SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ภาพรวมของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร (Overview of HCI)
เนื้อหา: 1) ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร (HCI) คืออะไร
            2) เปาหมายของ HCI
            3) แผนภาพของ HCI
            4) หลักการที่ทําใหแนใจถึง HCI ที่ดี
            5) ความทาทายทางดาน HCI
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอรคืออะไร
ความหมายของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอรหรือ Human-Computer Interaction (HCI) ไดถูกนิยามไวโดย
Association for Computing Machinery, Special Interest Group of Computer-Human Interaction (ACM SIGCHI) วา
“แนวทางที่เกี่ยวของกับการออกแบบ ประเมินผล และนําไปพัฒนาของระบบคอมพิวเตอรที่มีการโตตอบเพื่อใหมนุษยใช
งานและแนวทางที่เกี่ยวของกับการศึกษาธรรมชาติของสิ่งทีปรากฏอยูลอมรอบระบบ”
                                                                       ่             
 นอกจากนี้              ความรูทางดาน HCI มักถูกนําไปใชในการออกแบบสวนตอประสานทีเ่ ปนมิตร (User Friendly
Interface) ซึ่งสวนตอประสาน (User Interface หรือ UI) คือ “สวนตางๆของระบบที่ผูใชเขามาติดตอดวย” หรืออีก
ความหมายหนึ่งคือ “ภาษานําเขาสําหรับผูใช ภาษาแสดงผลสําหรับเครื่องคอมพิวเตอร และตัวกําหนดสําหรับการ
ปฏิสัมพันธ”
            จากคํานิยามจะพบวาทั้ง HCI และ UI มีความแตกตางกัน คือ UI ที่มีความเปนมิตรนั้นจะตองเกิดจากการทําให
สิ่งตางๆของระบบคอมพิวเตอรนาใชและเปนที่นาพอใจ สวน HCI จะเกี่ยวของกับการทําอยางไรใหคอมพิวเตอรชวยทั้ง
งานและชีวิตของคนสะดวกและดีขึ้น ซึ่งในรายละเอียดนั้น HCI ถูกสนใจในเรื่องความสามารถและขอจํากัดของผูใชที่เปน
มนุษย นั่นคือการทําความเขาใจเกี่ยวกับประชากรและคนที่มีการโตตอบกับระบบคอมพิวเตอร นอกจากนี้ปจจัยสําคัญที่มี
สวนทําใหการใชระบบคอมพิวเตอรไดสําเร็จหรือลมเหลวนั้นไดแกประเด็นการฝกอบรมและการฝกปฏิบัติงาน ประเด็น
การบริหารและการจัดองคกรและสิ่งที่เปนอันตรายตอสุขภาพ

2. เปาหมายของ HCI
เปาหมายของ HCI คือ ผลิตระบบที่สามารถใชงานได มีความปลอดภัย และสามารถปฏิบัติงานไดจริง หรืออีกนัยหนึ่งคือ
การพัฒนาหรือปรับปรุงระบบ (System) ที่ประกอบดวยคอมพิวเตอรใหมีความปลอดภัย (Safety) มีประโยชน (Utility) มี
ประสิทธิผล (Effectiveness) มีประสิทธิภาพ (Efficiency) และสามารถใชงานได (Usability)
2.1. System
ระบบไมไดเปนเพียงฮารดแวรหรือซอฟตแวร แตหมายถึงสภาพแวดลอมทั้งหมดที่ใชหรือถูกกระทบโดยเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร ซึ่งสภาพแวดลอมทั้งหมดนั้นไดแก การจัดองคกรของคนในที่ทํางาน บาน หรือ ความเกี่ยวพันกับงาน
อดิเรก
2.2. Effectiveness and efficiency
การปรับปรุงประสิทธิผลและประสิทธิภาพสามารถบอกไดดวยตัวของมันเองและมีวัตถุประสงคอยูทั่วไป
2.3. Safety

เอกสารประกอบการสอนวิชา 204462 ♣ ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร          หนาที่                                          1 /7
เรื่อง: ภาพรวมของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร
โดย: อ.ดร. ชุรี เตชะวุฒิ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
การสงเสริมความปลอดภัยในสวนที่เกี่ยวของกับระบบคอมพิวเตอรเปนสิ่งสําคัญยิ่งในการออกแบบระบบที่ตองการความ
ปลอดภัยมาก
2.4. Utility
ความมีประโยชนอางถึงการปฏิบัติงานไดจริงของระบบใดระบบหนึ่ง หรืออีกนัยหนึ่งคือ สิ่งตางๆที่ระบบสามารถทําได
2.5. Usability
การใชงานไดคือแนวคิดหลักของ HCI ที่เกี่ยวกับการทําระบบใหงายตอการเรียนรูและงายตอการใชงาน ระบบ
คอมพิวเตอรที่ขาดการออกแบบที่ดีสามารถกอความรําคาญใหกับผูใชได
2.6. สิ่งจําเปนสําหรับการออกแบบและวิจัยทางดาน HCI
สิ่งจําเปนสําหรับการออกแบบและวิจัยทางดาน HCI คือ ความเชื่อที่วา
       • คนที่ใชระบบคอมพิวเตอรควรมาเปนอันดับแรก ความตองการ ความสามารถ และความพึงพอใจของคนเพื่อทํา
           กิจกรรมตางๆใหสําเร็จควรบอกถึงแนวทางที่ระบบจะถูกออกแบบและถูกนําไปใชงานใหเกิดประโยชน
       • คนไมควรตองเปลียนตัวเองใหเขากับระบบ ระบบควรถูกออกแบบใหตรงกับความตองการของพวกเขา
                            ่
2.7. ขั้นตอนที่จะนําไปสูเปาหมายของ HCI
           ประกอบดวย 3 ขั้นตอนดังนี้
       • Understand คือเขาใจในเรื่องจิตวิทยา การยศาสตร และปจจัยเกี่ยวกับองคกรและสังคมของคน
       • Develop คือพัฒนาเครื่องมือและเทคนิคตางๆในการชวยเหลือนักออกแบบเพื่อใหแนใจถึงการใชงานไดของระบบ
           คอมพิวเตอร
       • Achieve คือทําการปฏิสัมพันธใหมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และปลอดภัยในการปฏิสัมพันธทั้งตอบุคคลและตอ
           กลุม

