 
         ตัวอยางที่ 3 จงหาสมการไฮเพอรโบลาที่มีจุดยอด  ( ± 2,0)  โฟกัส  ( ± 3,0) 
         ตัวอยางที่ 4 จงหาสมการไฮเพอรโบลาที่มีจุดยอด  (0, ± 2)  และเสนกํากับ y = ± x พรอมทั้งเขียน 
         กราฟ
4.  ผูสอนทบทวนคาความเยื้องศูนยกลางของวงรี ในไฮเพอรโบลาก็หาความเยื้องศูนยกลาง โดยใช
                     c
               e =  เชนเดียวกัน c > a และ  e > 1  ผูสอนเพิ่มเติมกรณีที่เสนกํากับทั้งสองตั้งฉากกัน จะเรียก 
                     a
              ไฮเพอรโบลา 
              มุมฉาก 
         5.  ผูสอนใหผูเรียนฝกทักษะทําโจทย 
         6.  ผูสอนใหผูเรียนจําแนกรูปทั่วไปของภาคตัดกรวยทั้งสี่ ซึ่งจะสรุปไดวา 
         ถามีสมการรูปทั่วไป Ax 2 + By 2  + Cx + Dy + E = 0 
              1.  วงกลม                   A = B
              2.  พาราโบลา              AB = 0                  A = 0  หรือ B = 0  เปน 0 ทั้งคูไมได 
              3.  วงรี                  AB > 0                 A กับ B มีเครื่องหมายเหมือนกัน 
              4.  ไฮเพอรโบลา           AB < 0                 A กับ B มีเครื่องหมายตางกัน 
         7.  ผูสอนใหผูเรียนจําแนกสมการของภาคตัดกรวย โดยใชโจทยขอ 41-48 หนา 733 
         8.  ผูสอนเพิ่มเติมบางกรณีการตรวจสอบดวยเงื่อนไขที่ผานมา อาจไมถูกตองก็ได ดังตัวอยางตอไปนี้ 
         ตัวอยางที่ 5 จงเขียนกราฟของ 9 y 2 - x 2  + 18 y + 6 x = 0 
                    จากเงื่อนไขดังกลาว สมการนี้นาจะเปนสมการไฮเพอรโบลา 
                                                     
              พิจารณารูปกําลังสองสมบูรณ 
                                      9( y 2 + 2 y ) - ( x 2  - 6 x ) = 0 
                            9( y 2 + 2 y + 1) - ( x 2  - 6 x + 9) = 0 + 9 - 9 
                                         9( y + 1) 2 - ( x - 3) 2  = 0 
                                                 ( x - 3) 2 
                                                  2                          ไมใชรูปไฮเพอรโบลา 
                                     ( y + 1) -               = 0 
                                                      9 
               ทําตอ                                            ( x - 3) 2 
                                                  ( y + 1) 2  =
                                                                     9 
                                                                    1 
                                                      y + 1 = ± ( x - 3) 
                                                                    3 
                          1                                             1 
                   y + 1 = ( x - 3)         หรือ           y + 1 = - ( x - 3) 
                          3                                             3 
                          1                                             1 
                       y = x - 2                                y = -  x 
                          3                                             3 
จากสมการจะไดกราฟเปนเสนตรงสองเสน ดังรูป
                                   Y 
                                        3 




                                        2 




                                        1




                                ­2                2        4        6      8
                                                                                 X 
                                       ­1




                        1                                                       1 
                     y = x - 2                                             y = - x 
                                       ­2 




