SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
สถิติประยุกต์สำหรับงำนวิจัย
เชิงสุขภำพและสังคม
ดร.ศริยามน ติรพัฒน์
สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล
อะไรคือกำรวิจัย?
• กำรวิจัย คือ กระบวนกำรค้นหำสำเหตุหรือที่มำของปัญหำ
อย่ำงมีขั้นตอนและเป็นระบบ ผลของกำรวิจัยที่ถูกต้องสำมำรถ
นำไปใช้แก้ปัญหำหรือตอบคำถำมของปรำกฎกำรณ์ที่เกิดขึ้นได้
ขั้นตอนกำรทำวิจัย
1. กำหนดเรื่องที่จะทำวิจัย (Topic Identification)
2. วำงแผนออกแบบงำนวิจัย (Research Design)
3. เก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
4. วิเครำะห์ข้อมูล (Data Analysis)
5. เขียนรำยงำนกำรวิจัย (Research Report)
กำหนดเรื่องที่จะทำวิจัย (Topic Identification)
• เลือกปัญหำ (Research problem)
• ตั้งชื่อเรื่อง (Research title)
• วิเครำะห์ปัญหำ
วิเครำะห์สิ่งที่ต้องกำรทรำบจำกกำรวิจัยซึ่งจะนำไปสู่
 กำรเขียนคำถำมในกำรวิจัย (Research question)
 วัตถุประสงค์ในกำรวิจัย (Research objective)
 สมมติฐำนกำรวิจัย (Research hypothesis)
 ตัวแปรในกำรทำวิจัย (Independent-Dependent variables ตัวแปร
ต้น-ตำม)
วำงแผนออกแบบงำนวิจัย (Research Design)
• ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบใด (เชิงทดลอง หรือเชิงบรรยำย)
• เครื่องมือวิจัยคืออะไร(แบบสอบถำม.....)
• วิธีกำรเก็บข้อมูลเป็นอย่ำงไร(คน โทรศัพท์)
• ใช้วิธีวิเครำะห์ข้อมูลอย่ำงไร (ต้องกำรหำค่ำอะไร)
• กำหนดแผนกำรดำเนินงำนอย่ำงไร
• เขียนโครงกำรวิจัยอย่ำงไร – บทนำ แนวคิดและทฤษฏี
ตลอดจนงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ระเบียบวิธีวิจัย
เอกสำรอ้ำงอิง
เก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
ภำคสนำม หรือ ห้องทดลอง
วิเครำะห์ข้อมูล (Data Analysis)
1.กำรวิเครำะห์ข้อมูลเพื่อหำค่ำสถิติเบื้องต้น เช่น ค่ำเฉลี่ยร้อยละ
2.กำรวิเครำะห์ข้อมูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์ เป็นกำรวิเครำะห์ข้อมูลเพื่อหำ
ค่ำสถิติที่จะนำมำใช้ทดสอบสมมติฐำนและตอบวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้
• กำรประมำณค่ำ (Estimation)
• กำรทดสอบสมมติฐำน (Testing Hypothesis)
• กำรหำควำมสัมพันธ์ (Association & Correlation)
• กำรพยำกรณ์ (Prediction)
เขียนรำยงำนกำรวิจัย (Research Report)
• บทนำ แนวคิดและทฤษฏี ตลอดจนงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ระเบียบ
วิธีวิจัย รำยงำนผลกำรวิจัย สรุปผล อภิปรำย เสนอแนะ
เอกสำรอ้ำงอิง
สถิติกับงำนวิจัย
• สถิติ คือ อะไร?
• กำรเก็บรวบรวมข้อมูล กำรวิเครำะห์ข้อมูล กำรแปร
ควำมหมำย และ กำรนำเสนอข้อมูล
ข้อมูล
• ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงของสิ่งที่ต้องกำรศึกษำ ซึ่งอำจมำจำก กำรนับ กำร
วัด กำรสังเกตุ หรือ กำรสัมภำษณ์
• ชนิดของข้อมูลอำจะเป็นตัวเลข หรือ คุณลักษณะ
1. ข้อมูลแบบตัวเลข (Numeric) หมำยถึง ข้อมูลที่สำมำรถนำไปคำนวณ