3. แผนภาพ HCI
องคประกอบทีประกอบขึนเปน HCI แบงเปน 4 สวน แสดงดังรูปที่ 1.1
               ่          ้
         U1: ระบบคอมพิวเตอรมีการใชงานอยูภายในกลุมสังคม องคกรและกลุมที่ทํางานรวมกัน
         U2: ภายในบริบทนี้มีการประยุกตโปรแกรม ระบบ และงาน ที่เราตองนําคอมพิวเตอรเขามาใชดวย
         U3: แตกระบวนการที่จะทําใหคอมพิวเตอรทํางานนั้นหมายความวามนุษย เครื่องคอมพิวเตอรหรืออุปกรณตางๆ
และงานที่มีอยู ณ.สภาวะที่ตองการสรางประโยชน จะตองถูกนําเขามาใหพอดีกับการเรียนรูของมนุษย ความสามารถใน
การปรับแตงระบบหรือกลยุทธอนๆ   ่ื
เนื่องจากการใชงานและบริบททางสังคมของคอมพิวเตอรทางดานมนุษยนั้นเราตอง
         H1: ถือวาเรื่อง กระบวนการรับรูและวิเคราะหขอมูลของมนุษย
         H2: ภาษา การสื่อสาร การปฏิสัมพันธ และ
         H3: ลักษณะทางกายภาพของมนุษย เปนสิ่งสําคัญ
ทางดานคอมพิวเตอร เทคโนโลยีที่หลากหลายไดถูกพัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนการปฏิสัมพันธกับมนุษย
         C1: อุปกรณนําเขาและแสดงผลเปนตัวเชื่อมมนุษยและคอมพิวเตอร
         C2: ซึ่งอุปกรณเหลานี้ถูกใชรวมกับเทคนิคตางๆเพื่อสราง “การโตตอบ”

เอกสารประกอบการสอนวิชา 204462 ♣ ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร          หนาที่         2 /7
เรื่อง: ภาพรวมของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร
โดย: อ.ดร. ชุรี เตชะวุฒิ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
Use and Context


              U1: Social Organization and Work                            U3: Human-Machine Fit and Adaptation

                                                       U2: Application Areas
                           Human                                                           Computer
                                                                                     C2: Dialogue   C4: Computer
                        H1: Human                                                    Techniques       Graphics
                        Information
                        Processing
                                                                                                        Aa
                                                                                C3: Dialogue         C5: Dialogue
                      H2: Language,                                                Genre             Architecture
                      Communication                                  C1: Input and
                      and Interaction                                Output Devices
                                              H3: Ergonomics



                                                        D4: Example Systems
                         D3: Evaluation                  and Case Studies                     D2: Implementation
                          Techniques                                                         Techniques and Tools
                                                            D1: Design
                                                           Approaches
                                                       Development Process


                                              รูปที่ 1.1 แผนภาพ HCI (ที่มา: ACM SIGCHI)

         C3: เทคนิคเหลานี้ถูกใชทําใหเกิดผลในสวนยอยของการออกแบบที่มีขนาดใหญขึ้นเชน ลําดับขั้นของการ
ออกแบบสวนตอประสาน
         C4: การลงลึกสูฐานของเครื่องคอมพิวเตอรที่สนับสนุนการโตตอบ ซึ่งอาจใชเทคนิคคอมพิวเตอรกราฟกมาชวย
         C5: การโตตอบทีซบซอนนําไปสูการพิจารณาสถาปตยกรรมระบบทีตองเกิดการสนับสนุนขึนไดแก โปรแกรมใช
                         ่ั                                          ่                    ้
งานทีสามารถเชือมตอถึงกัน การใชงานหนาตาง การตอบสนองแบบทันที การสือสารขอมูลเปนตน
      ่        ่                                                           ่
 สุดทายคือกระบวนการพัฒนาทีรวมเอา
                               ่
         D1: การออกแบบสําหรับการโตตอบระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร
         D2: เทคนิคและเครื่องมือสําหรับใชพัฒนาใหเกิดผล
         D3: เทคนิคการประเมินผล
         D4: และปริมาณการออกแบบที่มีคุณคาสําหรับการศึกษา
 รายละเอียดสําหรับแตละ           องคประกอบทีประกอบขึนเปน HCI อธิบายไดดังนี้
                                                ่        ้
3.1. Use and context of computers
การใชงานและบริบทของคอมพิวเตอร ในหัวขอนี้เปนเรื่องของการแกไขปญหาใหมีความลงตัวระหวางคอมพิวเตอรและ
การใชงานคอมพิวเตอร รวมถึงบริบทของการใชงาน




