SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Download to read offline
บทที่ 3
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
และวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
1
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
เป็นการสร้างระบบใหม่หรือปรับเปลี่ยนระบบงานเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้
สามารถทางานเพื่อแก้ปัญหาการดาเนินงานทางธุรกิจได้ตามความต้องการ
วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC) คือ
กระบวนการทางความคิด เพื่อแก้ปัญหาทางธุรกิจ ช่วยให้นักวิเคราะห์ระบบ
สามารถดาเนินการได้อย่างมีแนวทางและเป็นขั้นตอน
3
วงจรการพัฒนาระบบ (SDLC)
–Waterfall SDLC
–Evolutionary SDLC
–Incremental SDLC
–Spiral SDLC
Waterfall Model
การสารวจเบื้องต้น
การวิเคราะห์ระบบ
การออกแบบระบบเชิงตรรกะ
การออกแบบเชิงกายภาพ
การพัฒนาระบบ
การบารุงรักษาระบบ
Incremental SDLC
6
Spiral SDLC
Plan first iteration
ออกแบบ
วางแผน
ทดสอบและประเมินผล
วิเคราะห์และออกแบบระบบ
สร้างต้นแบบรอบที่ 4
สร้างต้นแบบรอบที่ 3
สร้างต้นแบบรอบที่ 2
สร้างต้นแบบรอบที่ 1
วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC)
7 ขั้นตอน ได้แก่
1. ค้นหาและเลือกสรรโครงการ (Project Identification)
- ค้นหาโครงการพัฒนาระบบ
- จาแนกและจัดลาดับโครงการ
- เลือกโครงการที่เหมาะสมที่สุด
2. การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ (Project Initiating and Planning)
- เริ่มต้นโครงการ
- เสนอแนวทางเลือกในการนาระบบใหม่มาใช้งาน
- วางแผนโครงการ
3. วิเคราะห์ระบบ (System Analysis)
- ศึกษาขั้นตอนการทางานของระบบเดิม
- กาหนดความต้องการในระบบใหม่จากผู้ใช้ระบบ
- จาลองแบบขั้นตอนการทางาน
- อธิบายขั้นตอนการทางานของระบบ
- จาลองแบบข้อมูล
4. การออกแบบเชิงตรรก (Logic Design)
- ออกแบบแบบฟอร์มข้อมูลและรายงาน
- ออกแบบ User Interface
- ออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะ
5. การออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design)
- ออกแบบฐานข้อมูลในระดับกายภาพ
- ออกแบบ Application
6. พัฒนาและติดตั้งระบบ (System Implementation)
- เขียนโปรแกรม
- ทดสอบโปรแกรม
- ติดตั้งระบบ
- จัดทาเอกสาร
- ฝึกอบรม
- บริการให้ความช่วยเหลือหลังติดตั้ง
7. การซ่อมบารุงระบบ ( System Maintenance)
- เก็บรวบรวมคาร้องขอให้ปรับปรุงระบบ
- วิเคราะห์ข้อมูลคาร้องขอเพื่อการปรับปรุง
- ออกแบบการทางานที่ต้องการปรับปรุง
- ปรับปรุง
การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
ด้านการ
ปฏิบัติงาน
ด้านเทคนิค
ด้าน
เศรษฐศาสตร์
การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
หน้าที่ : กำหนดปัญหำ วัตถุประสงค์ เป้ำหมำย ขอบเขตงำนและศึกษำว่ำเป็นไปได้
หรือไม่ที่จะเปลี่ยนแปลงระบบ
ผลลัพธ์ : รำยงำนกำรนำเสนอโครงงำนและผลกำรศึกษำควำมเป็นไปได้
เครื่องมือ : เก็บรวบรวมข้อมูลของระบบและคำดคะเนควำมต้องกำรของระบบ
บุคลากรและหน้าที่ความรับผิดชอบ :