ได้ เช่น ข้อมูลที่เป็นอำยุ รำยได้ น้ำหนัก ระดับควำมชอบ
2. ข้อมูลแบบข้อควำม (String) หมำยถึง ข้อมูลที่ไม่สำมำรถนำไปคำนวณ
ได้ เช่น ข้อมูลที่เป็นชื่อ อำชีพ สถำนภำพ ข้อมูลแบบนี้อำจเป็นได้ทั้งตัวเลข
หรื่อตัวอักษร แต่เป็นตัวเลขที่ไม่ควรจะนำไปคำนวณ เช่น รหัสนักศึกษำ
เบอร์โทรศัพท์
ระดับของข้อมูล
• ผู้วิจัยจำเป็นจะต้องทรำบคุณลักษณะของข้อมูลที่ถูกวัด เพื่อใช้ในกำร
พิจำรณำว่ำจะเลือกใช้วิธีกำรทำงสถิติใดจึงจะเหมำะสม
• ระดับที่ 1 ข้อมูลระดับนำมบัญญัติ (Nominal Scale) เป็นข้อมูลระดับ
คุณภำพต่ำสุดที่ใช้จำแนกควำมแตกต่ำงของสิ่งที่ต้องกำรวัดออกเป็น
กลุ่ม ๆ โดยใช้ตัวเลข ตัวอย่ำงเช่น ตัวแปรเพศ
• ระดับที่ 2 ข้อมูลระดับเรียงอันดับ (Ordinal Scales) เป็นระดับที่ใช้
สำหรับจัดอันดับที่หรือตำแหน่งของสิ่งที่ต้องกำรวัด ตัวเลขใน
มำตรำกำรวัดระดับนี้เป็นตัวเลขที่บอกควำมหมำยในลักษณะมำก-น้อย
สูง-ต่ำ เก่ง-อ่อน กว่ำกัน
• ระดับที่ 3 ข้อมูลระดับช่วง (Interval Scale) เป็นระดับที่สำมำรถ
กำหนดค่ำตัวเลขโดยมีช่วงห่ำงระหว่ำงตัวเลขเท่ำ ๆ กัน สำมำรถนำ
ตัวเลขมำเปรียบเทียบกันได้ว่ำว่ำมีปริมำณมำกน้อยเท่ำใด แต่ไม่
สำมำรถบอกได้ว่ำเป็นกี่เท่ำของกันและกัน เพรำะมำตรำกำรวัดระดับนี้
ไม่มี 0 (ศูนย์) แท้ มีแต่ 0 (ศูนย์)
• ระดับที่ 4 –ข้อมูลระดับอัตรำส่วน (Ratio Scale) เป็นระดับที่สำมำรถ
กำหนดค่ำตัวเลขให้กับสิ่งที่ต้องกำรวัด มี 0 (ศูนย์) แท้ เช่น น้ำหนัก
ควำมสูง อำยุ เป็นต้น ระดับนี้สำมำรถนำตัวเลขมำบวก ลบ คูณ หำร
หรือหำอัตรำส่วนกันได้
ระดับของข้อมูล (ต่อ)
ตัวแปร (variable)
ตัวแปร คือ ลักษณะที่เปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับลักษณะเฉพำะของบุคคลหรือกลุ่ม เช่น
รำยได้ กำรศึกษำ อำยุ เพศ
ตัวแปรจำแนกเป็น 2 ประเภท คือ
1. ตัวแปรอิสระ (Independent variable (IV)) เป็นตัวแปรที่เป็นสำเหตุของสิ่งที่
ต้องกำรศึกษำ
2. ตัวแปรตำม (Dependent variable (DV)) เป็นตัวแปรผลที่แปรค่ำตำมตัวแปร
อิสระ
 ตัวอย่ำง กำรศึกษำปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกำรเป็นโรคควำมดันโลหิตสูงในผู้สูงอำยุ
ตัวแปรสำเหตุ คือ กำรกินอำหำรเค็ม กำรไม่ออกกำลังกำย ควำมเครียด กำร
พักผ่อนไม่เพียงพอ ควำมอ้วน ตัวแปรตำม คือ ภำวะควำมดันโลหิตสูง
ประเภทของสถิติ
1. สถิติเชิงบรรยำย หรือ พรรณำ (Descriptive statistics)
สถิติที่ใช้ในกำรบรรยำย หรือพรรณำคุณลักษณะของข้อมูล ได้แก่
ควำมถี่ ร้อยละ สัดส่วน อัตรำส่วน ค่ำเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน ค่ำมัธย
ฐำน ค่ำฐำนนิยม เป็นต้น
2. สถิติอ้ำงอิง (Inferential statistics)
เป็นสถิติที่ใช้ศึกษำข้อมูลจำกกลุ่มตัวอย่ำง (sample) แล้วนำผลสรุป
ที่ได้จำกกลุ่มตัวอย่ำงสรุปอ้ำงอิงไปยังลักษณะประชำกร (population)
สถิติอ้ำงอิง (Inferential statistics)
กำรอ้ำงอิง หรือกำรอนุมำนด้วยวิธีกำรทำงสถิติสำมำรถจำแนกได้ 2 ประเภท
2.1 สถิติพำรำมิเตอร์ (Parametric test)
• ข้อมูลที่ศึกษำควรอยู่ในระดับช่วงหรืออัตรำส่วน
