SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
สวนที่ 3                                          Chapter 6
            System Analysis                                    System Requirements
                                                               Determination
            การวิเคราะหระบบ
                                                               การกําหนดความตองการของระบบ




Learning Objectives                                      System Development Life Cycle : SDLC
      สามารถกําหนดความตองการของระบบได
      สามารถทราบถึงความสําคัญของความตองการและวิธศึกษา
                                                 ี
      แหลงขอมูลเพื่อหารายละเอียด                                               กิจกรรมในขั้นตอนนี้ไดแก
      สามารถทราบถึงการกําหนดความตองการของระบบแนวใหม                            1. การกําหนดความตองการ
                                                                                 ของระบบ
                                                                                 2. การวิเคราะหความตองการ
                                                                                 ของระบบใหม




6.2                                                      6.3
Topics                                                          แนะนําการกําหนดความตองการของระบบ
                                                                 การกําหนดความตองการของระบบ คือ การวิเคราะหถึงการทํางานของ
      แนะนําการกําหนดความตองการของระบบ
                                                                 ระบบเดิมเพื่อหาปญหาที่เกิดขึ้นจริงๆ ซึ่งจะตองมีการเก็บรวบรวมขอมูลและ
      ทฤษฎีแบบดั้งเดิมทีใชในการเก็บรวบรวมขอเท็จจริงและ
                        ่                                        ขอเท็จจริงของระบบเดิมกอน เพื่อจะทําทราบรายละเอียดอาทิเชน
      สารสนเทศ
                                                                 1. เปาหมายขององคกรทําใหทราบวาองคกรดําเนินธุรกิจอะไรและ
      ทฤษฎีแบบใหมที่ใชในการเก็บรวบรวมขอเท็จจริงและสารสนเทศ         อยางไร
                                                                 2. สารสนเทศที่ผใชระบบตองการในการดําเนินงาน
                                                                                      ู
                                                                 3. ประเภทของขอมูล ขนาด และจํานวนขอมูลที่เกิดขึ้นในระหวางการ
                                                                      ทํางาน
                                                                 4. ขอมูลเกิดขึนเมื่อใด เกิดขึ้นจากขั้นตอนใดของระบบ และขอมูลจาก
                                                                                  ้
                                                                      ขั้นตอนหนึ่งไปยังขั้นตอนใดตอไปและอยางไร
                                                                 5. ลําดับขั้นตอนการทํางาน
                                                                 6. เงื่อนไขตางๆ ที่เกิดขึ้นในระหวางการประมวลผลขอมูลนั้น
                                                                 7. นโยบายในการปฏิบัติงาน
                                                                 8. เหตุการณสาคัญใดบางที่มีผลกระทบตอขอมูลและเหตุการณเหลานั้น
                                                                                    ํ
                                                                      จะเกิดขึ้นเมื่อใด
6.4                                                             6.5




ทฤษฎีแบบดั้งเดิม                                                ทฤษฎีแบบดั้งเดิม
ทฤษฎีแบบดั้งเดิมที่ใชในการเก็บรวบรวมขอเท็จจริงและ             1. ตัวอยางเอกสาร แบบฟอรม และฐานขอมูลที่ใชงานในปจจุบัน
                                                                (Existing Documents/ Sampling)ทําได 2 วิธี
สารสนเทศ                                                        1. การรวบรวมขอเท็จจริงจากเอกสารที่มีอยู (Existing Documents)
                                                                     เชน
1.     ตัวอยางเอกสาร แบบฟอรม และฐานขอมูลที่ใชงานในปจจุบน
                                                            ั   -     เอกสารที่ใชในองคกร เชน บันทึกตางๆ คําแนะนํา แบบแสดงความคิดเห็น
       (Existing Documents/ Sampling)                                 ของลูกคา รายงานประจําเดือน เปนตน
                                                                -     เอกสารทางการบัญชี รายงานผลการดําเนินการ การประเมินผลงาน
2.     การคนหาขอมูล (Research)                                -     คํารอง หรือบันทึกตางๆ ในองคกร หรือ จากโครงการระบบสารสนเทศของ
3.     การสังเกตการณ (Observation)                                   องคกร ทั้งในอดีตและปจจุบัน
                                                                -     แผนกลยุทธการดําเนินธุรกิจ (Strategic Plan) และเอกสารแสดงภารกิจ
4.     การจัดทําแบบสอบถาม (Questionnaire)                             (Mission Statement) ขององคกร
5.     การสัมภาษณ (Interview)                                  -     วัตถุประสงคในการดําเนินธุรกิจขององคกร (Objective) หรือหนวยงานตางๆ
                                                                -     นโยบายขององคกร (Policy)
                                                                -     แบบฟอรมตางๆ ที่มีการกรอกขอความเรียบรอยแลว
                                                                -     คูมือการใชงานจอภาพ และรายงานตางๆ (Screens and Report)


6.6                                                             6.7
ทฤษฎีแบบดั้งเดิม
  นอกจากนีนกวิเคราะหตรวจสอบจากการดําเนินการกอนหนานีไดแก
           ้ ั                                          ้
  -  ผังงาน (Flow Charts) และแผนภาพ (Diagrams)
  -  พจนานุกรม หรือแหลงเก็บขอมูลโครงการ (Dictionary or
     Repository)
  -  เอกสารการออกแบบ ไดแก ขอมูลนําเขา ขอมูลผลลัพธ และ
     ฐานขอมูล
  -  เอกสารการเขียนโปรแกรม
  -  คูมือการใชงานและการอบรม (Operation and Training
     Manual)