เอกสารประกอบการสอนวิชา 204462 ♣ ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร          หนาที่                             3 /7
เรื่อง: ภาพรวมของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร
โดย: อ.ดร. ชุรี เตชะวุฒิ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
ทางดาน             Social organization and work จะเกี่ยวของกับมนุษยที่มีการปฏิสัมพันธปรากฏอยูในสังคม โดยเราจะ
พิจารณาถึงธรรมชาติการทํางานโดยใชแบบจําลองกิจกรรมการทํางานของมนุษยทั้งในกลุมเล็กและกลุมใหญระดับองคกร
รวมถึงคุณภาพชีวิตการทํางานและความพึงพอใจในงาน
 ทางดาน             Application areas จะมุงประเด็นไปที่ลักษณะของการประยุกตใชงาน เชน สวนตอประสานจะถูก
พัฒนาขึ้นเพื่อการใชงานสวนบุคคลหรือเปนกลุม รูปแบบที่นิยมใชไดแก การพัฒนาสวนตอประสานในงานผลิตเอกสาร
(Text editing) การพัฒนาสวนตอประสานในการสือสาร (Email และ Voice message) การพัฒนาสวนตอประสานในระบบ
                                                    ่
ฝงตัว (Embedded system) เชน การควบคุมบันไดเลื่อน และตัวควบคุมอุปกรณเครื่องใชในบานตางๆไดแก โทรทัศนและ
ไมโครเวฟเปนตน
 ทางดาน             Human-machine fit and adaptation จะทําการปรับปรุงความลงตัวหรือความพอดีระหวางวัตถุที่ออกแบบ
ไวกับการใชงาน
3.2. Human characteristics
ในหัวขอนี้ตองทําความเขาใจเกี่ยวกับมนุษย โดยเปรียบมนุษยเหมือนกับระบบประมวลผลขอมูลและศึกษาถึงการ
ติดตอสื่อสารและความตองการทางกายภาพและจิตวิทยาของมนุษย
 ทางดาน             Human information processing จะศึกษาถึงลักษณะของมนุษยเหมือนกับตัวประมวลผลขอมูล โดยดู
รายละเอียดตางๆของมนุษย เชน หนวยความจํา ความเขาใจ การแกปญหา การเรียนรูและการมีทักษะ แรงจูงใจและความ
หลากหลาย
          ทางดาน Language, communication and interaction จะศึกษาในแงมุมของภาษา ตั้งแตโครงสรางและความหมาย
ลักษณะการปฏิสัมพันธเมื่อเกิดการสนทนา และภาษาพิเศษอื่นๆ
 ทางดาน             Ergonomics หรือการยศาสตร มุงเนนลักษณะทางมานุษยวิทยาและสรีรศาสตรของมนุษยและ
ความสัมพันธกับพื้นที่และสภาพแวดลอมในการทํางาน เชน การจัดเตรียมการแสดงผลและตัวควบคุม
3.3. Computer system and interface architecture
ในหัวขอนี้เนนที่สวนประกอบพิเศษที่คอมพิวเตอรมีเพื่อการปฏิสัมพันธกับมนุษย
 ทางดาน             Input and output devices จะศึกษารายละเอียดกลไกและลักษณะของอุปกรณฮารดแวร ลักษณะการ
ทํางานของมนุษยและระบบ อุปกรณซึ่งทํางานในพื้นที่จํากัดและอุปกรณเสมือน
 ทางดาน             Dialogue techniques จะศึกษาเทคนิคการสรางการสนทนาโตตอบของมนุษยและสถาปตยกรรม
ซอฟตแวรพื้นฐาน เชน การโตตอบเพื่อนําขอมูลเขาและแสดงผลลัพธ และกระบวนแบบตางๆของการปฏิสัมพันธ
 ทางดาน             Dialog genre หรือประเภทการโตตอบ จะเกี่ยวของกับแนวคิดการใชงานที่จะนําเทคนิคตางๆมาใช
โดยทั่วไปมีปรากฏในการจัดการแฟมขอมูลและการออกแบบกราฟก เชน การสรางเมตาฟอ (Metaphor) ของการโตตอบ
และการปรับเปลียน (Transition) ซึ่งไดแก การเลื่อน (Fade) และการขยายภาพมุมกวาง (Pan)
                   ่
          ทางดาน Computer graphics เกี่ยวของกับแนวคิดพื้นฐานเฉพาะของคอมพิวเตอรกราฟกที่เปนประโยชนตองาน
ทางดาน HCI เชน รูปทรงเรขาคณิต 2 มิติหรือ 3 มิติ และการเลือกใชสี
 ทางดาน             Dialogue architecture หรือสถาปตยกรรมของการโตตอบ ซึ่งจะเกี่ยวของกับสถาปตยกรรมซอฟตแวร
และมาตรฐานสําหรับสวนตอประสาน เชน การใชหนาตางการทํางาน และการตอบสนองแบบทันที (Real time)
3.4. The development process

เอกสารประกอบการสอนวิชา 204462 ♣ ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร          หนาที่              4 /7
เรื่อง: ภาพรวมของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร
โดย: อ.ดร. ชุรี เตชะวุฒิ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
ในหัวขอนี้เกี่ยวของกับการสรางและประเมินผลสวนตอประสานที่ใชกับมนุษย ซึ่งแตละดานจะถูกผูกติดกันไว การเลือก
ทําสวนใดสวนหนึ่งจะมีผลตอสวนอื่นๆในกระบวนการดวย
         ทางดาน Design approaches เกี่ยวของกับขั้นตอนการออกแบบการโตตอบ ซึ่งอาจนําความรูทางดานวิศวกรรม
ซอฟตแวร การวิเคราะหงาน การออกแบบอุตสาหกรรม และการออกแบบกราฟกมาใชเปนตน
         ทางดาน Implementation techniques and tools เกี่ยวของกับเทคนิคและเครื่องมือสําหรับใชพัฒนาใหเกิดผล และ
ความสัมพันธระหวางการออกแบบ ประเมินผลและพัฒนา เชน เทคนิคการทําตนแบบ ชุดเครื่องมือสรางการโตตอบ
ขั้นตอนวิธีและการนําเสนอขอมูล
         ทางดาน Evaluation techniques หรือเทคนิคการประเมินผลซึ่งเกี่ยวของกับวิธีการทางจิตวิทยาและวิธีการเฉพาะ
สําหรับการประเมินผล เชนประเมินประโยชนทจะไดรบ และการทดสอบการใชงานได
                                            ่ี     ั
         ทางดาน Example systems and case studies เกี่ยวของกับระบบที่ใชเปนแบบอยางและกรณีศึกษา ซึ่งสวนใหญ
สามารถใชเปนตนแบบหรือตัวอยางประเภทของการออกแบบสวนตอประสาน