1. SA จะเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่จำเป็นทั้งหมดเกี่ยวกับปัญหำ
2. SA คำดคะเนควำมต้องกำรของระบบและแนวทำงกำรแก้ปัญหำ
3. SA กำหนดควำมต้องกำรที่แน่ชัดซึ่งจะใช้สำหรับขั้นตอนกำรวิเครำะห์ต่อไป
4. ผู้บริหำรตัดสินใจว่ำจะดำเนินโครงกำรต่อไปหรือไม่
การสารวจระบบ
สารวจระบบคือการรวบรวมข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในระบบงาน
เพื่อให้เข้าใจระบบงาน สามารถนาข้อเท็จจริงที่ได้ไปใช้ในการ
กาหนดขอบเขตของการปรับปรุงหรือพัฒนาระบบต่อไป
มีสิ่งที่ต้องคานึงในการสารวจระบบคือ
• ขอบเขตของข้อมูล
• วิธีรวบรวมข้อมูล
ขอบเขตของข้อมูล
• เป็นการกาหนดขอบเขตของข้อมูลที่ต้องการรวบรวมข้อมูล
แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ
1. ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร
2. ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากร
3. ข้อมูลเกี่ยวกับงาน
4. ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม
ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร
• เป้าหมายขององค์กร (Goals of the Company)
• โครงสร้างขององค์กร (Organizational Structre)
• วัตถุประสงค์ (Objectives and Purposes)
• นโยบาย (Policies)
• เป้าหมายขององค์กรคือ เป้าหมายระยะยาวและแผนการกลยุทธ์ที่
กาหนดไว้ ซึ่งเป็นตัวบอกให้รู้ถึงจุดมุ่งหมายใน 5 ถึง 7 ปี ข้างหน้า
วัตถุประสงค์ในการศึกษา ถึงเป้าหมายขององค์กร เพื่อกาหนด
ทิศทางและขอบเขตการวิเคราะห์ระบบ
• โครงสร้างขององค์กรคือ การศึกษาถึงโครงสร้างองค์กรนั้น เพื่อ
ต้องการให้ทราบถึงหลักการการบริหารงาน และทิศทางของ
องค์กร นอกจากจะได้ทราบว่าใครเป็นใคร ทาหน้าที่อะไร จะได้
นาเสนอข้อมูลตาม ที่แต่ระบบต้องการ
• วัตถุประสงค์ คือในองค์กรแบ่งเป็นแผนกหรือหน่วยงานย่อย ๆ ซึ่งในแต่ละแผนก แต่ละ
หน่วยงาน ก็มีวัตถุประสงค์ของตนเองโดยต้องสอดคล้องกันและสนับสนุนเป้าหมายของ
องค์กร วัตถุประสงค์ของการศึกษาวัตถุประสงค์ของแต่ละแผนก คือ เพื่อเป็นแนวทางให้
รู้ทิศทางของการไหล (รับ/ส่ง) ของข้อมูล
• นโยบาย เป็นกฏในการดาเนินงานขององค์กร ซึ่งต้องทาให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร
การศึกษาถึงนโยบายขององค์กรนั้น เพื่อให้ทราบถึงความต้องการระบบสารสนเทศของ
องค์กร
ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากร
• อานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ (Authority and Responsibility
Relationships)
• หน้าที่ (Job duties)
• ความสัมพันธ์ (Interpersonal relationships)
• ความต้องการสารสนเทศ(Information needs)
• อานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ วัตถุประสงค์ของการศึกษาข้อมูล
นี้ เพื่อให้ให้ทราบถึงการปฏิบัติงานจริง ๆ ของบุคลากรแต่ละ
ระดับ และทราบว่า ใครมีหน้าที่ มีอานาจในการตัดสินใจด้าน
ใดบ้างตามที่ปฏิบัติอยู่
• หน้าที่ ศึกษาการปฏิบัติงาน หน้าที่การงานขององค์แต่ละตาแหน่ง
ในองค์กร โดยการศึกษา จากเอกสารต่าง ๆ รวมทั้งคู่มือที่เกิดขึ้น
ในระบบ เพื่อให้ทราบความเป็นไปของการดาเนินงาน
• ความสัมพันธ์ ในโครงสร้ำงขององค์กร SAระบบ