  2. การสุมตัวอยาง (Sampling) หมายถึง กระบวนการรวบรวม
          
  ขอมูลโดยการเลือกตัวอยางเอกสาร แบบฟอรม หรือแหลงขอมูลอืนๆ
                                                            ่
  เพียงบางสวนจากทั้งหมดทีมีในองคกร
                           ่

6.8                                                              6.9




ทฤษฎีแบบดั้งเดิม
 2. การคนหาขอมูล (Research) เชน
     คนควาไดจาก Web Site ของหนวยงาน
     คนควาไดจากนิตยสาร
     คนควาไดจากหนังสือพิมพธุรกิจตางๆ
     คนควาขอมูลของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร ซอฟตแวรสําเร็จรูป
     สําหรับงานธุรกิจตางๆ ไดจากเครือขายอินเทอรเน็ต




6.10                                                             6.11
ทฤษฎีแบบดั้งเดิม                                                  ทฤษฎีแบบดั้งเดิม
  3. การสังเกตการณ (Observation)                                        ขอดี
                                                                   1.    ขอมูลที่รวบรวมไดมีความนาเชื่อถือคอนขางสูง
     ประเภทของการสังเกตแบงเปน 2 ประเภทใหญคือ                    2.    นักวิเคราะหระบบสามารถเห็นขันตอนการดําเนินการที่เกิดขึ้นจริง
                                                                                                        ้
     1. การสังเกตทางตรง (Director observation)                     3.    เมื่อเทียบกับเทคนิคอื่นๆ การสังเกตการณเปนเทคนิคที่ใชเงินทุนต่ํา
     2. การสังเกตทางออม (Indirect observation)                    4.    นักวิเคราะหระบบสามารถวัดผลการดําเนินการของเทคนิคนี้ได

                                                                         ขอเสีย
  การสังเกตทางตรงสามารถแบงยอยไดเปน 2 ลักษณะ                    1.    มีผลกระทบการทํางานของเจาหนาที่อาจทําใหอึดอัดและผิดพลาดได
  1. การสังเกตแบบมีสวนรวม (Participant observation)              2.    ตองใชระยะเวลาคอนขางมาก ไมเชนนันอาจไดขอมูลที่ไมครบถวนทุก
                                                                                                                 ้
                                                                         เงื่อนไขในการดําเนินการ
  2. การสังเกตโดยไมไดเขาไปมีสวนรวม (Non-participant           3.    การดําเนินการบางงานอาจมีลักษณะงานที่ไมสะดวก หรือชวงเวลาไมตรงกัน
    observation)                                                         กับนักวิเคราะหระบบ
                                                                   4.    การดําเนินการบางขั้นตอนอาจมีเงื่อนไขบางประการที่มีโอกาสเกิดขึ้นนอย
                                                                         มาก
                                                                   5.    เจาหนาที่อาจปฏิบัติงานไมเต็มที่เมื่อทราบวานักวิเคราะหจะเขามา
                                                                         สังเกตการณ โดยปฏิบัติงานเทาที่ตองการใหนักวิเคราะหระบบทราบเทานั้น

6.12                                                              6.13




ทฤษฎีแบบดั้งเดิม                                                  ทฤษฎีแบบดั้งเดิม
 ขอแนะนําสําหรับนักวิเคราะหระบบในการสังเกตการณ เชน              4. การจัดทําแบบสอบถาม (Questionnaire)
 1. กําหนดตัวบุคคล สิ่งที่ตองการ สถานที่ เวลา เหตุผล และวิธทใช
                                                          ี ี่        การเลือกกลุมผูตอบแบบสอบถาม
                                                                                        
     ในการสังเกตการณการดําเนินงาน                                  1. เลือกตามความสะดวก (Convenient to Sample) ไดแก คนที่
 2. ควรไดรับการยินยอมจากผูจัดการ หรือหัวหนาระบบงานนัน
                                                       ้               ทํางาน ณ ทีตั้งสํานักงาน
                                                                                      ่
 3. จดบันทึกขอมูลระหวางการศึกษาการดําเนินงาน                      2. เลือกโดยวิธีสุม (Random)
 4. ทบทวนขอมูลทีบนทึกกับเจาหนาทีผูดาเนินงาน
                    ่ ั             ่ ํ                             3. เลือกตามวัตถุประสงคเฉพาะทีกําหนด (Purposeful Sample)
                                                                                                       ่
 5. ไมขัดจังหวะการดําเนินงานใดๆของเจาหนาที่                          เชนเลือกผูที่เคยใชระบบนันนานกวา 2 ป หรือเลือกผูทใชระบบ
                                                                                                  ้                         ี่
 6. มุงสนใจการดําเนินงานหลัก                                           บอยที่สุด
 7. ไมสรุปขอสันนิษฐานใดๆดวยตนเอง                                 4. เลือกจากกลุมตางๆที่จัดแบงไว (Stratified Sample) เชน
                                                                        แบงกลุมผูใช กลุมผูบริหาร จากนันสุมเลือกจากแตละกลุม
                                                                                                        ้
 8. กําหนดวัตถุประสงคในการสังเกตการณดาเนินงานแตละขั้นตอน
                                          ํ