4. หลักการที่ทําใหแนใจถึง HCI ที่ดี
2 หลักการที่ทําใหแนใจถึง HCI ที่ดี คือ Visibility และ Affordance และจาก 2 หลักการนี้จะนําไปสูหลักการสําคัญอีก
อันหนึ่งคือ Perceived affordance
4.1. Visibility
คือการมีตัวควบคุมที่สามารถมองเห็นไดและเชื่อมกับผลการทํางานของตัวควบคุมไดอยางเหมาะสม หรืออีกนัยหนึ่งคือเรา
สามารถมองเห็นวาเราทําอะไรและการตอบสนองสามารถถูกตอบกลับมาในทันที
4.2. Affordance
คือการแนะถึงหนาที่ ฟงกชั่นการทํางาน หรือคุณสมบัติของวัตถุ นั่นคือ การจัดการแบบใดสามารถนํามากระทําการกับ
วัตถุนั้น เชน ประตูมีไวเปด เกาอี้ใชสําหรับนั่ง เปนตน
           Affordance อาจหมายถึง “The perceived and actual properties of the thing, primarily those fundamental
properties that determine just how the thing could possibly be used.”
           เมื่อเกิด Affordance แลว มนุษยหรือผูใชเพียงแคมองดูวัตถุก็รูไดทันทีวาจะตองทําอะไร โดยที่ไมตองมีรูป ปาย
หรือคําแนะนํามาอธิบายถึงวิธีใช วัตถุหรือสิ่งของที่มีความซับซอนอาจตองการคําอธิบาย แตสิ่งของที่ไมมีความซับซอนไม
ควรมีคําอธิบาย เมื่อไหรก็ตามที่สิ่งของที่ไมมีความซับซอนนั้นตองการรูป ปายหรือคําแนะนํามาอธิบายถึงวิธีใช การ
ออกแบบนั้นถือวาลมเหลว
4.3. Perceived affordance
คือ มนุษยหรือผูใชคิดจะกระทําอะไรกับวัตถุ
           Perceived affordance อาจหมายถึง “the actions a user perceives to be possible.”
4.5. ตัวอยางการออกแบบประตู
ตัวอยางการออกแบบประตูที่แนะวามันควรจะถูกดึงหรือผลัก รูปที่ 1.2 และ 1.3 เปนการออกแบบทีไมชดเจนสวนรูปที่ 1.4
                                                                                                       ่ ั
และ 1.5 เปนการออกแบบประตูที่ดีที่ใช Affordance ในการออกแบบ



เอกสารประกอบการสอนวิชา 204462 ♣ ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร          หนาที่                     5 /7
เรื่อง: ภาพรวมของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร
โดย: อ.ดร. ชุรี เตชะวุฒิ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
A knob affords turning, but do                                                   A horizontal bar affords
                 you push or pull?                                                        pushing, but which side do you
                                                                                                    push on?


        รูปที่ 1.2 ประตูที่ใชลูกบิดแทนมือจับ แตไมรู                              รูปที่ 1.3 ประตูทมมอจับในแนวนอนแนะให
                                                                                                       ่ี ี ื
        วาควรผลกหรอดง
                  ั ื ึ                                                             ผลัก แตไมรูวาควรผลักดานไหน




          A flat panel affords pushing and                                            A vertical handle affords grasping
           the broadness indicates which                                                          and pulling.
                    side to push.


           รูปที่ 1.4 ประตูที่ใชมือจับแบบแผนราบ                                    รูปที่ 1.5 ประตูที่มีมือจับแนวตั้งแนะวาใหจับ
           ระบุไดวาใหผลัก ซึ่งสวนกวางเปนตัวบอก                                 และดึง
           วาตองผลกดานไหน
                    ั 

                                                            (ที่มา: Andrews, 2005)

5. ความทาทายทางดาน HCI
2 สิงทีทาทายนักออกแบบทางดาน HCI มีดังนี้
    ่ ่ 
     • ทําอยางไรจะเก็บเกี่ยวและกาวทันตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
     • ทําอยางไรจึงจะแนใจวาการออกแบบของนักออกแบบจะให HCI ที่ดีพอๆกับการนําฟงกชั่นที่มีศักยภาพของ
          เทคโนโลยใหมๆมาใช
                  ี 



เอกสารประกอบการสอนวิชา 204462 ♣ ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร          หนาที่                                    6 /7
เรื่อง: ภาพรวมของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร
โดย: อ.ดร. ชุรี เตชะวุฒิ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
เอกสารอางอิง
1. Association for Computing Machinery, Special Interest Group of Computer-Human Interaction (ACM SIGCHI).
http://sigchi.org/cdg/cdg2.html
2. Dix, A., Finlay, J., Abowd, G.D., and Beale, R. Human-Computer Interaction. 3rd edn. Prentice Hall. (2004)
3. Andrews, K. Lecture Note: Human-Computer Interaction. http://courses.iicm.edu/hci/ (2005)




เอกสารประกอบการสอนวิชา 204462 ♣ ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร          หนาที่              7 /7
เรื่อง: ภาพรวมของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร
โดย: อ.ดร. ชุรี เตชะวุฒิ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

More Related Content

Similar to D1 overview

งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2amphaiboon
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2amphaiboon
 
แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77Surapong Jakang
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_editNicemooon
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1chaiing
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารThawatchai2541
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนตข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนตpeter dontoom
 
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นอบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นbigman27skydrive
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1Surapong Jakang
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Rattana Wongphu-nga
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารสราวุฒิ จบศรี
 

Similar to D1 overview (20)

Amonrat
AmonratAmonrat
Amonrat
 
Addiction I T
Addiction  I TAddiction  I T
Addiction I T
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_edit
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนตข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
 