จำเป็นต้องหำข้อมูลจำกเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นจริง ๆ
มำกกว่ำที่จะศึกษำจำกข้อควำมในเอกสำรที่เขียนไว้ว่ำ
กำรทำงำนควรจะเป็นอย่ำงไร วัตถุประสงค์ของ
กำรศึกษำควำมสัมพันธ์ของบุคลำกรนั้น
• ความต้องการสารสนเทศ เพื่อให้ทรำบว่ำสำรสนเทศที่
ใช้ในระบบปัจจุบัน เป็นสำรสนเทศที่ได้ตรงตำมควำม
ต้องกำรมำกแค่ไหน และทรำบถึงควำมต้องกำร
สำรสนเทศจริง ๆ ของผู้บริหำรแต่ละระดับ SA ต้องทำ
กำรเปรียบเทียบควำมต้องกำรของสำรสนเทศที่ได้รับ
เพื่อช่วยในกำรประเมินควำมสมดุลของกำรไหลของ
ข้อมูลภำยในระบบได้
ข้อมูลเกี่ยวกับงาน
• การไหลของข้อมูล (Task and Work flows)
• วิธีการและกระบวนการทางาน (Methods and procedures)
• ตารางการทางานและปริมาณงาน (Work schedules Volumes)
• มาตรการปฏิบัติงาน (Performance criteria)
• เครื่องมือที่ใช้ควบคุม (Contorl Mechanisms)
• การไหลของข้อมูล วัตถุประสงค์ในการศึกษาการทางานและระบบงานคือ
เพื่อทราบว่าการไหล หรือการรับ/การส่งข้อมูลภายในระบบ และการแปลง
ข้อมูลโดยหน้าที่ภายในระบบ ทาได้โดยการรวบรวมเอกสาร แบบฟอร์ม
ต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในระบบงานปัจจุบันในแต่ละกระบวนการ
• วิธีการและกระบวนการทางาน เป็นการศึกษาที่กระบวนการจริงๆ โดย
มุ่งเน้นจุดศูนย์กลางของงานโดยศึกษาว่างานอะไร โดยใคร ด้วยเครื่องมือ
อะไร มีตารางการทางานอย่างไร ภายใต้กฏเกณฑ์ใด ซึ่งแตกต่างจาก
การศึกษาการทางานและระบบงาน การศึกษาข้อมูลดังกล่าวนี้เน้นที่การ
กระทาและกระบวนการ
• ตารางการทางานและปริมาณงาน ศึกษาจานวนงานที่ต้องการให้เสร็จใน
ระยะเวลาที่กาหนด ซึ่งจะทาให้รู้ว่าควรนาเอาระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยใน
การพัฒนาระบบใหม่หรือไม่
• มาตรการปฏิบัติงาน เพื่อวัดและประเมินผลงาน ซึ่งในการวัดและประเมิน
งานนั้นไม่เพียงแต่ดูที่ตารางการทางาน ปริมาณ แต่ดูที่คุณภาพ ความ
ถูกต้อง ความเชื่อถือได้ และการยอมรับ สารสนเทศของงานด้วย
วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ คือเปรียบเทียบการทางานจริงๆ และ
มาตรฐานของงานว่าเป็นไป ตามที่กาหนดหรือไม่ เพื่อทราบถึงคุณภาพของ
ระบบงาน ความบกพร่องของปัจจัยที่เกิดความบกพร่อง
• เครื่องมือที่ใช้ควบคุม ศึกษาว่าอะไรเป็นตัวควบคุมระบบการทางาน
ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม
• การกาหนดขอบเขตงาน (Resources avaible)
วัตถุประสงค์ของการศึกษาเกี่ยวกับทรัพยากรที่มีอยู่นั้น คือ
ต้องการทราบว่า ทรัพยากรที่องค์กรมีอยู่นั้นมีอะไรบ้าง จัดสรร
อย่างไร ใช้อย่างคุ้มค่าหรือไม่ และถ้าต้องการมีการออกแบบใหม่
ต้องซื้อุปกรณ์ใดเพิ่ม สามารถนาทรัพยากรเก่ามาใช้กับระบบงาน
ใหม่ ได้หรือไม่ ทรัพยากรในที่นี้ รวมถึงบุคคลากรในองค์กรด้วย
เพื่อเพิ่มฐานความรู้ของบุคลากร
วิธีรวบรวมข้อมูล
การรวบรวมข้อมูลขึ้นอยู่กับชนิดข้อมูลที่เราต้องการ
แยกได้ดังต่อไปนี้
1. การรวบรวมจากเอกสาร (Documents)
2. แบบสอบถาม (Questionnaire)
3. การสัมภาษณ์ (Interview)
4. การสังเกต (Observation)
การรวบรวมจากเอกสาร (Documents)