6.14                                                              6.15
ทฤษฎีแบบดั้งเดิม                                                              ทฤษฎีแบบดั้งเดิม
 ประเภทของแบบสอบถาม                                                            ตัวอยางคําถามปลายเปด (Free Format)
 1. Free Format : เปนแบบสอบถามที่ใหอิสระในการตอบ
                                                                               1.    ปจจุบัน ทานทํางานในตําแหนง…………………….
 2. Fixed Format : คําถามในแบบสอบถามตองการคําตอบที                            2.    ทานทํางานในหนวยงานนี้เปนเวลา……… ป………เดือน
     เจาะจงลงไป โดยมีคําตอบใหผูตอบเลือกมี 3 ประเภท
                                                                               3.    ปจจุบันทานอายุ………….ป
    2.1. Multiple Choices: มีคําตอบหลายขอใหเลือกตอบ และ                      :        :         :        :       :        :        :
        ผูตอบสามารถเลือกคําตอบไดมากกวา 1 ขอ                                20. ระบบงานที่ทานกําลังดําเนินการอยูเกิดปญหาในการดําเนินงานดานใดบาง
    2.2. Rating Question: มีคําตอบเปนตัวเลือกเพื่อใหแสดงความ                 …………………………………………………………………………………………………….
        คิดเห็น โดยการกําหนดระดับความคิดเห็นของผูตอบในแต                     21.ถาทานเปนผูบริหาร ทานมีแนวทางอยางไรในการปรับปรุงการดําเนินงานให
        ละขอวามากนอยเพียงใด                                                       เกิดประสิทธิภาพ
    2.3. Ranking Question: เปนการจัดลําดับความสําคัญของ                       ……………………………………………………………………………………………………..
        คําตอบตางๆ ในแตละคําถาม                                              22. ถาทานเปนผูบริหาร ทานจะสั่งการใหมีการดําเนินการดานใดบาง เพื่อเพิ่ม
                                                                                     ประสิทธิภาพในหนวยงานของทาน
                                                                               ……………………………………………………………………………………………………



6.16                                                                          6.17




ทฤษฎีแบบดั้งเดิม                                                              ทฤษฎีแบบดั้งเดิม
 ตัวอยางคําถามปลายปด (Fixed Format)                                          5. การสัมภาษณ (Interview)
 1.    ในการดําเนินงานของสวนงานทานตองจัดทํารายงานใดบาง                        ประเภทของการสัมภาษณ
        [ ] รายงานเงินเดือน [ ] รายงานภาษี [ ] รายงานการสั่งซื้อ [ ] รายงาน       1. การสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง (Unstructured
       ยอดขาย
        [ ] รายงานการรับสมัครงาน [ ] รายงานเวลาทํางาน [ ] รายงานขอมูล                Interview) เปนลักษณะการสัมภาษณหัวขอทั่ว ๆ ไปเกี่ยวกับองคกร
       พนักงาน                                                                          ไมเจาะจงหัวขอของการสัมภาษณ การสัมภาษณแบบนี้ไมเหมาะกับการ
        [ ] อื่นๆ โปรดระบุ…………………                                                       วิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ
 3.    ทานคิดวาการนําระบบสารสนเทศเขามาใชในหนวยงานสามารถชวยแกปญหา             2. การสัมภาษณแบบมีโครงสราง (Structured Interview) ผู
       ในการดําเนินงานไดมากนอยแคไหน
                                                                                        สัมภาษณจะตองมีการเตรียมขอมูล และคําถามเพื่อสอบถามขอเท็จจริง
       [ ] นอยมาก [ ] นอย [ ] ปานกลาง [ ] มาก [ ] มากที่สุด
                                                                                        ตาง ๆ จากผูใหสัมภาษณ โดยสามารถสอบถามขอสงสัยตาง ๆ เพิมเติม
                                                                                                                                                  ่
 4.          ทานมีความพึงพอใจในตําแหนงหนาที่การงานของทานในดานใดบางให
       เรียงลําดับความสําคัญ                                                            ไดเพื่อตรวจสอบความเขาใจของผูสัมภาษณวาถูกตองหรือไม
       ……ความมั่นคงของหนวยงาน
       ……คาตอบแทน
       ……ลักษณะงานที่ทําอยู
       ……ตําแหนง
6.18                                                                          6.19
ทฤษฎีแบบดั้งเดิม                                                ทฤษฎีแบบดั้งเดิม
 เทคนิคการสัมภาษณ                                                ขอแนะนําสิงที่ควรทํา
                                                                             ่
 1. การเลือกบุคคลผูใหสัมภาษณ
                                                                 1. มีความสุภาพและมีมารยาท
 2. การเตรียมการสัมภาษณ คําถามที่ใชควรมีลกษณะ
                                           ั                      2. ตั้งใจฟง
       2.1   กระชับ และเขาใจงาย
       2.2   ไมนําเสนอความคิดเห็นสวนตัวแฝงในคําถาม              3. ควบคุมสถานการณ
       2.3   หลีกเลี่ยงคําถามที่ซับซอน หรือยาวเกินไป             4. ตรวจสอบขอมูล
       2.4   หลีกเลี่ยงการใชถอยคําในลักษณะคุกคาม หรือขมขู     5. มีความอดทน
 3. การดําเนินการสัมภาษณมี 3 ขั้นตอน                             6. สังเกตกิรยา ทาทาง รวมทังภาษากาย (Body Language)
                                                                               ิ             ้
       3.1 เปดสัมภาษณ (Interview Opening)
       3.2 สัมภาษณ (Interview Body)                              7. ไมกังวล
       3.3 ปดสัมภาษณ (Interview Conclusion)
 4. ติดตามผลการสัมภาษณ