• ข้อมูลควรมีกำรแจกแจงแบบปกติ
• ตัวอย่ำงที่ถูกเลือกควรจะต้องมีควำมอิสระต่อกัน
2.2 กำรอนุมำนแบบน็อนพำรำเมตริก (Nonparametric test)
• คุณสมบัติไม่เป็นไปตำมเงื่อนไขของกำรอนุมำนแบบพำรำ
เมตริก
วิธีกำรทำงสถิติอ้ำงอิงเพื่อหำข้อสรุปจำก
ข้อมูลตัวอย่ำง
1. กำรประมำณค่ำ (Estimation)
• เป็นกำรนำค่ำของข้อมูลที่ได้จำกตัวอย่ำงไปประมำณค่ำของประชำกร
ที่มีอยู่จริง แต่เรำไม่สำมำรถหำค่ำมำได้ เช่น ประมำณปริมำณน้ำมันที่
ใช้แต่ละวันของคนไทย
2. กำรทดสอบสมมติฐำน (Hypothesis testing)
• เป็นกำรนำค่ำของข้อมูลที่ได้จำกตัวอย่ำงไปทดสอบข้อสมมติ เช่น กำร
ทดสอบสมมติฐำนว่ำคนที่เป็นโรคเอดส์ในจังหวัดนครปฐมมีจำนวนไม่
เท่ำกันในแต่ละอำเภอ
3. กำรหำควำมสัมพันธ์ (Correlation and Association)
• เป็นกำรศึกษำรูปแบบของควำมสัมพันธ์ระหว่ำงตัวแปร 2 ตัวแปรขึ้นไป
เช่น น้ำหนักขึ้นกับส่วนสูงหรือไม่
4. กำรพยำกรณ์ (Forecasting and Prediction)
• เป็นกำรศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงตัวแปร 2 ตัวแปรขึ้นไปและนำไป
สร้ำงแบบ (model) เพื่อใช้พยำกรณ์ข้อมูลประชำกรในอนำคตที่ยังไม่
เกิดขึ้น เช่น ทำนำยกำรเกิดภำวะสมองเสื่อมจำก อำยุ กำรศึกษำ และ
กำรออกกำลังกำย
วิธีกำรทำงสถิติอ้ำงอิงเพื่อหำข้อสรุปจำก
ข้อมูลตัวอย่ำง
สมมติฐำน
หมำยถึง?
• คำตอบที่ผู้วิจัยคำดกำรณ์ล่วงหน้ำก่อนทำกำรวิจัย
• สมมติฐำนมำจำก?
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง งำนวิจัยก่อนหน้ำ หรือ ประสบกำรณ์
จำกผู้วิจัยเอง
ประเภทของสมมุติฐำน
สมมุติฐำนกำรวิจัย (Research hypothesis) เป็นสมมุติฐำนที่เขียนอยู่
ในรูปของข้อควำมที่แสดงถึงควำมสัมพันธ์ของตัวแปรที่ศึกษำกับ
คำตอบที่ผู้วิจัยคำดคะเนโดยใช้ภำษำที่เข้ำใจง่ำยสำมำรถสื่อควำมหมำย
ได้โดยตรง
• ตัวอย่ำง กำรสูบบุหรี่กับกำรเป็นโรคหัวใจ ไม่มีควำมสัมพันธ์กัน
• ไม่มีควำมแตกต่ำงของโรคควำมดันโลหิตสูงในเพศชำยและหญิง
• รำยได้เฉลี่ยเพศชำยสูงกว่ำรำยได้เฉลี่ยเพศหญิง
• คุณภำพชีวิตของแรงงำนข้ำมชำติขึ้นอยู่กับกำรศึกษำ
สมมุติฐำนทำงสถิติ(Statistical hypothesis) เป็นสมมุติฐำนที่เปลี่ยนรูปมำ
จำกสมมุติฐำนกำรวิจัย โดยใช้สัญลักษณ์ทำงคณิตศำสตร์ที่แทนคุณลักษณะ
เกี่ยวกับค่ำพำรำมิเตอร์ของประชำกร (population parameter) มำเขียน
อธิบำยควำมสัมพันธ์ของตัวแปร
ประเภทของสมมุติฐำน
สมมุติฐำนทำงสถิติจะประกอบด้วย 2 ลักษณะ ควบคู่ไปเสมอ คือ
• สมมุติฐำนว่ำง หรือสมมุติฐำนหลัก (Null hypothesis) แทนสัญลักษณ์
ด้วย Ho เป็นสมมุติฐำนแสดงข้อควำมที่เป็นกลำง โดยระบุถึงควำมสัมพันธ์
ของตัวแปรว่ำเท่ำกัน ไม่แตกต่ำงกันหรือไม่มีควำมสัมพันธ์กัน
• สมมุติฐำนทำงเลือกหรือสมมุติฐำนรอง (Alternative hypothesis) แทน
สัญลักษณ์ด้วย H1 หรือ Ha เป็นสมมุติฐำนแตกต่ำงหรือตรงข้ำมกับ
สมมุติฐำนหลัก โดยระบุถึงควำมสัมพันธ์ของตัวแปรว่ำไม่เท่ำกัน แตกต่ำง
กัน มำกกว่ำ น้อยกว่ำ หรือมีควำมสัมพันธ์กัน
ประเภทของสมมุติฐำน
ระดับนัยสำคัญ (Level of Significance)
• สัญลักษณ์ คือ α