                        3                                                       3 
ผูสอนเพิ่มเติม สมการเชนนี้เปนสมการของภาคตัดกรวยลดรูป เรียกชื่อเฉพาะวา ไฮเพอรโบลาลดรูป 
         สมการ x 2 + 4 y 2  + 2 x - 8 y + 6 = 0  ดูเหมือนจะเปนสมการของวงรี เมื่อจัดรูปใหมจะได
                              2 
                  2  ( x + 1)        1 
          ( y - 1)  +            = -  ซึ่งเปนสมการที่ไมมีคําตอบ สมการนี้เปนสมการของวงรีลดรูป ภาคตัด 
                          4          4 
         กรวยลดรูป กราฟอาจเปนเสนตรง 2 เสนตัดกัน จุด ๆ หนึ่ง หรืออาจไมมีกราฟเลยก็ได 
         9.  ผูสอนใหผูเรียนทําใบกิจกรรม  พรอมมอบหมายงานโจทยใหทํา 
สื่ออุปกรณ         ใบกิจกรรมที่ 
                    ภาคตัดกรวย ไฮเพอรโบลา 
การวัดและการประเมินผล  สังเกตจากตอบคําถาม 
                              สังเกตการทํางานบนกระดาน 
                              สังเกตการทําใบกิจกรรม 
                              สังเกตจากงานที่มอบหมาย 


                                                               ลงชื่อ............................................ 
                                                                          (นายอุดม  วงศศรีดา) 
                                                                    ตําแหนง ครู ชํานาญการพิเศษ 
                                                                                    ผูจัดทํา

More Related Content

What's hot

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
phaephae
 
Mas p anet_chiangmai2551
Mas p anet_chiangmai2551Mas p anet_chiangmai2551
Mas p anet_chiangmai2551
adunjanthima
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
Jiraprapa Suwannajak
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ทับทิม เจริญตา
 
ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรม
aossy
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53
GiveAGift
 

What's hot (18)

Function3
Function3Function3
Function3
 
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
Mas p anet_chiangmai2551
Mas p anet_chiangmai2551Mas p anet_chiangmai2551
Mas p anet_chiangmai2551
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
Function2
Function2Function2
Function2
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
 
Relations
RelationsRelations
Relations
 
ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรม
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 
Pat 1
Pat 1Pat 1
Pat 1
 
เรขาคณิตวิเคราะห์
เรขาคณิตวิเคราะห์เรขาคณิตวิเคราะห์
เรขาคณิตวิเคราะห์
 
ฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันประกอบฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันประกอบ
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
เรื่อง อาหารหลัก ๕ หมู่
เรื่อง  อาหารหลัก ๕ หมู่เรื่อง  อาหารหลัก ๕ หมู่
เรื่อง อาหารหลัก ๕ หมู่
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53
 

Similar to Conic section2555

Function2555
Function2555Function2555
Function2555
wongsrida
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Majolica-g
 
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Suwaraporn Chaiyajina
 
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Theyok Tanya
 
Pat1 53
Pat1  53Pat1  53
Pat1 53
DearPR
 
เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์
Porna Saow
 
เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์
Porna Saow
 

Similar to Conic section2555 (20)

Geomety
GeometyGeomety
Geomety
 
Eng
EngEng
Eng
 
Math
MathMath
Math
 
Eng
EngEng
Eng
 
Eng
EngEng
Eng
 
Eng
EngEng
Eng
 
Intrigate(3)
Intrigate(3)Intrigate(3)
Intrigate(3)
 
Function2555
Function2555Function2555
Function2555
 
Cal
CalCal
Cal
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
 
Pat1 53
Pat1 53Pat1 53
Pat1 53
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
 
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
 
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
 
Pat1 53
Pat1  53Pat1  53
Pat1 53
 
เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์
 
เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์
 
31202 final532
31202 final53231202 final532
31202 final532
 

More from wongsrida

More from wongsrida (20)

Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
 
Event1 2555
Event1 2555Event1 2555
Event1 2555
 
Reasoning55
Reasoning55Reasoning55
Reasoning55
 
Asian
AsianAsian
Asian
 
Analytic geometry2555
Analytic geometry2555Analytic geometry2555
Analytic geometry2555
 
Rubric2555
Rubric2555Rubric2555
Rubric2555
 
Event2555
Event2555Event2555
Event2555
 
Plan matric2555
Plan matric2555Plan matric2555
Plan matric2555
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
 