6.20                                                            6.21




ทฤษฎีแบบดั้งเดิม                                                ทฤษฎีแนวใหม
  ขอแนะนําสิงที่ควรหลีกเลียง
               ่            ่                                     ทฤษฎีแนวใหมในการกําหนดความตองการของระบบ
  1. คําถามที่ไมจําเปนหรือไมควรถาม                             1. Joint Application Design (JAD)
  2. การสันนิษฐานเองวาคําตอบที่ไดรบสมบูรณ
                                      ั                           2. Rapid Application Development (RAD)
  3. การชีนาทั้งดวยคําพูดและภาษากาย
           ้ ํ
  4. การใชศัพทเฉพาะ หรือคําที่เขาใจยาก
  5. การแสดงความคิดเห็น
  6. การพูดมากเกินความจําเปนแทนที่จะรับฟงคําตอบ
  7. การสันนิษฐานเกี่ยวกับหัวขอเรื่องและผูใหสัมภาษณ
  8. การใชเทปบันทึกเสียง




6.22                                                            6.23
ทฤษฎีแนวใหม                                                           ทฤษฎีแนวใหม
 1. Joint Application Design (JAD)                                      ผูเขารวมการดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดวยเทคนิค JAD มีดังนี้
        คือ กระบวนการในการจัดการ และเพิ่มความสามารถในการ                1. JAD Session Leader เปนผูดาเนินการประชุม
                                                                                                          ํ
 ปฏิบติงานรวมกันของเจาของระบบ ผูใชระบบงานนักวิเคราะหระบบ
      ั                                                                2. Users คือผูใชระบบ
 ผูออกแบบระบบ และผูสรางระบบ เพื่อรวมกันกําหนดขอบเขต
                                                                       3. Manager คือผูบริการองคกร
                                                                                                
                                                                        4. Sponsor คือผูรบผิดชอบเรืองคาใชจายในการพัฒนาระบบนันๆ
                                                                                                  ั     ่                              ้
 วิเคราะห และออกแบบระบบ คือเปนการประชุมงานรวมกันของผูมี
                                                                        5. System Analyst คือนักวิเคราะหและออกแบบระบบ
 สวนเกี่ยวของกับการพัฒนาระบบนันเอง ทั้งนี้เพื่อชวยลดเวลาและ
                                 ่
                                                                        6. Scribe คือผูททาหนาที่จดสรุปรายละเอียดระหวางการประชุม
                                                                                            ี่ ํ
 คาใชจายในขันตอนการเก็บขอมูล
                ้
                                                                        7. IS Staff ทีมของหนวยบริการสารสนเทศ




6.24                                                                   6.25




ทฤษฎีแนวใหม                                                           ทฤษฎีแนวใหม
 2. RAD คือ การพัฒนาระบบ (Methodology) โดยการรวมเอา                           Task:
                                                                              - Users,manager,and IT
 เทคนิค (Techniques) เครื่องมือ (Tools) และเทคโนโลยี                          Staff agree upon business
 (Technologies) เขาดวยกัน เพื่อประยุกตใชในการพัฒนาระบบให                  needs,project scope,and
                                                                               systems requirementsl
                                                                                                                   Planning
 สําเร็จลุลวงไดโดยใชเวลานอยที่สุด ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความพรอมของ          - Obtain approval to continue
                                                                                                                                           Task:
 องคการในขณะนั้น ไมวาจะเปนเรื่องคาใชจาย บุคลากร รวมถึง           Task:                                                              -     Program and
                                                                                                                                                 application
 ความตองการที่แนนอนของผูใชงาน                                       -     Interact with
                                                                              users                                                              development
                                                                        -     Build model
                                                                                                              Design      Development      -     Coding
                                                                                                                                           -     Unit, integration,
 ขอดี
                                                                              and prototypes
                                                                        -     Conduct                                                            and system testing
         เหมาะกับองคกรทีมความพรอมในการพัฒนา
                         ่ ี                                                  intensive JAD-
                                                                              type sessions
         สามารถพัฒนาระบบไดอยางรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ                                                                                Task:
                                                                                                                                        -       Data Conversion
                                                                                                                       Cutover          -       Full-scale testing
                                                                                                                                        -       System changeover
                                                                                                                                        -       User training


6.26                                                                   6.27
Reference Book and Text Book
 ตําราอางอิง

       คัมภีรการวิเคราะหและออกแบบระบบ กิตติ ภักดีวฒนกุล และ
                                                  ั

                                                                           Q&A
       พนิดา พานิชกุล
       Modern Systems Analysis & Design : Jeffrey A. Hoffer,
       Joey F.George, Joseph S. Valacich

 เว็บไซต
       http://course.eau.ac.th/course/Download/0230805/บทที่6.ppt




6.28                                                                6.29

More Related Content

What's hot

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศnprave
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปีanutree pankulab
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้jutarat55
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดWareerut Hunter
 
งานวิจัยระบบงานธุรการ
งานวิจัยระบบงานธุรการงานวิจัยระบบงานธุรการ
งานวิจัยระบบงานธุรการPin Ponpimol
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้jutarat55
 
Introducation to database system
Introducation to database systemIntroducation to database system
Introducation to database systemChulalakB2ST
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศManas Panjai
 

What's hot (14)

Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
 
งานวิจัยระบบงานธุรการ
งานวิจัยระบบงานธุรการงานวิจัยระบบงานธุรการ
งานวิจัยระบบงานธุรการ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
 
Introducation to database system
Introducation to database systemIntroducation to database system
Introducation to database system
 
รายงาน Project2
รายงาน Project2รายงาน Project2
รายงาน Project2
 
Mis_hrcc
Mis_hrccMis_hrcc
Mis_hrcc
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
R2R
R2RR2R
R2R
 

Viewers also liked

Viewers also liked (11)

Chapter005
Chapter005Chapter005
Chapter005
 
546345
546345546345
546345
 
546656
546656546656
546656
 
Unit04
Unit04Unit04
Unit04
 
Dc282 hci technology
Dc282 hci technologyDc282 hci technology
Dc282 hci technology
 
Hci week1 stamford edit
Hci week1 stamford editHci week1 stamford edit
Hci week1 stamford edit
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Chapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systemsChapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systems
 
Thai hci
Thai hciThai hci
Thai hci
 
Interaction Paradigms
Interaction ParadigmsInteraction Paradigms
Interaction Paradigms
 
HCI - Chapter 4
HCI - Chapter 4HCI - Chapter 4
HCI - Chapter 4
 

Similar to Chapter006

ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pWareerut Suwannalop
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1dechathon
 
ISO27001_Army Audit Office
ISO27001_Army Audit OfficeISO27001_Army Audit Office
ISO27001_Army Audit OfficeRawee Sirichoom
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestWeerachat Martluplao
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทPermtrakul Khammoon
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์Earnzy Clash
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 

Similar to Chapter006 (20)

Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Chapter003
Chapter003Chapter003
Chapter003
 
ISO27001_Army Audit Office
ISO27001_Army Audit OfficeISO27001_Army Audit Office
ISO27001_Army Audit Office
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontest
 
Unit01
Unit01Unit01
Unit01
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
 
K6
K6K6
K6
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
123
123123
123
 
123
123123
123
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
 
56456456
5645645656456456
56456456
 

More from TaiMe Sakdisri (18)

456245345
456245345456245345
456245345
 
4563456
45634564563456
4563456
 
56785774
5678577456785774
56785774
 
Unit07
Unit07Unit07
Unit07
 
6784678467
67846784676784678467
6784678467
 
4678467846
46784678464678467846
4678467846
 
Unit02
Unit02Unit02
Unit02
 
Original 02 hci_principles
Original 02 hci_principlesOriginal 02 hci_principles
Original 02 hci_principles
 
Original 01 hci_principles
Original 01 hci_principlesOriginal 01 hci_principles
Original 01 hci_principles
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
D1 overview
D1 overviewD1 overview
D1 overview
 
Chapter009
Chapter009Chapter009
Chapter009
 
Chapter008
Chapter008Chapter008
Chapter008
 
Chapter006 (1)
Chapter006 (1)Chapter006 (1)
Chapter006 (1)
 