• คือ ค่ำแสดงกำรกำหนดควำมคลำดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ในกำรทดสอบ
สมมติฐำน
• โดยกำหนดให้เป็นค่ำของโอกำสหรือควำมน่ำจะเป็นที่จะปฏิเสธสมมุติฐำนศูนย์ (null
hypothesis) เช่น เมื่อ α =0.05 แสดงว่ำผู้วิจัยยอมให้มีโอกำสปฎิเสธสมติฐำนหลัก
Ho เท่ำกับ 5% หรือ ยอมรับสมติฐำนหลัก 95%
• กำรสรุปผลกำรศึกษำ ถ้ำควำมน่ำจะเป็นจำกกำรวิจัยมีค่ำมำกกว่ำระดับนัยสำคัญ
ที่ตั้งไว้ ก็จะยอมรับสมมุติฐำนศูนย์ แต่ถ้ำควำมน่ำจะเป็นจำกกำรวิจัยมีค่ำน้อยกว่ำ
หรือเท่ำกับระดับนัยสำคัญที่ตั้งไว้ ก็จะปฏิเสธสมมุติฐำนศูนย์ ดังนั้น ผลที่ได้จำก
กำรศึกษำเดียวกัน อำจจะยอมรับหรือปฏิเสธสมมุติฐำนศูนย์หรือไม่ก็ได้ ขึ้นอยู่กับ
ระดับนัยสำคัญที่ตั้งไว้ ระดับนัยสำคัญที่ใช้กันทั่วไป คือ ระดับ .05 และ .01
กำรปฏิเสธ หรือ กำรยอมรับสมมติฐำน
เกณฑ์กำรยอมรับ หรือปฏิเสธสมมติฐำนจำกผลกำรคำนวณที่ได้ จำก
โปรแกรม SPSS จะเป็นกำรเปรียบเทียบค่ำทำง สถิติ 2ตัว
• 1.ค่ำสถิติ ที่คำนวณได้จำกโปแกรมซึ่งเป็นค่ำควำมน่ำจะเป็น
(Probability) ใชสัญลักษณ์ P
• 2.ค่ำระดับนัยสำคัญทำงสถิติใช้สัญลักษณ์ α
*ถ้ำ P< α ที่กำหนด จะปฎิเสธ Ho หรือ ยอมรับควำมแตกต่ำงจำก H1
กำรทดสอบสมมติฐำน
1.กำรทดสอบสมมติฐำนด้วยตัวแปร 1 ตัว (Univariate test)
• สถิติพำรำมิเตอร์ (Parametric test) สถิติที่ใช้ทดสอบคือ t-test (one sample
t-test or z-test)
ตัวอย่ำง อำยุเฉลี่ยของกำรตั้งครรภ์ในแรงงำนต่ำงด้ำวน้อยกว่ำหรือเท่ำกับ 18 ปี
• สถิตินอนพำรำมิเตอร์ (Nonparametric test) สถิติที่ใช้ทดสอบคือ Chi-square
 ตัวอย่ำง ในกำรสอบถำมคนไข้ในโรงพยำบำลแห่งหนึ่งจำนวน 200 คน เกี่ยวกับ
พฤติกรรมกำรรักษำของแพทย์ พบว่ำ คนไข้พอใจมำก 72 คน พอใจ 60 คน เฉยๆ 22
คน ไม่พอใจ 46 คน อยำกทรำบว่ำควำมคิดเห็นของคนไข้ต่อพฤติกรรมกำรรักษำ
ของแพทย์ มีสัดส่วนที่เท่ำกันหรือไม่ ระหว่ำงพอใจมำก พอใจเฉยๆ และไม่พอใจที่ระดับ
นัยส ำคัญ 0.01
กำรทดสอบสมมติฐำนด้วยตัวแปร 2 ตัว (Bivariate test)
เป็นกำรทดสอบสมมติฐำนเมื่อมีตัวแปรอิสระ 1 ตัวแปร ตัวแปรตำม 1 ตัว
• สถิติพำรำมิเตอร์ (Parametric test) สถิติที่ใช้ทดสอบคือ
Independent t-test , Paired t-test, One –way Anova, Pearson
correlation, Simple regression
 ตัวอย่ำง อำยุเฉลี่ยของกำรตั้งครรภ์ในแรงงำนต่ำงด้ำวกัมพูชำ และ
แรงงำนต่ำงด้ำวพม่ำมีค่ำแตกต่ำงกันหรือไม่
• สถิตินอนพำรำมิเตอร์ (Nonparametric test) สถิติที่ใช้ทดสอบคือ
Mann-Whitney, Wilcoxon test, Kruskal-Wallis test, Spearman
correlation, Chi-square test of independent
กำรทดสอบสมมติฐำน
กำรทดสอบสมมติฐำนด้วยตัวแปรมำกกว่ำ 2 ตัว (Multivariate test)
เป็นกำรทดสอบขั้นสูงที่วิเครำะห์ตัวแปรมำกกว่ำ 2 ตัวสถิติที่ใช้ทดสอบคือ
• กำรวิเครำะห์ควำมถดถอยเชิงพหุ (Multiple regression analysis)
• กำรวิเครำะห์องค์ประกอบ(Factor analysis)
• กำรวิเครำะห์กลุ่ม(Cluster analysis)
• กำรวิเครำะห์จำแนกกลุ่ม(Discriminant analysis)
กำรทดสอบสมมติฐำน