Sufficiency55
Sufficiency55Sufficiency55
Sufficiency55
 
Rubric
RubricRubric
Rubric
 
Aseancountry thai
Aseancountry thaiAseancountry thai
Aseancountry thai
 
Report
ReportReport
Report
 
Relation
RelationRelation
Relation
 
Event
EventEvent
Event
 
Analytic geometry
Analytic geometryAnalytic geometry
Analytic geometry
 
Logarithm
LogarithmLogarithm
Logarithm
 

Conic section2555

  • 1. แผนการการจัดการเรียนรูที่  1  คณิตศาสตรเพิ่มเติม  รายวิชา ค31202  ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4  ภาคเรียนที่ 2  เรื่อง วงกลมและพาราโบลา (Cicle and Parabola)  เวลา 4 ชั่วโมง  ผลการเรียนรู  สมการรูปทั่วไปของวงกลมและพาราโบลา  สาระการเรียนรู  1. หาสมการวงกลมได  2. เมื่อกําหนดสมการวงกลมมาให สามารถหาสวนประกอบตาง ๆ ของวงกลมได  3. หาสมการพาราโบลาได  4. เมื่อกําหนดสมการพาราโบลามาให สามารถหาสวนประกอบตาง ๆ  ของ  พาราโบลาได  เนื้อหา  สมการวงกลม  สมการพาราโบลา  กิจกรรมการจัดการเรียนรู  1.  ผูสอนทบทวนเรื่องกรวยตรง แลวใหผูเรียนศึกษาภาพการตัดกรวยดวยระนาบในแนวตาง ๆ หนา  707 ในแบบเรียน  2.  ผูสอนแจงในระดับนี้จะศึกษาภาคตัดกรายสี่ลักษณะคือ วงกลม พาราโบลา วงรี และไฮเพอรโบลา  ดังนี้  บทนิยามเชิงเรขาคณิตของวงกลม : - วงกลมคือเซตของจุดทั้งหมดในระนาบที่หางจากจุด ๆ หนึ่งที่ตรึง  อยูกับที่ เปนระยะทางคงตัว จุดที่ตรึงอยูกับที่เรียกวา จุดศูนยกลางของวงกลม ระยะทางคงตัวเรียก รัศมี  ของวงกลม  รูปแบบมาตรฐานของสมการวงกลม  สมการวงกลมที่มีจุดศูนยกลางอยูที่ (h,k) รัศมีเทากับ r คือ ( x - h ) 2 + ( y - k ) 2 = r 2  รูปทั่วไปคือ Ax 2 + By 2  + Cx + Dy + E = 0  เมื่อ A = B บทนิยามเชิงเรขาคณิตของพาราโบลา : - พาราโบลาคือเซตของจุดทั้งหมดในระนาบ ซึ่งหางจากจุด F ที่  ตรึงอยูกับที่จุดหนึ่ง และเสนตรง l ที่ตรึงอยูกับเสนหนึ่งเปนระยะทางเทากัน เรียก F วาโฟกัส เสนตรง l  เรียกไดเรกตริกซหรือเสนบังคับ  รูปแบบมาตรฐานของสมการพาราโบลา  สมการพาราโบลาที่มีจุดยอด (h,k) คือ ( x - h ) 2  = 4 p ( y - k )  , p ¹ 0  ( y - k ) 2  = 4 p ( x - h )  , p ¹ 0  สมการพาราโบลาที่มีจุดยอด (0,0) คือ x 2  = 4 py  , p ¹ 0  2  y = 4 px  , p ¹ 0  ผูสอนใหผูเรียนเขียนพาราโบลาในกรณีตาง ๆ ทั้งหมดที่เปนไปได