(บทที่ 2)
(บทที่ 2)(บทที่ 2)
(บทที่ 2)
 
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นอบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Multimedia for Education1
Multimedia for Education1Multimedia for Education1
Multimedia for Education1
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 

More from TaiMe Sakdisri (20)

Chapter005
Chapter005Chapter005
Chapter005
 
456245345
456245345456245345
456245345
 
4563456
45634564563456
4563456
 
56785774
5678577456785774
56785774
 
Unit07
Unit07Unit07
Unit07
 
6784678467
67846784676784678467
6784678467
 
4678467846
46784678464678467846
4678467846
 
Unit04
Unit04Unit04
Unit04
 
Unit03
Unit03Unit03
Unit03
 
Unit02
Unit02Unit02
Unit02
 
Unit01
Unit01Unit01
Unit01
 
Thai hci
Thai hciThai hci
Thai hci
 
Original 01 hci_principles
Original 01 hci_principlesOriginal 01 hci_principles
Original 01 hci_principles
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
Chapter009
Chapter009Chapter009
Chapter009
 
Chapter008
Chapter008Chapter008
Chapter008
 
Chapter006 (1)
Chapter006 (1)Chapter006 (1)
Chapter006 (1)
 
Chapter006
Chapter006Chapter006
Chapter006
 
Chapter004
Chapter004Chapter004
Chapter004
 
Chapter003
Chapter003Chapter003
Chapter003
 

D1 overview

  • 1. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ภาพรวมของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร (Overview of HCI) เนื้อหา: 1) ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร (HCI) คืออะไร 2) เปาหมายของ HCI 3) แผนภาพของ HCI 4) หลักการที่ทําใหแนใจถึง HCI ที่ดี 5) ความทาทายทางดาน HCI --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอรคืออะไร ความหมายของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอรหรือ Human-Computer Interaction (HCI) ไดถูกนิยามไวโดย Association for Computing Machinery, Special Interest Group of Computer-Human Interaction (ACM SIGCHI) วา “แนวทางที่เกี่ยวของกับการออกแบบ ประเมินผล และนําไปพัฒนาของระบบคอมพิวเตอรที่มีการโตตอบเพื่อใหมนุษยใช งานและแนวทางที่เกี่ยวของกับการศึกษาธรรมชาติของสิ่งทีปรากฏอยูลอมรอบระบบ” ่   นอกจากนี้ ความรูทางดาน HCI มักถูกนําไปใชในการออกแบบสวนตอประสานทีเ่ ปนมิตร (User Friendly Interface) ซึ่งสวนตอประสาน (User Interface หรือ UI) คือ “สวนตางๆของระบบที่ผูใชเขามาติดตอดวย” หรืออีก ความหมายหนึ่งคือ “ภาษานําเขาสําหรับผูใช ภาษาแสดงผลสําหรับเครื่องคอมพิวเตอร และตัวกําหนดสําหรับการ ปฏิสัมพันธ” จากคํานิยามจะพบวาทั้ง HCI และ UI มีความแตกตางกัน คือ UI ที่มีความเปนมิตรนั้นจะตองเกิดจากการทําให สิ่งตางๆของระบบคอมพิวเตอรนาใชและเปนที่นาพอใจ สวน HCI จะเกี่ยวของกับการทําอยางไรใหคอมพิวเตอรชวยทั้ง งานและชีวิตของคนสะดวกและดีขึ้น ซึ่งในรายละเอียดนั้น HCI ถูกสนใจในเรื่องความสามารถและขอจํากัดของผูใชที่เปน มนุษย นั่นคือการทําความเขาใจเกี่ยวกับประชากรและคนที่มีการโตตอบกับระบบคอมพิวเตอร นอกจากนี้ปจจัยสําคัญที่มี สวนทําใหการใชระบบคอมพิวเตอรไดสําเร็จหรือลมเหลวนั้นไดแกประเด็นการฝกอบรมและการฝกปฏิบัติงาน ประเด็น การบริหารและการจัดองคกรและสิ่งที่เปนอันตรายตอสุขภาพ 2. เปาหมายของ HCI เปาหมายของ HCI คือ ผลิตระบบที่สามารถใชงานได มีความปลอดภัย และสามารถปฏิบัติงานไดจริง หรืออีกนัยหนึ่งคือ การพัฒนาหรือปรับปรุงระบบ (System) ที่ประกอบดวยคอมพิวเตอรใหมีความปลอดภัย (Safety) มีประโยชน (Utility) มี ประสิทธิผล (Effectiveness) มีประสิทธิภาพ (Efficiency) และสามารถใชงานได (Usability) 2.1. System ระบบไมไดเปนเพียงฮารดแวรหรือซอฟตแวร แตหมายถึงสภาพแวดลอมทั้งหมดที่ใชหรือถูกกระทบโดยเทคโนโลยี คอมพิวเตอร ซึ่งสภาพแวดลอมทั้งหมดนั้นไดแก การจัดองคกรของคนในที่ทํางาน บาน หรือ ความเกี่ยวพันกับงาน อดิเรก 2.2. Effectiveness and efficiency การปรับปรุงประสิทธิผลและประสิทธิภาพสามารถบอกไดดวยตัวของมันเองและมีวัตถุประสงคอยูทั่วไป 2.3. Safety เอกสารประกอบการสอนวิชา 204462 ♣ ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร หนาที่ 1 /7 เรื่อง: ภาพรวมของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร โดย: อ.ดร. ชุรี เตชะวุฒิ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