Chapter004
Chapter004Chapter004
Chapter004
 
Chap1 updated
Chap1 updatedChap1 updated
Chap1 updated
 
6543456
65434566543456
6543456
 
345635
345635345635
345635
 

Chapter006

  • 1. สวนที่ 3 Chapter 6 System Analysis System Requirements Determination การวิเคราะหระบบ การกําหนดความตองการของระบบ Learning Objectives System Development Life Cycle : SDLC สามารถกําหนดความตองการของระบบได สามารถทราบถึงความสําคัญของความตองการและวิธศึกษา ี แหลงขอมูลเพื่อหารายละเอียด กิจกรรมในขั้นตอนนี้ไดแก สามารถทราบถึงการกําหนดความตองการของระบบแนวใหม 1. การกําหนดความตองการ ของระบบ 2. การวิเคราะหความตองการ ของระบบใหม 6.2 6.3
  • 2. Topics แนะนําการกําหนดความตองการของระบบ การกําหนดความตองการของระบบ คือ การวิเคราะหถึงการทํางานของ แนะนําการกําหนดความตองการของระบบ ระบบเดิมเพื่อหาปญหาที่เกิดขึ้นจริงๆ ซึ่งจะตองมีการเก็บรวบรวมขอมูลและ ทฤษฎีแบบดั้งเดิมทีใชในการเก็บรวบรวมขอเท็จจริงและ ่ ขอเท็จจริงของระบบเดิมกอน เพื่อจะทําทราบรายละเอียดอาทิเชน สารสนเทศ 1. เปาหมายขององคกรทําใหทราบวาองคกรดําเนินธุรกิจอะไรและ ทฤษฎีแบบใหมที่ใชในการเก็บรวบรวมขอเท็จจริงและสารสนเทศ อยางไร 2. สารสนเทศที่ผใชระบบตองการในการดําเนินงาน ู 3. ประเภทของขอมูล ขนาด และจํานวนขอมูลที่เกิดขึ้นในระหวางการ ทํางาน 4. ขอมูลเกิดขึนเมื่อใด เกิดขึ้นจากขั้นตอนใดของระบบ และขอมูลจาก ้ ขั้นตอนหนึ่งไปยังขั้นตอนใดตอไปและอยางไร 5. ลําดับขั้นตอนการทํางาน 6. เงื่อนไขตางๆ ที่เกิดขึ้นในระหวางการประมวลผลขอมูลนั้น 7. นโยบายในการปฏิบัติงาน 8. เหตุการณสาคัญใดบางที่มีผลกระทบตอขอมูลและเหตุการณเหลานั้น ํ จะเกิดขึ้นเมื่อใด 6.4 6.5 ทฤษฎีแบบดั้งเดิม ทฤษฎีแบบดั้งเดิม ทฤษฎีแบบดั้งเดิมที่ใชในการเก็บรวบรวมขอเท็จจริงและ 1. ตัวอยางเอกสาร แบบฟอรม และฐานขอมูลที่ใชงานในปจจุบัน (Existing Documents/ Sampling)ทําได 2 วิธี สารสนเทศ 1. การรวบรวมขอเท็จจริงจากเอกสารที่มีอยู (Existing Documents) เชน 1. ตัวอยางเอกสาร แบบฟอรม และฐานขอมูลที่ใชงานในปจจุบน ั - เอกสารที่ใชในองคกร เชน บันทึกตางๆ คําแนะนํา แบบแสดงความคิดเห็น (Existing Documents/ Sampling) ของลูกคา รายงานประจําเดือน เปนตน - เอกสารทางการบัญชี รายงานผลการดําเนินการ การประเมินผลงาน 2. การคนหาขอมูล (Research) - คํารอง หรือบันทึกตางๆ ในองคกร หรือ จากโครงการระบบสารสนเทศของ 3. การสังเกตการณ (Observation) องคกร ทั้งในอดีตและปจจุบัน - แผนกลยุทธการดําเนินธุรกิจ (Strategic Plan) และเอกสารแสดงภารกิจ 4. การจัดทําแบบสอบถาม (Questionnaire) (Mission Statement) ขององคกร 5. การสัมภาษณ (Interview) - วัตถุประสงคในการดําเนินธุรกิจขององคกร (Objective) หรือหนวยงานตางๆ - นโยบายขององคกร (Policy) - แบบฟอรมตางๆ ที่มีการกรอกขอความเรียบรอยแลว - คูมือการใชงานจอภาพ และรายงานตางๆ (Screens and Report) 6.6 6.7
  • 3. ทฤษฎีแบบดั้งเดิม นอกจากนีนกวิเคราะหตรวจสอบจากการดําเนินการกอนหนานีไดแก ้ ั ้ - ผังงาน (Flow Charts) และแผนภาพ (Diagrams) - พจนานุกรม หรือแหลงเก็บขอมูลโครงการ (Dictionary or Repository) - เอกสารการออกแบบ ไดแก ขอมูลนําเขา ขอมูลผลลัพธ และ ฐานขอมูล - เอกสารการเขียนโปรแกรม - คูมือการใชงานและการอบรม (Operation and Training Manual) 2. การสุมตัวอยาง (Sampling) หมายถึง กระบวนการรวบรวม  ขอมูลโดยการเลือกตัวอยางเอกสาร แบบฟอรม หรือแหลงขอมูลอืนๆ ่ เพียงบางสวนจากทั้งหมดทีมีในองคกร ่ 6.8 6.9 ทฤษฎีแบบดั้งเดิม 2. การคนหาขอมูล (Research) เชน คนควาไดจาก Web Site ของหนวยงาน คนควาไดจากนิตยสาร คนควาไดจากหนังสือพิมพธุรกิจตางๆ คนควาขอมูลของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร ซอฟตแวรสําเร็จรูป สําหรับงานธุรกิจตางๆ ไดจากเครือขายอินเทอรเน็ต 6.10 6.11