• โครงสร้างขององค์กร (Organization Charts) , นโยบาย (Policy Manuals)
• คู่มือวิธีการปฏิบัติงาน (Methods and Prodeures Manuals)
• หน้าที่ความรับผิดชอบ (Job Descriptions)
• แบบฟอร์มรายงานต่าง ๆ (Forms and Reports)
• การรับ/ส่งเอกสารและกระบวนการทางาน (Document Flow and Work
Flow Diagrams)
• ระบบงาน (System Flowchats)
กรณีที่องค์กรมีระบบงานคอมพิวเตอร์อยู่แล้ว เอกสารที่ต้อง
ศึกษาเพิ่มเติมคือ
• เอกสารเกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Program
Documentation)
• คาอธิบายข้อมูล (Data Dictionary listing)
• คู่มือการใช้ระบบงานคอมพิวเตอร์ (Computer Operations
Manuals)
แบบสอบถาม (Questionnaire)
คุณสมบัติของแบบสอบถาม
• 1. แบบสอบถามที่ตรงประเด็น (Validity)
• 2. มีความเชื่อถือได้ (Reliability)
• 3. มีเหตุมีผล (Face validity)
การวางแผนสาหรับการใช้แบบสอบถาม
• 1. กาหนดวัตถุประสงค์ที่แน่นอนสาหรับการรวบรวมข้อมูลที่ต้องการ
แบบสอบถามที่ได้นั้นต้องกาหนดทางเลือกข้อคิดเห็น เป็นทั้งคาถาม
ปิดและคาถามเปิดเพื่อ ขอความคิดเห็นจากผู้ตอบ
• 2. กาหนดผู้ตอบแบบสอบถาม ถ้ามีจานวนผู้ตอบมากกว่าควรใช้การ
สุ่ม
• 3. กาหนดแบบสอบถามเพื่อให้ผู้ตอบยอมรับแบบสอบถามนั้น
• 4. กาหนดรูปแบบ (Forms) ของแบบสอบถามและวิธีการประเมินผล
ชนิดของคาถาม
1. คาถามปลายเปิด (Open-ended questions)
2. คาถามปลายปิด (Closed-ended questions)
ชนิดของคาถาม
1. คาถามปลายเปิด (Open-ended questions)
• เป็นแบบสอบถามที่ไม่มีทางเลือกให้เลือกตอบ แต่ให้ผู้ตอบแบบสอบถาม แสดง
ความคิดเห็นของตนเองได้อย่างอิสระ
ตัวอย่างคาถามปลายเปิด
• เช่น
• 1.1 คุณคิดอย่างไรในการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้กับ
ระบบงานในแผนกของคุณ
• 1.2 คุณจะทาอย่างไรให้ถึงเป้าหมายตามที่แผนกกาหนดไว้
• 1.3 อะไรที่คุณคิดว่าเป็นข้อผิดพลาดของการนาระบบ
คอมพิวเตอร์มาใช้ในแผนก
• 1.4 คุณใช้งานแบบฟอร์มนี้อย่างไร และมีการทางานเป็นเช่นไร
บ้าง
2. คาถามปลายปิด (Closed-ended questions)
• เป็นคาถามที่มีคาตอบให้ผู้ตอบแบบสอบถาม โดยการ เลือกคาตอบ
ตามความคิดเห็น
– Multiple – choice เป็นตัวเลือกให้เลือกตอบ
– Rating – Scale เป็นคาถามที่ให้ตอบคาถามที่เป็นอัตราในการ
ตอบคาถาม
– Ranking – Scale เป็นคาถามที่ผู้ตอบแบบสอบถามต้องเลือก
คาตอบระดับความคิดเห็น เรียงลาดับความสาคัญ
ตัวอย่างคาถามปลายปิด
• 2.1 คุณมาทางานบริษัทนี้นานเท่าไรแล้ว
• 2.2 มีจานวนรายงานที่คุณใช้ผ่านระบบคอมพิวเตอร์เท่าไรในแต่ละเดือน
• 2.3 ช่วยบอกสิ่งที่คุณให้ความสาคัญสูงสุดในการขายสินค้าสัก 2ข้อ
• 2.4 ใครเป็นผู้ที่ได้รับผลลัพธ์นี้บ้าง
• 2.5 คุณยอมรับรายงานการเงินของคุณที่พิมพ์จากเครื่องคอมพิวเตอร์
หรือไม่
• 2.6 คุณคิดว่าแบบฟอร์มนี้สมบูรณ์หรือไม่
หลักการเขียนแบบสอบถาม
1. คาถามควรเป็นคาถามในเพียงหัวข้อเดียว
2. คาถามควรเหมาะสมกับผู้ตอบที่จะตอบได้
3. เรียงคาถามให้ต่อเนื่องสัมพันธ์กัน
4. คาถามควรออกแบบสาหรับคะเนที่ง่ายในการวิเคราะห์
5. คาถามควรเป็นคาถามที่ชัดเจน กะทัดรัด มีข้อความเข้าใจง่าย