  • 2. การสงเสริมความปลอดภัยในสวนที่เกี่ยวของกับระบบคอมพิวเตอรเปนสิ่งสําคัญยิ่งในการออกแบบระบบที่ตองการความ ปลอดภัยมาก 2.4. Utility ความมีประโยชนอางถึงการปฏิบัติงานไดจริงของระบบใดระบบหนึ่ง หรืออีกนัยหนึ่งคือ สิ่งตางๆที่ระบบสามารถทําได 2.5. Usability การใชงานไดคือแนวคิดหลักของ HCI ที่เกี่ยวกับการทําระบบใหงายตอการเรียนรูและงายตอการใชงาน ระบบ คอมพิวเตอรที่ขาดการออกแบบที่ดีสามารถกอความรําคาญใหกับผูใชได 2.6. สิ่งจําเปนสําหรับการออกแบบและวิจัยทางดาน HCI สิ่งจําเปนสําหรับการออกแบบและวิจัยทางดาน HCI คือ ความเชื่อที่วา • คนที่ใชระบบคอมพิวเตอรควรมาเปนอันดับแรก ความตองการ ความสามารถ และความพึงพอใจของคนเพื่อทํา กิจกรรมตางๆใหสําเร็จควรบอกถึงแนวทางที่ระบบจะถูกออกแบบและถูกนําไปใชงานใหเกิดประโยชน • คนไมควรตองเปลียนตัวเองใหเขากับระบบ ระบบควรถูกออกแบบใหตรงกับความตองการของพวกเขา ่ 2.7. ขั้นตอนที่จะนําไปสูเปาหมายของ HCI ประกอบดวย 3 ขั้นตอนดังนี้ • Understand คือเขาใจในเรื่องจิตวิทยา การยศาสตร และปจจัยเกี่ยวกับองคกรและสังคมของคน • Develop คือพัฒนาเครื่องมือและเทคนิคตางๆในการชวยเหลือนักออกแบบเพื่อใหแนใจถึงการใชงานไดของระบบ คอมพิวเตอร • Achieve คือทําการปฏิสัมพันธใหมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และปลอดภัยในการปฏิสัมพันธทั้งตอบุคคลและตอ กลุม 3. แผนภาพ HCI องคประกอบทีประกอบขึนเปน HCI แบงเปน 4 สวน แสดงดังรูปที่ 1.1 ่ ้ U1: ระบบคอมพิวเตอรมีการใชงานอยูภายในกลุมสังคม องคกรและกลุมที่ทํางานรวมกัน U2: ภายในบริบทนี้มีการประยุกตโปรแกรม ระบบ และงาน ที่เราตองนําคอมพิวเตอรเขามาใชดวย U3: แตกระบวนการที่จะทําใหคอมพิวเตอรทํางานนั้นหมายความวามนุษย เครื่องคอมพิวเตอรหรืออุปกรณตางๆ และงานที่มีอยู ณ.สภาวะที่ตองการสรางประโยชน จะตองถูกนําเขามาใหพอดีกับการเรียนรูของมนุษย ความสามารถใน การปรับแตงระบบหรือกลยุทธอนๆ ่ื เนื่องจากการใชงานและบริบททางสังคมของคอมพิวเตอรทางดานมนุษยนั้นเราตอง H1: ถือวาเรื่อง กระบวนการรับรูและวิเคราะหขอมูลของมนุษย H2: ภาษา การสื่อสาร การปฏิสัมพันธ และ H3: ลักษณะทางกายภาพของมนุษย เปนสิ่งสําคัญ ทางดานคอมพิวเตอร เทคโนโลยีที่หลากหลายไดถูกพัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนการปฏิสัมพันธกับมนุษย C1: อุปกรณนําเขาและแสดงผลเปนตัวเชื่อมมนุษยและคอมพิวเตอร C2: ซึ่งอุปกรณเหลานี้ถูกใชรวมกับเทคนิคตางๆเพื่อสราง “การโตตอบ” เอกสารประกอบการสอนวิชา 204462 ♣ ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร หนาที่ 2 /7 เรื่อง: ภาพรวมของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร โดย: อ.ดร. ชุรี เตชะวุฒิ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
  • 3. Use and Context U1: Social Organization and Work U3: Human-Machine Fit and Adaptation U2: Application Areas Human Computer C2: Dialogue C4: Computer H1: Human Techniques Graphics Information Processing Aa C3: Dialogue C5: Dialogue H2: Language, Genre Architecture Communication C1: Input and and Interaction Output Devices H3: Ergonomics D4: Example Systems D3: Evaluation and Case Studies D2: Implementation Techniques Techniques and Tools D1: Design Approaches Development Process รูปที่ 1.1 แผนภาพ HCI (ที่มา: ACM SIGCHI) C3: เทคนิคเหลานี้ถูกใชทําใหเกิดผลในสวนยอยของการออกแบบที่มีขนาดใหญขึ้นเชน ลําดับขั้นของการ ออกแบบสวนตอประสาน C4: การลงลึกสูฐานของเครื่องคอมพิวเตอรที่สนับสนุนการโตตอบ ซึ่งอาจใชเทคนิคคอมพิวเตอรกราฟกมาชวย C5: การโตตอบทีซบซอนนําไปสูการพิจารณาสถาปตยกรรมระบบทีตองเกิดการสนับสนุนขึนไดแก โปรแกรมใช ่ั  ่  ้ งานทีสามารถเชือมตอถึงกัน การใชงานหนาตาง การตอบสนองแบบทันที การสือสารขอมูลเปนตน ่ ่ ่ สุดทายคือกระบวนการพัฒนาทีรวมเอา ่ D1: การออกแบบสําหรับการโตตอบระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร D2: เทคนิคและเครื่องมือสําหรับใชพัฒนาใหเกิดผล D3: เทคนิคการประเมินผล D4: และปริมาณการออกแบบที่มีคุณคาสําหรับการศึกษา รายละเอียดสําหรับแตละ องคประกอบทีประกอบขึนเปน HCI อธิบายไดดังนี้ ่ ้ 3.1. Use and context of computers การใชงานและบริบทของคอมพิวเตอร ในหัวขอนี้เปนเรื่องของการแกไขปญหาใหมีความลงตัวระหวางคอมพิวเตอรและ การใชงานคอมพิวเตอร รวมถึงบริบทของการใชงาน เอกสารประกอบการสอนวิชา 204462 ♣ ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร หนาที่ 3 /7 เรื่อง: ภาพรวมของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร โดย: อ.ดร. ชุรี เตชะวุฒิ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