More Related Content

What's hot

การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลDuangdenSandee
 
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมานการสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมานTwatchai Tangutairuang
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการskiats
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยTwatchai Tangutairuang
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์GolFy Faint Smile
 
โครงงานคอม ใบที่ 6
โครงงานคอม ใบที่  6โครงงานคอม ใบที่  6
โครงงานคอม ใบที่ 6StampPamika
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยRamkhamhaeng University
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 
Measurement and data presentation
Measurement and data presentationMeasurement and data presentation
Measurement and data presentationiamthesisTH
 
6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล
6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล
6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูลNitinop Tongwassanasong
 

What's hot (19)

การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
 
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมานการสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
 
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
ppt
pptppt
ppt
 
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
การนำผลการวิจัยไปใช้
การนำผลการวิจัยไปใช้การนำผลการวิจัยไปใช้
การนำผลการวิจัยไปใช้
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
Research Format
Research FormatResearch Format
Research Format
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6
 
โครงงานคอม ใบที่ 6
โครงงานคอม ใบที่  6โครงงานคอม ใบที่  6
โครงงานคอม ใบที่ 6
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัย
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
Measurement and data presentation
Measurement and data presentationMeasurement and data presentation
Measurement and data presentation
 
6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล
6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล
6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล
 
SA Chapter 5
SA Chapter 5SA Chapter 5
SA Chapter 5
 

Similar to สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169

วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
The use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
The use of meta -analysis for PharmacoepidemiologyThe use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
The use of meta -analysis for Pharmacoepidemiologykamolwantnok
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
Research student chapter 3
Research student chapter 3Research student chapter 3
Research student chapter 3morekung
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลUltraman Taro
 
Testข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยTestข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยsuthida
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดRadchadapornSombatsr
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)sirinyabh
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 

Similar to สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169 (20)

Chapter006 (1)
Chapter006 (1)Chapter006 (1)
Chapter006 (1)
 
Chapter006
Chapter006Chapter006
Chapter006
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
The use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
The use of meta -analysis for PharmacoepidemiologyThe use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
The use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
Research student chapter 3
Research student chapter 3Research student chapter 3
Research student chapter 3
 
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผลStat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
 
123
123123
123
 
123
123123
123
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
Epi info unit08
Epi info unit08Epi info unit08
Epi info unit08
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
test
testtest
test
 
Testข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยTestข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัย
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด
 
ทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไมทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไม
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 

สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169

  • 2. อะไรคือกำรวิจัย? • กำรวิจัย คือ กระบวนกำรค้นหำสำเหตุหรือที่มำของปัญหำ อย่ำงมีขั้นตอนและเป็นระบบ ผลของกำรวิจัยที่ถูกต้องสำมำรถ นำไปใช้แก้ปัญหำหรือตอบคำถำมของปรำกฎกำรณ์ที่เกิดขึ้นได้
  • 3. ขั้นตอนกำรทำวิจัย 1. กำหนดเรื่องที่จะทำวิจัย (Topic Identification) 2. วำงแผนออกแบบงำนวิจัย (Research Design) 3. เก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) 4. วิเครำะห์ข้อมูล (Data Analysis) 5. เขียนรำยงำนกำรวิจัย (Research Report)
  • 4. กำหนดเรื่องที่จะทำวิจัย (Topic Identification) • เลือกปัญหำ (Research problem) • ตั้งชื่อเรื่อง (Research title) • วิเครำะห์ปัญหำ วิเครำะห์สิ่งที่ต้องกำรทรำบจำกกำรวิจัยซึ่งจะนำไปสู่  กำรเขียนคำถำมในกำรวิจัย (Research question)  วัตถุประสงค์ในกำรวิจัย (Research objective)  สมมติฐำนกำรวิจัย (Research hypothesis)  ตัวแปรในกำรทำวิจัย (Independent-Dependent variables ตัวแปร ต้น-ตำม)
  • 5. วำงแผนออกแบบงำนวิจัย (Research Design) • ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบใด (เชิงทดลอง หรือเชิงบรรยำย) • เครื่องมือวิจัยคืออะไร(แบบสอบถำม.....) • วิธีกำรเก็บข้อมูลเป็นอย่ำงไร(คน โทรศัพท์) • ใช้วิธีวิเครำะห์ข้อมูลอย่ำงไร (ต้องกำรหำค่ำอะไร) • กำหนดแผนกำรดำเนินงำนอย่ำงไร • เขียนโครงกำรวิจัยอย่ำงไร – บทนำ แนวคิดและทฤษฏี ตลอดจนงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ระเบียบวิธีวิจัย เอกสำรอ้ำงอิง
  • 7. วิเครำะห์ข้อมูล (Data Analysis) 1.กำรวิเครำะห์ข้อมูลเพื่อหำค่ำสถิติเบื้องต้น เช่น ค่ำเฉลี่ยร้อยละ 2.กำรวิเครำะห์ข้อมูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์ เป็นกำรวิเครำะห์ข้อมูลเพื่อหำ ค่ำสถิติที่จะนำมำใช้ทดสอบสมมติฐำนและตอบวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ • กำรประมำณค่ำ (Estimation) • กำรทดสอบสมมติฐำน (Testing Hypothesis) • กำรหำควำมสัมพันธ์ (Association & Correlation) • กำรพยำกรณ์ (Prediction)
  • 8. เขียนรำยงำนกำรวิจัย (Research Report) • บทนำ แนวคิดและทฤษฏี ตลอดจนงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ระเบียบ วิธีวิจัย รำยงำนผลกำรวิจัย สรุปผล อภิปรำย เสนอแนะ เอกสำรอ้ำงอิง
  • 9. สถิติกับงำนวิจัย • สถิติ คือ อะไร? • กำรเก็บรวบรวมข้อมูล กำรวิเครำะห์ข้อมูล กำรแปร ควำมหมำย และ กำรนำเสนอข้อมูล
  • 10. ข้อมูล • ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงของสิ่งที่ต้องกำรศึกษำ ซึ่งอำจมำจำก กำรนับ กำร วัด กำรสังเกตุ หรือ กำรสัมภำษณ์ • ชนิดของข้อมูลอำจะเป็นตัวเลข หรือ คุณลักษณะ 1. ข้อมูลแบบตัวเลข (Numeric) หมำยถึง ข้อมูลที่สำมำรถนำไปคำนวณ ได้ เช่น ข้อมูลที่เป็นอำยุ รำยได้ น้ำหนัก ระดับควำมชอบ 2. ข้อมูลแบบข้อควำม (String) หมำยถึง ข้อมูลที่ไม่สำมำรถนำไปคำนวณ ได้ เช่น ข้อมูลที่เป็นชื่อ อำชีพ สถำนภำพ ข้อมูลแบบนี้อำจเป็นได้ทั้งตัวเลข หรื่อตัวอักษร แต่เป็นตัวเลขที่ไม่ควรจะนำไปคำนวณ เช่น รหัสนักศึกษำ เบอร์โทรศัพท์
  • 11. ระดับของข้อมูล • ผู้วิจัยจำเป็นจะต้องทรำบคุณลักษณะของข้อมูลที่ถูกวัด เพื่อใช้ในกำร พิจำรณำว่ำจะเลือกใช้วิธีกำรทำงสถิติใดจึงจะเหมำะสม • ระดับที่ 1 ข้อมูลระดับนำมบัญญัติ (Nominal Scale) เป็นข้อมูลระดับ คุณภำพต่ำสุดที่ใช้จำแนกควำมแตกต่ำงของสิ่งที่ต้องกำรวัดออกเป็น กลุ่ม ๆ โดยใช้ตัวเลข ตัวอย่ำงเช่น ตัวแปรเพศ • ระดับที่ 2 ข้อมูลระดับเรียงอันดับ (Ordinal Scales) เป็นระดับที่ใช้ สำหรับจัดอันดับที่หรือตำแหน่งของสิ่งที่ต้องกำรวัด ตัวเลขใน มำตรำกำรวัดระดับนี้เป็นตัวเลขที่บอกควำมหมำยในลักษณะมำก-น้อย สูง-ต่ำ เก่ง-อ่อน กว่ำกัน