ข้อดีของแบบสอบถาม
1. ประหยัดเวลา
2. ง่าย สะดวก และรวดเร็ว
ข้อเสียของแบบสอบถาม
1. การทาแบบสอบถามที่ได้ผลตามความต้องนั้นยาก
2. มีข้อจากัดในการได้ข้อมูลตามความต้องการ
การสัมภาษณ์ (Interview)
• การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการพูดคุยซักถามบุคลากร
• ควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับองค์กรบางส่วนเพื่อเตรียมคาถามในการสัมภาษณ์
• ผู้ให้สัมภาษณ์อาจเป็นผู้บริหารระดับสูง ระดับกลาง ระดับล่าง จนถึง
พนักงาน
• สิ่งที่ควรคานึงถึงการสัมภาษณ์คือ ควรทาให้ผู้ถูกสัมภาษณ์รู้สึกว่าเป็นการ
สนทนากันตามปกติ โดยมิให้เขามีความรู้สึกว่าเขาจะถูกแย่งงาน และ
พยายามเปิดโอกาสให้เขาออกความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการออกแบบ
ระบบ เพื่อให้เขา มีความรู้สึกที่ดีต่อระบบใหม่ที่กาลังพัฒนาขึ้น
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงในการสัมภาษณ์
1. การตั้งคาถามนา (Beware of Leading questions)
2. หลีกเลี่ยงการนาเพื่อสรุป (Avoid premature conclusion)
3. ไม่ควรที่จะคล้อยตาม
4. อย่าถูกจูงใจโดยใคร
ข้อดีของการสัมภาษณ์
1. ข้อมูลที่ได้เป็นข้อมูลที่มีคุณภาพ
2. SAได้ความคิดเห็นและคาแนะนาในการออกแบบระบบ ทาให้ผู้ถูก
สัมภาษณ์มีส่วนร่วมในการออกแบบ ซึ่งทาให้ลดการต่อต้านระบบ
ใหม่
ข้อเสียของการสัมภาษณ์
1. เสียเวลามาก
2. SAอาจคล้อยตามความคิดเห็นที่เป็นอคติ (Bias) ของผู้ถูก
สัมภาษณ์
การสังเกต (Observation)
• เป็นกำรรวบรวมข้อมูล โดยกำรดูกระบวนกำรทำงำนจริง ๆ ของ
ระบบอย่ำงเดียว โดยต้องรู้ว่ำ จะสังเกตอะไร และต้องทำกำร
บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับกำรปฏิบัติงำนในขณะสังเกต สรุปกำร
สังเกต
• ข้อมูลที่ได้จะถูกต้องแม่นยำเพียงใด ขึ้นอยู่กับควำมสำมำรถของ
ผู้สังเกตกำรณ์ ซึ่งผู้สังเกตกำรณ์ ต้องมีควำมละเอียดรอบคอบมี
ไหวพริบและควำมยุติธรรม
• กำรสังเกตกำรปฏิบัติกำรในองค์กำร อำจกระทำโดยให้ผู้สังเกต
รู้ตัว หรือสังเกต โดยไม่ให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัวก็ได้
ข้อดีของการสังเกต
1. ข้อมูลที่ได้จำกเหตุกำรณ์จริง ๆ (System-related tasks) ซึ่งเป็นข้อมูล
ที่เชื่อถือได้
2. ข้อมูลที่ได้จำกกำรเก็บข้อมูล จำกกำรสังเกตโดย ไม่มีกำรเตรียมตัว
เหมือนกำรทำแบบสอบถำม หรือกำรสัมภำษณ์
3. ข้อมูลที่ได้เป็นข้อมูลที่น่ำเชื่อมำก เนื่องจำกผู้สังเกตกำรณ์เป็น
ผู้เห็นเหตุกำรณ์จริงๆ ด้วยตำ
ข้อเสียของการสังเกต
1. ไม่สะดวก กรณีที่กระบวนการเกิดขึ้นไม่บ่อยก็ต้องใช้เวลา
2. กรณีที่บุคลากรรู้ว่ามีคนสังเกตการทางานของเขา เขา
อาจจะไม่ได้ทาเหมือนปกติ ที่เคยทา ทาให้ได้ข้อมูลที่ไม่
ตรงกับความจริง
3. ต้องใช้คนที่มีความสามารถสูงในการสังเกต
การสุ่ม (Sampling)
• การสุ่มใช้กับการหาข้อมูลที่มีบุคลากรจานวนมาก เหตุการณ์มาก
และ มีการเปลี่ยนแปลง
• การทางานมากไม่สามารศึกษาจากทุกกลุ่ม ทุกกระบวนการได้ ซึ่ง
ทาให้เสียเวลา และค่าใช้จ่ายมาก
• นาเอาวิธีทางสถิติ มาช่วยโดยการใช้การสุ่มเอาข้อมูลบางส่วน
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ

More Related Content

What's hot

01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-designNuNa DeeNa
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศyanika12
 
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs Min Kannita
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการPrakaywan Tumsangwan
 
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆบทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆpattanan sabumoung
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1Sangduan12345
 
Chapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systemsChapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systemsPa'rig Prig
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศPetch Boonyakorn
 

What's hot (13)

Mi sch4
Mi sch4Mi sch4
Mi sch4
 
01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
 
M
MM
M
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
 
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆบทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Chapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systemsChapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systems
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 

Similar to การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ

การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการskiats
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system developmentPa'rig Prig
 
การออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
การออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษาการออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
การออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษาteacher253
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6somjit003
 
How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)maruay songtanin
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system developmentPa'rig Prig
 
System Development Life Cycle
System Development  Life  CycleSystem Development  Life  Cycle
System Development Life Cycleeiszer
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 

Similar to การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ (20)

Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
3
33
3
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
M
MM
M
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Ssadm
SsadmSsadm
Ssadm
 
Act
ActAct
Act
 
SA Chapter 5
SA Chapter 5SA Chapter 5
SA Chapter 5
 
Design6
Design6Design6
Design6
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system development
 
การออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
การออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษาการออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
การออกแบบระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
Workshop03
Workshop03Workshop03
Workshop03
 
How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system development
 
System Development Life Cycle
System Development  Life  CycleSystem Development  Life  Cycle
System Development Life Cycle
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 

More from CC Nakhon Pathom Rajabhat University

การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlการสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาบทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้าการประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้าCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลการประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 

More from CC Nakhon Pathom Rajabhat University (20)

ภาษา php
ภาษา phpภาษา php
ภาษา php
 
ภาษา java sript
ภาษา java sriptภาษา java sript
ภาษา java sript
 
session cookies
session cookiessession cookies
session cookies
 
ภาษา css
ภาษา cssภาษา css
ภาษา css
 
ภาษา xhtml
ภาษา xhtmlภาษา xhtml
ภาษา xhtml
 
ภาษา html5
ภาษา html5ภาษา html5
ภาษา html5
 
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlการสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์
 
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
 
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
 
Entity Relationship
Entity RelationshipEntity Relationship
Entity Relationship
 
แบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบแบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบ
 
การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2
 
การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
 
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาบทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้าการประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลการประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
 

การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