  • 4. ทฤษฎีแบบดั้งเดิม ทฤษฎีแบบดั้งเดิม 3. การสังเกตการณ (Observation) ขอดี 1. ขอมูลที่รวบรวมไดมีความนาเชื่อถือคอนขางสูง ประเภทของการสังเกตแบงเปน 2 ประเภทใหญคือ 2. นักวิเคราะหระบบสามารถเห็นขันตอนการดําเนินการที่เกิดขึ้นจริง ้ 1. การสังเกตทางตรง (Director observation) 3. เมื่อเทียบกับเทคนิคอื่นๆ การสังเกตการณเปนเทคนิคที่ใชเงินทุนต่ํา 2. การสังเกตทางออม (Indirect observation) 4. นักวิเคราะหระบบสามารถวัดผลการดําเนินการของเทคนิคนี้ได ขอเสีย การสังเกตทางตรงสามารถแบงยอยไดเปน 2 ลักษณะ 1. มีผลกระทบการทํางานของเจาหนาที่อาจทําใหอึดอัดและผิดพลาดได 1. การสังเกตแบบมีสวนรวม (Participant observation) 2. ตองใชระยะเวลาคอนขางมาก ไมเชนนันอาจไดขอมูลที่ไมครบถวนทุก ้ เงื่อนไขในการดําเนินการ 2. การสังเกตโดยไมไดเขาไปมีสวนรวม (Non-participant 3. การดําเนินการบางงานอาจมีลักษณะงานที่ไมสะดวก หรือชวงเวลาไมตรงกัน observation) กับนักวิเคราะหระบบ 4. การดําเนินการบางขั้นตอนอาจมีเงื่อนไขบางประการที่มีโอกาสเกิดขึ้นนอย มาก 5. เจาหนาที่อาจปฏิบัติงานไมเต็มที่เมื่อทราบวานักวิเคราะหจะเขามา สังเกตการณ โดยปฏิบัติงานเทาที่ตองการใหนักวิเคราะหระบบทราบเทานั้น 6.12 6.13 ทฤษฎีแบบดั้งเดิม ทฤษฎีแบบดั้งเดิม ขอแนะนําสําหรับนักวิเคราะหระบบในการสังเกตการณ เชน 4. การจัดทําแบบสอบถาม (Questionnaire) 1. กําหนดตัวบุคคล สิ่งที่ตองการ สถานที่ เวลา เหตุผล และวิธทใช  ี ี่ การเลือกกลุมผูตอบแบบสอบถาม  ในการสังเกตการณการดําเนินงาน 1. เลือกตามความสะดวก (Convenient to Sample) ไดแก คนที่ 2. ควรไดรับการยินยอมจากผูจัดการ หรือหัวหนาระบบงานนัน  ้ ทํางาน ณ ทีตั้งสํานักงาน ่ 3. จดบันทึกขอมูลระหวางการศึกษาการดําเนินงาน 2. เลือกโดยวิธีสุม (Random) 4. ทบทวนขอมูลทีบนทึกกับเจาหนาทีผูดาเนินงาน ่ ั ่ ํ 3. เลือกตามวัตถุประสงคเฉพาะทีกําหนด (Purposeful Sample) ่ 5. ไมขัดจังหวะการดําเนินงานใดๆของเจาหนาที่ เชนเลือกผูที่เคยใชระบบนันนานกวา 2 ป หรือเลือกผูทใชระบบ  ้  ี่ 6. มุงสนใจการดําเนินงานหลัก บอยที่สุด 7. ไมสรุปขอสันนิษฐานใดๆดวยตนเอง 4. เลือกจากกลุมตางๆที่จัดแบงไว (Stratified Sample) เชน แบงกลุมผูใช กลุมผูบริหาร จากนันสุมเลือกจากแตละกลุม   ้ 8. กําหนดวัตถุประสงคในการสังเกตการณดาเนินงานแตละขั้นตอน ํ 6.14 6.15
  • 5. ทฤษฎีแบบดั้งเดิม ทฤษฎีแบบดั้งเดิม ประเภทของแบบสอบถาม ตัวอยางคําถามปลายเปด (Free Format) 1. Free Format : เปนแบบสอบถามที่ใหอิสระในการตอบ 1. ปจจุบัน ทานทํางานในตําแหนง……………………. 2. Fixed Format : คําถามในแบบสอบถามตองการคําตอบที 2. ทานทํางานในหนวยงานนี้เปนเวลา……… ป………เดือน เจาะจงลงไป โดยมีคําตอบใหผูตอบเลือกมี 3 ประเภท 3. ปจจุบันทานอายุ………….ป 2.1. Multiple Choices: มีคําตอบหลายขอใหเลือกตอบ และ : : : : : : : ผูตอบสามารถเลือกคําตอบไดมากกวา 1 ขอ 20. ระบบงานที่ทานกําลังดําเนินการอยูเกิดปญหาในการดําเนินงานดานใดบาง 2.2. Rating Question: มีคําตอบเปนตัวเลือกเพื่อใหแสดงความ ……………………………………………………………………………………………………. คิดเห็น โดยการกําหนดระดับความคิดเห็นของผูตอบในแต 21.ถาทานเปนผูบริหาร ทานมีแนวทางอยางไรในการปรับปรุงการดําเนินงานให ละขอวามากนอยเพียงใด เกิดประสิทธิภาพ 2.3. Ranking Question: เปนการจัดลําดับความสําคัญของ …………………………………………………………………………………………………….. คําตอบตางๆ ในแตละคําถาม 22. ถาทานเปนผูบริหาร ทานจะสั่งการใหมีการดําเนินการดานใดบาง เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในหนวยงานของทาน …………………………………………………………………………………………………… 6.16 6.17 ทฤษฎีแบบดั้งเดิม ทฤษฎีแบบดั้งเดิม ตัวอยางคําถามปลายปด (Fixed Format) 5. การสัมภาษณ (Interview) 1. ในการดําเนินงานของสวนงานทานตองจัดทํารายงานใดบาง ประเภทของการสัมภาษณ [ ] รายงานเงินเดือน [ ] รายงานภาษี [ ] รายงานการสั่งซื้อ [ ] รายงาน 1. การสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง (Unstructured ยอดขาย [ ] รายงานการรับสมัครงาน [ ] รายงานเวลาทํางาน [ ] รายงานขอมูล Interview) เปนลักษณะการสัมภาษณหัวขอทั่ว ๆ ไปเกี่ยวกับองคกร พนักงาน ไมเจาะจงหัวขอของการสัมภาษณ การสัมภาษณแบบนี้ไมเหมาะกับการ [ ] อื่นๆ โปรดระบุ………………… วิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ 3. ทานคิดวาการนําระบบสารสนเทศเขามาใชในหนวยงานสามารถชวยแกปญหา 2. การสัมภาษณแบบมีโครงสราง (Structured Interview) ผู ในการดําเนินงานไดมากนอยแคไหน สัมภาษณจะตองมีการเตรียมขอมูล และคําถามเพื่อสอบถามขอเท็จจริง [ ] นอยมาก [ ] นอย [ ] ปานกลาง [ ] มาก [ ] มากที่สุด ตาง ๆ จากผูใหสัมภาษณ โดยสามารถสอบถามขอสงสัยตาง ๆ เพิมเติม ่ 4. ทานมีความพึงพอใจในตําแหนงหนาที่การงานของทานในดานใดบางให เรียงลําดับความสําคัญ ไดเพื่อตรวจสอบความเขาใจของผูสัมภาษณวาถูกตองหรือไม ……ความมั่นคงของหนวยงาน ……คาตอบแทน ……ลักษณะงานที่ทําอยู ……ตําแหนง 6.18 6.19