  • 4. ทางดาน Social organization and work จะเกี่ยวของกับมนุษยที่มีการปฏิสัมพันธปรากฏอยูในสังคม โดยเราจะ พิจารณาถึงธรรมชาติการทํางานโดยใชแบบจําลองกิจกรรมการทํางานของมนุษยทั้งในกลุมเล็กและกลุมใหญระดับองคกร รวมถึงคุณภาพชีวิตการทํางานและความพึงพอใจในงาน ทางดาน  Application areas จะมุงประเด็นไปที่ลักษณะของการประยุกตใชงาน เชน สวนตอประสานจะถูก พัฒนาขึ้นเพื่อการใชงานสวนบุคคลหรือเปนกลุม รูปแบบที่นิยมใชไดแก การพัฒนาสวนตอประสานในงานผลิตเอกสาร (Text editing) การพัฒนาสวนตอประสานในการสือสาร (Email และ Voice message) การพัฒนาสวนตอประสานในระบบ ่ ฝงตัว (Embedded system) เชน การควบคุมบันไดเลื่อน และตัวควบคุมอุปกรณเครื่องใชในบานตางๆไดแก โทรทัศนและ ไมโครเวฟเปนตน ทางดาน Human-machine fit and adaptation จะทําการปรับปรุงความลงตัวหรือความพอดีระหวางวัตถุที่ออกแบบ ไวกับการใชงาน 3.2. Human characteristics ในหัวขอนี้ตองทําความเขาใจเกี่ยวกับมนุษย โดยเปรียบมนุษยเหมือนกับระบบประมวลผลขอมูลและศึกษาถึงการ ติดตอสื่อสารและความตองการทางกายภาพและจิตวิทยาของมนุษย ทางดาน Human information processing จะศึกษาถึงลักษณะของมนุษยเหมือนกับตัวประมวลผลขอมูล โดยดู รายละเอียดตางๆของมนุษย เชน หนวยความจํา ความเขาใจ การแกปญหา การเรียนรูและการมีทักษะ แรงจูงใจและความ หลากหลาย ทางดาน Language, communication and interaction จะศึกษาในแงมุมของภาษา ตั้งแตโครงสรางและความหมาย ลักษณะการปฏิสัมพันธเมื่อเกิดการสนทนา และภาษาพิเศษอื่นๆ ทางดาน Ergonomics หรือการยศาสตร มุงเนนลักษณะทางมานุษยวิทยาและสรีรศาสตรของมนุษยและ ความสัมพันธกับพื้นที่และสภาพแวดลอมในการทํางาน เชน การจัดเตรียมการแสดงผลและตัวควบคุม 3.3. Computer system and interface architecture ในหัวขอนี้เนนที่สวนประกอบพิเศษที่คอมพิวเตอรมีเพื่อการปฏิสัมพันธกับมนุษย ทางดาน Input and output devices จะศึกษารายละเอียดกลไกและลักษณะของอุปกรณฮารดแวร ลักษณะการ ทํางานของมนุษยและระบบ อุปกรณซึ่งทํางานในพื้นที่จํากัดและอุปกรณเสมือน ทางดาน Dialogue techniques จะศึกษาเทคนิคการสรางการสนทนาโตตอบของมนุษยและสถาปตยกรรม ซอฟตแวรพื้นฐาน เชน การโตตอบเพื่อนําขอมูลเขาและแสดงผลลัพธ และกระบวนแบบตางๆของการปฏิสัมพันธ ทางดาน Dialog genre หรือประเภทการโตตอบ จะเกี่ยวของกับแนวคิดการใชงานที่จะนําเทคนิคตางๆมาใช โดยทั่วไปมีปรากฏในการจัดการแฟมขอมูลและการออกแบบกราฟก เชน การสรางเมตาฟอ (Metaphor) ของการโตตอบ และการปรับเปลียน (Transition) ซึ่งไดแก การเลื่อน (Fade) และการขยายภาพมุมกวาง (Pan) ่ ทางดาน Computer graphics เกี่ยวของกับแนวคิดพื้นฐานเฉพาะของคอมพิวเตอรกราฟกที่เปนประโยชนตองาน ทางดาน HCI เชน รูปทรงเรขาคณิต 2 มิติหรือ 3 มิติ และการเลือกใชสี ทางดาน Dialogue architecture หรือสถาปตยกรรมของการโตตอบ ซึ่งจะเกี่ยวของกับสถาปตยกรรมซอฟตแวร และมาตรฐานสําหรับสวนตอประสาน เชน การใชหนาตางการทํางาน และการตอบสนองแบบทันที (Real time) 3.4. The development process เอกสารประกอบการสอนวิชา 204462 ♣ ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร หนาที่ 4 /7 เรื่อง: ภาพรวมของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร โดย: อ.ดร. ชุรี เตชะวุฒิ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