  • 12. • ระดับที่ 3 ข้อมูลระดับช่วง (Interval Scale) เป็นระดับที่สำมำรถ กำหนดค่ำตัวเลขโดยมีช่วงห่ำงระหว่ำงตัวเลขเท่ำ ๆ กัน สำมำรถนำ ตัวเลขมำเปรียบเทียบกันได้ว่ำว่ำมีปริมำณมำกน้อยเท่ำใด แต่ไม่ สำมำรถบอกได้ว่ำเป็นกี่เท่ำของกันและกัน เพรำะมำตรำกำรวัดระดับนี้ ไม่มี 0 (ศูนย์) แท้ มีแต่ 0 (ศูนย์) • ระดับที่ 4 –ข้อมูลระดับอัตรำส่วน (Ratio Scale) เป็นระดับที่สำมำรถ กำหนดค่ำตัวเลขให้กับสิ่งที่ต้องกำรวัด มี 0 (ศูนย์) แท้ เช่น น้ำหนัก ควำมสูง อำยุ เป็นต้น ระดับนี้สำมำรถนำตัวเลขมำบวก ลบ คูณ หำร หรือหำอัตรำส่วนกันได้ ระดับของข้อมูล (ต่อ)
  • 13. ตัวแปร (variable) ตัวแปร คือ ลักษณะที่เปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับลักษณะเฉพำะของบุคคลหรือกลุ่ม เช่น รำยได้ กำรศึกษำ อำยุ เพศ ตัวแปรจำแนกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ตัวแปรอิสระ (Independent variable (IV)) เป็นตัวแปรที่เป็นสำเหตุของสิ่งที่ ต้องกำรศึกษำ 2. ตัวแปรตำม (Dependent variable (DV)) เป็นตัวแปรผลที่แปรค่ำตำมตัวแปร อิสระ  ตัวอย่ำง กำรศึกษำปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกำรเป็นโรคควำมดันโลหิตสูงในผู้สูงอำยุ ตัวแปรสำเหตุ คือ กำรกินอำหำรเค็ม กำรไม่ออกกำลังกำย ควำมเครียด กำร พักผ่อนไม่เพียงพอ ควำมอ้วน ตัวแปรตำม คือ ภำวะควำมดันโลหิตสูง
  • 14. ประเภทของสถิติ 1. สถิติเชิงบรรยำย หรือ พรรณำ (Descriptive statistics) สถิติที่ใช้ในกำรบรรยำย หรือพรรณำคุณลักษณะของข้อมูล ได้แก่ ควำมถี่ ร้อยละ สัดส่วน อัตรำส่วน ค่ำเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน ค่ำมัธย ฐำน ค่ำฐำนนิยม เป็นต้น 2. สถิติอ้ำงอิง (Inferential statistics) เป็นสถิติที่ใช้ศึกษำข้อมูลจำกกลุ่มตัวอย่ำง (sample) แล้วนำผลสรุป ที่ได้จำกกลุ่มตัวอย่ำงสรุปอ้ำงอิงไปยังลักษณะประชำกร (population)
  • 15. สถิติอ้ำงอิง (Inferential statistics) กำรอ้ำงอิง หรือกำรอนุมำนด้วยวิธีกำรทำงสถิติสำมำรถจำแนกได้ 2 ประเภท 2.1 สถิติพำรำมิเตอร์ (Parametric test) • ข้อมูลที่ศึกษำควรอยู่ในระดับช่วงหรืออัตรำส่วน • ข้อมูลควรมีกำรแจกแจงแบบปกติ • ตัวอย่ำงที่ถูกเลือกควรจะต้องมีควำมอิสระต่อกัน 2.2 กำรอนุมำนแบบน็อนพำรำเมตริก (Nonparametric test) • คุณสมบัติไม่เป็นไปตำมเงื่อนไขของกำรอนุมำนแบบพำรำ เมตริก
  • 16. วิธีกำรทำงสถิติอ้ำงอิงเพื่อหำข้อสรุปจำก ข้อมูลตัวอย่ำง 1. กำรประมำณค่ำ (Estimation) • เป็นกำรนำค่ำของข้อมูลที่ได้จำกตัวอย่ำงไปประมำณค่ำของประชำกร ที่มีอยู่จริง แต่เรำไม่สำมำรถหำค่ำมำได้ เช่น ประมำณปริมำณน้ำมันที่ ใช้แต่ละวันของคนไทย 2. กำรทดสอบสมมติฐำน (Hypothesis testing) • เป็นกำรนำค่ำของข้อมูลที่ได้จำกตัวอย่ำงไปทดสอบข้อสมมติ เช่น กำร ทดสอบสมมติฐำนว่ำคนที่เป็นโรคเอดส์ในจังหวัดนครปฐมมีจำนวนไม่ เท่ำกันในแต่ละอำเภอ
  • 17. 3. กำรหำควำมสัมพันธ์ (Correlation and Association) • เป็นกำรศึกษำรูปแบบของควำมสัมพันธ์ระหว่ำงตัวแปร 2 ตัวแปรขึ้นไป เช่น น้ำหนักขึ้นกับส่วนสูงหรือไม่ 4. กำรพยำกรณ์ (Forecasting and Prediction) • เป็นกำรศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงตัวแปร 2 ตัวแปรขึ้นไปและนำไป สร้ำงแบบ (model) เพื่อใช้พยำกรณ์ข้อมูลประชำกรในอนำคตที่ยังไม่ เกิดขึ้น เช่น ทำนำยกำรเกิดภำวะสมองเสื่อมจำก อำยุ กำรศึกษำ และ กำรออกกำลังกำย วิธีกำรทำงสถิติอ้ำงอิงเพื่อหำข้อสรุปจำก ข้อมูลตัวอย่ำง
  • 19. ประเภทของสมมุติฐำน สมมุติฐำนกำรวิจัย (Research hypothesis) เป็นสมมุติฐำนที่เขียนอยู่ ในรูปของข้อควำมที่แสดงถึงควำมสัมพันธ์ของตัวแปรที่ศึกษำกับ คำตอบที่ผู้วิจัยคำดคะเนโดยใช้ภำษำที่เข้ำใจง่ำยสำมำรถสื่อควำมหมำย ได้โดยตรง • ตัวอย่ำง กำรสูบบุหรี่กับกำรเป็นโรคหัวใจ ไม่มีควำมสัมพันธ์กัน • ไม่มีควำมแตกต่ำงของโรคควำมดันโลหิตสูงในเพศชำยและหญิง • รำยได้เฉลี่ยเพศชำยสูงกว่ำรำยได้เฉลี่ยเพศหญิง • คุณภำพชีวิตของแรงงำนข้ำมชำติขึ้นอยู่กับกำรศึกษำ