  • 2. 3.  ผูสอนยกตัวอยางเชน  ตัวอยางที่ 1 จงหาสมการของพาราโบลาที่มีจุดยอด V(0,0) โฟกัส (0,3) พรอมทั้งเขียนกราฟ  ตัวอยางที่ 2 จงหาโฟกัสและไดเรกตริกซของพาราโบลา y = - 2 x 2  พรอมทั้งเขียนกราฟ  ตัวอยางที่ 3 จงหาสมการของพาราโบลาที่มีจุดยอด (2,1) โฟกัส (2,4)  1 1  ตัวอยางที่ 4 จงหาโฟกัสของพาราโบลา y = - x 2  - x +  2 2  4.  ผูสอนอธิบายเกี่ยวกับเลตัสเรกตัม สามารถใชเลตัสเรกตัมชวยในการเขียนกราฟพาราโบลา ซึ่ง  ความยาวเลตัสเรกตัมจะเทากับ |4P| สําหรับการหาสมการเสนสัมผัสพาราโบลาศึกษาจากตัวอยาง  ดังนี้  ตัวอยางที่ 5 จงหาสมการเสนสัมผัสพาราโบลา y = x 2  ที่จุด (1,1)  y = x 2  Y  1  จาก y = x 2  จะได p =  4  A 1ö (1,1)  โฟกัสคือ  æ 0,  ÷ ç F è 4  ø  X ใหเสนสัมผัสตัดแกน Y ที่ (0,b) B  (0,b) 1  FB = - b 4  2  1 5  FA = (1 - 0) + æ 1 - ö = 2  ç ÷ è 4 ø 4  1 5  Q FB = FA จะได - b =  , b = - 1  4 4  1 - ( -1)  ความชันของเสนสัมผัส m = = 2  1 - 0  สมการเสนสัมผัส คือ y = 2 x - 1  5.  ผูสอนใหผูเรียนทําใบกิจกรรม  และมอบหมายงาน โจทยใหทําตามความเหมาะสมกับผูเรียน  สื่ออุปกรณ  ใบกิจกรรม  รูปกรวย หนาตัดวงกลม พาราโบลา  การวัดและการประเมินผล  สังเกตการตอบคําถาม  สังเกตจากทําใบกิจกรรม  สังเกตจากงานที่มอบหมาย 
  • 3. แผนการการจัดการเรียนรูที่  2  คณิตศาสตรเพิ่มเติม  รายวิชา ค31202  ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4  ภาคเรียนที่ 2  เรื่อง วงรี (Ellipses)  เวลา 4 ชั่วโมง  สาระสําคัญ สมการรูปทั่วไปของวงรี จะมีตัวแปรอยูในรูปกําลังสองทั้งสองตัวแปร คือ Ax 2 + By 2  + Cx + Dy + E = 0 , A ¹ B ¹ 0  A, B เปนจํานวนบวกทั้งคู หรือ จํานวนลบทั้งคู  ผลการเรียนรู  1. สามารถหาสมการวงรีได  2. เมื่อกําหนดสมการวงรีมาให สามารถหาสวนประกอบตาง ๆ ของวงรีได  เนื้อหา  สมการวงรี  กิจกรรมการจัดการเรียนรู  1.  ทบทวนวงกลมและพาราโบลา แลวผูสอนเขียนรูปวงรีใหผูเรียนสังเกต จุดทุกจุดบนวงรี จะมี  ผลบวกของระยะทางจากจุดใด ๆ ไปยังจุดคงที่สองจุด เทากันเสมอ P 1 P 2 .  . P1 F1 + PF2 = P2 F1 + P2 F  = คาคงที่  1 2  F 1 F 2 2.  ผูสอนใหบทนิยามของวงรีเชิงเรขาคณิต เขียนรูปแลวใหผูเรียนบอกสวนประกอบของวงรี อยู  ตําแหนงใดบาง หรือเปนสวนใดในรูป แลวสรุปสมการในรูปมาตรฐาน ดังนี้  จุดศูนยกลาง (h,k) และ 0 < b < a  ( x - h ) 2 ( y - k ) 2  + 2  = 1  a2 b ( x - h ) ( y - k ) 2  2 + 2  = 1  b2 a  x 2 y 2  x 2 y 2  จุดศูนยกลาง (0,0) จะได 2 + 2  = 1 , 2 + 2  = 1  a b  b a  3.  