  • 6. ทฤษฎีแบบดั้งเดิม ทฤษฎีแบบดั้งเดิม เทคนิคการสัมภาษณ ขอแนะนําสิงที่ควรทํา ่ 1. การเลือกบุคคลผูใหสัมภาษณ  1. มีความสุภาพและมีมารยาท 2. การเตรียมการสัมภาษณ คําถามที่ใชควรมีลกษณะ ั 2. ตั้งใจฟง 2.1 กระชับ และเขาใจงาย 2.2 ไมนําเสนอความคิดเห็นสวนตัวแฝงในคําถาม 3. ควบคุมสถานการณ 2.3 หลีกเลี่ยงคําถามที่ซับซอน หรือยาวเกินไป 4. ตรวจสอบขอมูล 2.4 หลีกเลี่ยงการใชถอยคําในลักษณะคุกคาม หรือขมขู 5. มีความอดทน 3. การดําเนินการสัมภาษณมี 3 ขั้นตอน 6. สังเกตกิรยา ทาทาง รวมทังภาษากาย (Body Language) ิ ้ 3.1 เปดสัมภาษณ (Interview Opening) 3.2 สัมภาษณ (Interview Body) 7. ไมกังวล 3.3 ปดสัมภาษณ (Interview Conclusion) 4. ติดตามผลการสัมภาษณ 6.20 6.21 ทฤษฎีแบบดั้งเดิม ทฤษฎีแนวใหม ขอแนะนําสิงที่ควรหลีกเลียง ่ ่ ทฤษฎีแนวใหมในการกําหนดความตองการของระบบ 1. คําถามที่ไมจําเปนหรือไมควรถาม 1. Joint Application Design (JAD) 2. การสันนิษฐานเองวาคําตอบที่ไดรบสมบูรณ ั 2. Rapid Application Development (RAD) 3. การชีนาทั้งดวยคําพูดและภาษากาย ้ ํ 4. การใชศัพทเฉพาะ หรือคําที่เขาใจยาก 5. การแสดงความคิดเห็น 6. การพูดมากเกินความจําเปนแทนที่จะรับฟงคําตอบ 7. การสันนิษฐานเกี่ยวกับหัวขอเรื่องและผูใหสัมภาษณ 8. การใชเทปบันทึกเสียง 6.22 6.23
  • 7. ทฤษฎีแนวใหม ทฤษฎีแนวใหม 1. Joint Application Design (JAD) ผูเขารวมการดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดวยเทคนิค JAD มีดังนี้ คือ กระบวนการในการจัดการ และเพิ่มความสามารถในการ 1. JAD Session Leader เปนผูดาเนินการประชุม ํ ปฏิบติงานรวมกันของเจาของระบบ ผูใชระบบงานนักวิเคราะหระบบ ั  2. Users คือผูใชระบบ ผูออกแบบระบบ และผูสรางระบบ เพื่อรวมกันกําหนดขอบเขต  3. Manager คือผูบริการองคกร  4. Sponsor คือผูรบผิดชอบเรืองคาใชจายในการพัฒนาระบบนันๆ ั ่  ้ วิเคราะห และออกแบบระบบ คือเปนการประชุมงานรวมกันของผูมี 5. System Analyst คือนักวิเคราะหและออกแบบระบบ สวนเกี่ยวของกับการพัฒนาระบบนันเอง ทั้งนี้เพื่อชวยลดเวลาและ ่ 6. Scribe คือผูททาหนาที่จดสรุปรายละเอียดระหวางการประชุม  ี่ ํ คาใชจายในขันตอนการเก็บขอมูล ้ 7. IS Staff ทีมของหนวยบริการสารสนเทศ 6.24 6.25 ทฤษฎีแนวใหม ทฤษฎีแนวใหม 2. RAD คือ การพัฒนาระบบ (Methodology) โดยการรวมเอา Task: - Users,manager,and IT เทคนิค (Techniques) เครื่องมือ (Tools) และเทคโนโลยี Staff agree upon business (Technologies) เขาดวยกัน เพื่อประยุกตใชในการพัฒนาระบบให needs,project scope,and systems requirementsl Planning สําเร็จลุลวงไดโดยใชเวลานอยที่สุด ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความพรอมของ - Obtain approval to continue Task: องคการในขณะนั้น ไมวาจะเปนเรื่องคาใชจาย บุคลากร รวมถึง Task: - Program and application ความตองการที่แนนอนของผูใชงาน - Interact with users development - Build model Design Development - Coding - Unit, integration, ขอดี and prototypes - Conduct and system testing เหมาะกับองคกรทีมความพรอมในการพัฒนา ่ ี intensive JAD- type sessions สามารถพัฒนาระบบไดอยางรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ Task: - Data Conversion Cutover - Full-scale testing - System changeover - User training 6.26 6.27
  • 8. Reference Book and Text Book ตําราอางอิง คัมภีรการวิเคราะหและออกแบบระบบ กิตติ ภักดีวฒนกุล และ  ั Q&A พนิดา พานิชกุล Modern Systems Analysis & Design : Jeffrey A. Hoffer, Joey F.George, Joseph S. Valacich เว็บไซต http://course.eau.ac.th/course/Download/0230805/บทที่6.ppt 6.28 6.29