  • 20. สมมุติฐำนทำงสถิติ(Statistical hypothesis) เป็นสมมุติฐำนที่เปลี่ยนรูปมำ จำกสมมุติฐำนกำรวิจัย โดยใช้สัญลักษณ์ทำงคณิตศำสตร์ที่แทนคุณลักษณะ เกี่ยวกับค่ำพำรำมิเตอร์ของประชำกร (population parameter) มำเขียน อธิบำยควำมสัมพันธ์ของตัวแปร ประเภทของสมมุติฐำน
  • 21. สมมุติฐำนทำงสถิติจะประกอบด้วย 2 ลักษณะ ควบคู่ไปเสมอ คือ • สมมุติฐำนว่ำง หรือสมมุติฐำนหลัก (Null hypothesis) แทนสัญลักษณ์ ด้วย Ho เป็นสมมุติฐำนแสดงข้อควำมที่เป็นกลำง โดยระบุถึงควำมสัมพันธ์ ของตัวแปรว่ำเท่ำกัน ไม่แตกต่ำงกันหรือไม่มีควำมสัมพันธ์กัน • สมมุติฐำนทำงเลือกหรือสมมุติฐำนรอง (Alternative hypothesis) แทน สัญลักษณ์ด้วย H1 หรือ Ha เป็นสมมุติฐำนแตกต่ำงหรือตรงข้ำมกับ สมมุติฐำนหลัก โดยระบุถึงควำมสัมพันธ์ของตัวแปรว่ำไม่เท่ำกัน แตกต่ำง กัน มำกกว่ำ น้อยกว่ำ หรือมีควำมสัมพันธ์กัน ประเภทของสมมุติฐำน
  • 22. ระดับนัยสำคัญ (Level of Significance) • สัญลักษณ์ คือ α • คือ ค่ำแสดงกำรกำหนดควำมคลำดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ในกำรทดสอบ สมมติฐำน • โดยกำหนดให้เป็นค่ำของโอกำสหรือควำมน่ำจะเป็นที่จะปฏิเสธสมมุติฐำนศูนย์ (null hypothesis) เช่น เมื่อ α =0.05 แสดงว่ำผู้วิจัยยอมให้มีโอกำสปฎิเสธสมติฐำนหลัก Ho เท่ำกับ 5% หรือ ยอมรับสมติฐำนหลัก 95% • กำรสรุปผลกำรศึกษำ ถ้ำควำมน่ำจะเป็นจำกกำรวิจัยมีค่ำมำกกว่ำระดับนัยสำคัญ ที่ตั้งไว้ ก็จะยอมรับสมมุติฐำนศูนย์ แต่ถ้ำควำมน่ำจะเป็นจำกกำรวิจัยมีค่ำน้อยกว่ำ หรือเท่ำกับระดับนัยสำคัญที่ตั้งไว้ ก็จะปฏิเสธสมมุติฐำนศูนย์ ดังนั้น ผลที่ได้จำก กำรศึกษำเดียวกัน อำจจะยอมรับหรือปฏิเสธสมมุติฐำนศูนย์หรือไม่ก็ได้ ขึ้นอยู่กับ ระดับนัยสำคัญที่ตั้งไว้ ระดับนัยสำคัญที่ใช้กันทั่วไป คือ ระดับ .05 และ .01
  • 23. กำรปฏิเสธ หรือ กำรยอมรับสมมติฐำน เกณฑ์กำรยอมรับ หรือปฏิเสธสมมติฐำนจำกผลกำรคำนวณที่ได้ จำก โปรแกรม SPSS จะเป็นกำรเปรียบเทียบค่ำทำง สถิติ 2ตัว • 1.ค่ำสถิติ ที่คำนวณได้จำกโปแกรมซึ่งเป็นค่ำควำมน่ำจะเป็น (Probability) ใชสัญลักษณ์ P • 2.ค่ำระดับนัยสำคัญทำงสถิติใช้สัญลักษณ์ α *ถ้ำ P< α ที่กำหนด จะปฎิเสธ Ho หรือ ยอมรับควำมแตกต่ำงจำก H1
  • 24. กำรทดสอบสมมติฐำน 1.กำรทดสอบสมมติฐำนด้วยตัวแปร 1 ตัว (Univariate test) • สถิติพำรำมิเตอร์ (Parametric test) สถิติที่ใช้ทดสอบคือ t-test (one sample t-test or z-test) ตัวอย่ำง อำยุเฉลี่ยของกำรตั้งครรภ์ในแรงงำนต่ำงด้ำวน้อยกว่ำหรือเท่ำกับ 18 ปี • สถิตินอนพำรำมิเตอร์ (Nonparametric test) สถิติที่ใช้ทดสอบคือ Chi-square  ตัวอย่ำง ในกำรสอบถำมคนไข้ในโรงพยำบำลแห่งหนึ่งจำนวน 200 คน เกี่ยวกับ พฤติกรรมกำรรักษำของแพทย์ พบว่ำ คนไข้พอใจมำก 72 คน พอใจ 60 คน เฉยๆ 22 คน ไม่พอใจ 46 คน อยำกทรำบว่ำควำมคิดเห็นของคนไข้ต่อพฤติกรรมกำรรักษำ ของแพทย์ มีสัดส่วนที่เท่ำกันหรือไม่ ระหว่ำงพอใจมำก พอใจเฉยๆ และไม่พอใจที่ระดับ นัยส ำคัญ 0.01
  • 25. กำรทดสอบสมมติฐำนด้วยตัวแปร 2 ตัว (Bivariate test) เป็นกำรทดสอบสมมติฐำนเมื่อมีตัวแปรอิสระ 1 ตัวแปร ตัวแปรตำม 1 ตัว • สถิติพำรำมิเตอร์ (Parametric test) สถิติที่ใช้ทดสอบคือ Independent t-test , Paired t-test, One –way Anova, Pearson correlation, Simple regression  ตัวอย่ำง อำยุเฉลี่ยของกำรตั้งครรภ์ในแรงงำนต่ำงด้ำวกัมพูชำ และ แรงงำนต่ำงด้ำวพม่ำมีค่ำแตกต่ำงกันหรือไม่ • สถิตินอนพำรำมิเตอร์ (Nonparametric test) สถิติที่ใช้ทดสอบคือ Mann-Whitney, Wilcoxon test, Kruskal-Wallis test, Spearman correlation, Chi-square test of independent กำรทดสอบสมมติฐำน
  • 26. กำรทดสอบสมมติฐำนด้วยตัวแปรมำกกว่ำ 2 ตัว (Multivariate test) เป็นกำรทดสอบขั้นสูงที่วิเครำะห์ตัวแปรมำกกว่ำ 2 ตัวสถิติที่ใช้ทดสอบคือ • กำรวิเครำะห์ควำมถดถอยเชิงพหุ (Multiple regression analysis) • กำรวิเครำะห์องค์ประกอบ(Factor analysis) • กำรวิเครำะห์กลุ่ม(Cluster analysis) • กำรวิเครำะห์จำแนกกลุ่ม(Discriminant analysis) กำรทดสอบสมมติฐำน