ผูสอนยกตัวอยางเชน  ตัวอยางที่ 1 วงรีรูปหนึ่งมีจุดยอดอยูที่  ( ± 4,0)  โฟกัสอยูที่  ( ± 3,0)  จงหาสมการวงรีพรอมทั้งเขียน  กราฟ  x 2 y 2  ตัวอยางที่ 2 จงหาโฟกัส จุดยอด ความยาวแกนเอกและแกนโทของวงรี + = 1  16 4  2 2  ตัวอยางที่ 3 จงเขียนสมการวงรี x + 4 y + 6 x - 8 y + 9 = 0  ในรูปสมการมาตรฐาน  ตัวอยางที่ 4 จงหาจุดศูนยกลาง จุดยอด และโฟกัสของวงรี 4 x 2 + y 2  - 8 x + 4 y - 8 = 0  c 4.  ผูสอนอธิบาย Eccentricity (e) จะได e =  , 0 < e < 1 , e = a 2 - b 2  พรอมยกตัวอยาง  a ตัวอยางที่ 5 จงหาสมการของวงรีที่มีโฟกัสอยูที่  (0, ± 4)  และมีความเยื้องศูนยกลาง (Eccentricity)  8  เทากับ  15 
  • 4. 5.  ผูสอนใหผูเรียนทําใบกิจกรรม  6.  ผูสอนสุมผูเรียนทําบนกระดาน และทําโจทย แลวมอบหมายงานตามความเหมาะสม  สื่ออุปกรณ  ใบกิจกรรม  กรวย หนาตัดวงรี  การวัดและการประเมินผล  สังเกตการตอบคําถาม  สังเกตการทําบนกระดาน  สังเกตจากใบกิจกรรม  ที่ผูเรียนทํา  สังเกตจากงานที่มอบหมาย
  • 5. แผนการการจัดการเรียนรูที่  3  คณิตศาสตรเพิ่มเติม  รายวิชา ค31202  ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4  ภาคเรียนที่ 2  เรื่อง  ไฮเพอรโบลา)  Hyperbola  เวลา 4 ชั่วโมง  ผลการเรียนรู  ไฮเพอรโบลาเกิดจากผลตางของระยะจากโฟกัสทั้งสอง สมการรูปทั่วไป Ax 2 + By 2  + Cx + Dy + E = 0 , A > 0 , B < 0  หรือ A < 0 , B > 0  สาระการเรียนรู  1. หาสมการไฮเพอรโบลาได  2. เมื่อกําหนดสมการไฮเพอรโบลามาให สามารถหาสวนประกอบตาง ๆ ของ  ไฮเพอรโบลาได  เนื้อหา  สมการไฮเพอรโบลา  สมการของภาคตัดกรวยลดรูป  กิจกรรมการจัดการเรียนรู  1.  ผูสอนทบทวนสมการวงรี พาราโบลา วงกลม แลวใหบทนิยามเชิงเรขาคณิตของไฮเพอรโบลา  เขียนรูปไฮเพอรโบลาที่มีแกนตามขวางขนานแกน X และแกน Y ถามสวนประกอบตาง ๆ ของ  ไฮเพอรโบลา แนะนําการเขียนรูปไฮเพอรโบลาโดยใชเสนกํากับ (Asymptotes)  2.  ผูสอนสรุปสมการมาตรฐานของไฮเพอรโบลาดังนี้  จุดศูนยกลาง (h,k) , c 2 = a 2 + b 2  ( x - h ) 2 ( y - k ) 2  - 2  = 1  a2 b ( y - k ) ( x - h ) 2  2 - 2  = 1  a2 b  จุดศูนยกลาง (0,0) x 2 y 2  y 2 x 2  - = 1  หรือ  2 - 2  = 1  a 2 b 2  a b  b สําหรับสมการเสนกํากับคือ y = k ± ( x - h )  a  a หรือ y = k ± ( x - h )  b  3.  ผูสอนยกตัวอยางเชน  ตัวอยางที่ 1 จงหาโฟกัส ความยาวแกนตามขวางและแกนสังยุค สมการเสนกํากับของไฮเพอรโบลา 4 x 2 - y 2  = 16  ตัวอยางที่ 2 จงเขียนสมการไฮเพอรโบลา 4 x 3 - 3 y 2  + 8 x + 16 = 0  ในรูปสมการมาตรฐาน และจงหา  สมการเสนกํากับ  ตัวอยางที่ 3 จงหาสมการไฮเพอรโบลาที่มีจุดยอด  ( ± 2,0)  โฟกัส  ( ± 3,0)  ตัวอยางที่ 4 จงหาสมการไฮเพอรโบลาที่มีจุดยอด  (0, ± 2)  และเสนกํากับ y = ± x พรอมทั้งเขียน  กราฟ
  • 6. 4.  ผูสอนทบทวนคาความเยื้องศูนยกลางของวงรี ในไฮเพอรโบลาก็หาความเยื้องศูนยกลาง โดยใช c e =  เชนเดียวกัน c > a และ  e > 1  ผูสอนเพิ่มเติมกรณีที่เสนกํากับทั้งสองตั้งฉากกัน จะเรียก  a ไฮเพอรโบลา  มุมฉาก  5.  ผูสอนใหผูเรียนฝกทักษะทําโจทย  6.  ผูสอนใหผูเรียนจําแนกรูปทั่วไปของภาคตัดกรวยทั้งสี่ ซึ่งจะสรุปไดวา  ถามีสมการรูปทั่วไป Ax 2 + By 2  + Cx + Dy + E = 0  1.  วงกลม A = B 2.  พาราโบลา AB = 0  A = 0  หรือ B = 0  เปน 0 ทั้งคูไมได  3.  วงรี AB > 0  A กับ B มีเครื่องหมายเหมือนกัน  4.  ไฮเพอรโบลา AB < 0  A กับ B มีเครื่องหมายตางกัน  7.  ผูสอนใหผูเรียนจําแนกสมการของภาคตัดกรวย โดยใชโจทยขอ 41-48 หนา 733  8.  ผูสอนเพิ่มเติมบางกรณีการตรวจสอบดวยเงื่อนไขที่ผานมา อาจไมถูกตองก็ได ดังตัวอยางตอไปนี้  ตัวอยางที่ 5 จงเขียนกราฟของ 9 y 2 - x 2  + 18 y + 6 x = 0  จากเงื่อนไขดังกลาว สมการนี้นาจะเปนสมการไฮเพอรโบลา   พิจารณารูปกําลังสองสมบูรณ  9( y 2 + 2 y ) - ( x 2  - 6 x ) = 0  9( y 2 + 2 y + 1) - ( x 2  - 6 x + 9) = 0 + 9 - 9  9( y + 1) 2 - ( x - 3) 2  = 0  ( x - 3) 2  2  ไมใชรูปไฮเพอรโบลา  ( y + 1) - = 0  9  ทําตอ  ( x - 3) 2  ( y + 1) 2  = 9  1  y + 1 = ± ( x - 3)  3  1  1  y + 1 = ( x - 3)  หรือ  y + 1 = - ( x - 3)  3  3  1  1  y = x - 2  y = -  x  3  3  จากสมการจะไดกราฟเปนเสนตรงสองเสน ดังรูป Y  3  2  1 ­2  2  4  6  8 X  ­1 1  1  y = x - 2  y = - x  ­2  3  3 
  • 7. ผูสอนเพิ่มเติม สมการเชนนี้เปนสมการของภาคตัดกรวยลดรูป เรียกชื่อเฉพาะวา ไฮเพอรโบลาลดรูป  สมการ x 2 + 4 y 2  + 2 x - 8 y + 6 = 0  ดูเหมือนจะเปนสมการของวงรี เมื่อจัดรูปใหมจะได 2  2  ( x + 1) 1  ( y - 1)  + = -  ซึ่งเปนสมการที่ไมมีคําตอบ สมการนี้เปนสมการของวงรีลดรูป ภาคตัด  4 4  กรวยลดรูป กราฟอาจเปนเสนตรง 2 เสนตัดกัน จุด ๆ หนึ่ง หรืออาจไมมีกราฟเลยก็ได  9.  ผูสอนใหผูเรียนทําใบกิจกรรม  พรอมมอบหมายงานโจทยใหทํา  สื่ออุปกรณ  ใบกิจกรรมที่  ภาคตัดกรวย ไฮเพอรโบลา  การวัดและการประเมินผล  สังเกตจากตอบคําถาม  สังเกตการทํางานบนกระดาน  สังเกตการทําใบกิจกรรม  สังเกตจากงานที่มอบหมาย  ลงชื่อ............................................  (นายอุดม  วงศศรีดา)  ตําแหนง ครู ชํานาญการพิเศษ  ผูจัดทํา