  • 5. ในหัวขอนี้เกี่ยวของกับการสรางและประเมินผลสวนตอประสานที่ใชกับมนุษย ซึ่งแตละดานจะถูกผูกติดกันไว การเลือก ทําสวนใดสวนหนึ่งจะมีผลตอสวนอื่นๆในกระบวนการดวย ทางดาน Design approaches เกี่ยวของกับขั้นตอนการออกแบบการโตตอบ ซึ่งอาจนําความรูทางดานวิศวกรรม ซอฟตแวร การวิเคราะหงาน การออกแบบอุตสาหกรรม และการออกแบบกราฟกมาใชเปนตน ทางดาน Implementation techniques and tools เกี่ยวของกับเทคนิคและเครื่องมือสําหรับใชพัฒนาใหเกิดผล และ ความสัมพันธระหวางการออกแบบ ประเมินผลและพัฒนา เชน เทคนิคการทําตนแบบ ชุดเครื่องมือสรางการโตตอบ ขั้นตอนวิธีและการนําเสนอขอมูล ทางดาน Evaluation techniques หรือเทคนิคการประเมินผลซึ่งเกี่ยวของกับวิธีการทางจิตวิทยาและวิธีการเฉพาะ สําหรับการประเมินผล เชนประเมินประโยชนทจะไดรบ และการทดสอบการใชงานได ่ี ั ทางดาน Example systems and case studies เกี่ยวของกับระบบที่ใชเปนแบบอยางและกรณีศึกษา ซึ่งสวนใหญ สามารถใชเปนตนแบบหรือตัวอยางประเภทของการออกแบบสวนตอประสาน 4. หลักการที่ทําใหแนใจถึง HCI ที่ดี 2 หลักการที่ทําใหแนใจถึง HCI ที่ดี คือ Visibility และ Affordance และจาก 2 หลักการนี้จะนําไปสูหลักการสําคัญอีก อันหนึ่งคือ Perceived affordance 4.1. Visibility คือการมีตัวควบคุมที่สามารถมองเห็นไดและเชื่อมกับผลการทํางานของตัวควบคุมไดอยางเหมาะสม หรืออีกนัยหนึ่งคือเรา สามารถมองเห็นวาเราทําอะไรและการตอบสนองสามารถถูกตอบกลับมาในทันที 4.2. Affordance คือการแนะถึงหนาที่ ฟงกชั่นการทํางาน หรือคุณสมบัติของวัตถุ นั่นคือ การจัดการแบบใดสามารถนํามากระทําการกับ วัตถุนั้น เชน ประตูมีไวเปด เกาอี้ใชสําหรับนั่ง เปนตน Affordance อาจหมายถึง “The perceived and actual properties of the thing, primarily those fundamental properties that determine just how the thing could possibly be used.” เมื่อเกิด Affordance แลว มนุษยหรือผูใชเพียงแคมองดูวัตถุก็รูไดทันทีวาจะตองทําอะไร โดยที่ไมตองมีรูป ปาย หรือคําแนะนํามาอธิบายถึงวิธีใช วัตถุหรือสิ่งของที่มีความซับซอนอาจตองการคําอธิบาย แตสิ่งของที่ไมมีความซับซอนไม ควรมีคําอธิบาย เมื่อไหรก็ตามที่สิ่งของที่ไมมีความซับซอนนั้นตองการรูป ปายหรือคําแนะนํามาอธิบายถึงวิธีใช การ ออกแบบนั้นถือวาลมเหลว 4.3. Perceived affordance คือ มนุษยหรือผูใชคิดจะกระทําอะไรกับวัตถุ Perceived affordance อาจหมายถึง “the actions a user perceives to be possible.” 4.5. ตัวอยางการออกแบบประตู ตัวอยางการออกแบบประตูที่แนะวามันควรจะถูกดึงหรือผลัก รูปที่ 1.2 และ 1.3 เปนการออกแบบทีไมชดเจนสวนรูปที่ 1.4 ่ ั และ 1.5 เปนการออกแบบประตูที่ดีที่ใช Affordance ในการออกแบบ เอกสารประกอบการสอนวิชา 204462 ♣ ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร หนาที่ 5 /7 เรื่อง: ภาพรวมของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร โดย: อ.ดร. ชุรี เตชะวุฒิ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
  • 6. A knob affords turning, but do A horizontal bar affords you push or pull? pushing, but which side do you push on? รูปที่ 1.2 ประตูที่ใชลูกบิดแทนมือจับ แตไมรู รูปที่ 1.3 ประตูทมมอจับในแนวนอนแนะให ่ี ี ื วาควรผลกหรอดง  ั ื ึ ผลัก แตไมรูวาควรผลักดานไหน A flat panel affords pushing and A vertical handle affords grasping the broadness indicates which and pulling. side to push. รูปที่ 1.4 ประตูที่ใชมือจับแบบแผนราบ รูปที่ 1.5 ประตูที่มีมือจับแนวตั้งแนะวาใหจับ ระบุไดวาใหผลัก ซึ่งสวนกวางเปนตัวบอก และดึง วาตองผลกดานไหน   ั  (ที่มา: Andrews, 2005) 5. ความทาทายทางดาน HCI 2 สิงทีทาทายนักออกแบบทางดาน HCI มีดังนี้ ่ ่  • ทําอยางไรจะเก็บเกี่ยวและกาวทันตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี • ทําอยางไรจึงจะแนใจวาการออกแบบของนักออกแบบจะให HCI ที่ดีพอๆกับการนําฟงกชั่นที่มีศักยภาพของ เทคโนโลยใหมๆมาใช ี  เอกสารประกอบการสอนวิชา 204462 ♣ ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร หนาที่ 6 /7 เรื่อง: ภาพรวมของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร โดย: อ.ดร. ชุรี เตชะวุฒิ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
  • 7. เอกสารอางอิง 1. Association for Computing Machinery, Special Interest Group of Computer-Human Interaction (ACM SIGCHI). http://sigchi.org/cdg/cdg2.html 2. Dix, A., Finlay, J., Abowd, G.D., and Beale, R. Human-Computer Interaction. 3rd edn. Prentice Hall. (2004) 3. Andrews, K. Lecture Note: Human-Computer Interaction. http://courses.iicm.edu/hci/ (2005) เอกสารประกอบการสอนวิชา 204462 ♣ ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร หนาที่ 7 /7 เรื่อง: ภาพรวมของปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร โดย: อ.ดร. ชุรี เตชะวุฒิ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม