SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนามาใช้กับการจัดการความรู้
วิชา เทคโนโลยีสาหรับการบริหารจัดการความรู้
จัดทาโดย
นางสาวจุฑารัตน์ แพ่งยัง
รหัสนักศึกษา 4942040006
เสนอ
อาจารย์ นันทารัตน์ คงสีปาน
วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 1
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
คานา
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาเทคโนโลยีสาหรับการบริหารจัดการความรู้ รหัส 4204-2007
ผู้จัดทาได้เรียบเรียงขึ้นมาเพื่อใช้เป็นกรณีศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนามาใช้กับการจัดการความรู้
มุ่งเน้นเกี่ยวกับระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกนิกส์ ระบบสืบค้นข้อมูลข่าวสาร ระบบเรียนรู้ทาง
อิเล็กทรอนิกส์ ระบบประชุมอิเล็กทรอนิกส์ วิธีการ ขั้นตอนการสร้างระบบ และการใช้งาน
โดยผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์กับนักศึกษาในการค้นคว้า และหา
ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนามาใช้กับการจัดการความรู้
นางสาวจุฑารัตน์ แพ่งยัง
ผู้จัดทา
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ 1
ประโยชน์ของระบบจัดการเอกสาร 1
ระบบ E-Document ระบบการจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ 1
ขั้นตอนการใช้งาน โปรแกรมสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 3
ระบบสืบค้นข้อมูลข่าวสาร 10
การสืบค้นข้อมูลและการใช้โปรแกรมเรียกค้นข้อมูล 10
วิธีการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต 11
การสืบค้นข้อมูลภาพ 16
ประโยชน์ที่ได้รับจาก Search Engine 22
ระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ 23
ใช้งานระบบ CN Course Networking 23
ระบบประชุมอิเล็กทรอนิกส์ 33
ระบบจัดการการประชุม ETDA e-meeting 33
การใช้งานระบบจัดการการประชุม 34
ระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
ระบบการจัดการเอกสาร (อังกฤษ: Document management system) คือระบบคอมพิวเตอร์หรือกลุ่ม
ของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในการติดตามและเก็บบันทึกเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ หรือ รูปภาพประกอบ
เอกสาร โดยใช้แนวคิดของระบบการจัดการเนื้อหา (Content management system ,CMS) ซึ่งมักจะถูกมอง
ว่าเป็นองค์ประกอบของระบบการจัดงานภายในองค์กร (Enterprise content management system,ECM) ซึ่ง
มีความสัมพันธ์กับการจัดการทรัพย์สินดิจิตอล (Digital asset management system,DAM) นอกจากนี้ยังมี
หัวข้อที่เกี่ยวข้องและมีความสัมพันธ์อีกเช่น ระบบจัดการเก็บเอกสารด้วยคอมพิวเตอร์ (Document imaging
system) การจัดการลาดับงาน (Workflow system) และระบบการเก็บบันทึก (Records management system)
ประโยชน์ของระบบจัดการเอกสาร
- ช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านเอกสารกระดาษ
- ช่วยในเรื่องของการค้นหาข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น
- สามารถกาหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลและความปลอดภัยของข้อมูลได้ง่าย
- สามารถทาการสารองข้อมูล และเก็บรักษาข้อมูลได้ง่ายกว่า
- ช่วยส่งเสริมการทางานภายในองค์กรให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ระบบ E-Document ระบบการจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
Document management systems จะมีการจัดเตรียมและมีกระบวนการต่างๆเช่น แหล่งจัดเก็บข้อมูล
การกาหนดรุ่นเอกสาร ความปลอดภัย การทาดัชนี และการสืบค้น องค์ประกอบต่างๆเช่น
Metadata หมายถึง ข้อมูลที่ใช้กากับและอภิบายข้อมูลหลักหรือกลุ่มของข้อมูลอื่น ตัวอย่างที่เห็นได้
ชัดคือบัตรในห้องสมุดสาหรับสืบค้นหนังสือที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับชื่อหนังสือและตาแหน่งของหนังสือ ซึ่ง
หนังสือเป็นข้อมูลที่ต้องการ และบัตรเป็นข้อมูลที่อธิบายรายละเอียดของข้อมูลนั้น
Integration หลายๆระบบการจัดการเอกสารพยายามที่จะใช้งานร่วมกับโปรแกรมอื่น ๆ เพื่อให้ผู้ใช้
สามารถเรียกข้อมูลที่มีอยู่ได้โดยตรงจากพื้นที่เก็บข้อมูลของระบบการจัดการเอกสาร มีการเปลี่ยนแปลง
และบันทึกการเปลี่ยนแปลง กลับไปยังระบบจัดการในรูปแบบของ new version ซึ่งจะได้กล่าวถึง version
ในหัวข้อถัดไปข้างหน้า โดยการทางานทั้งหมดนั้นยังใช้งานในโปรแกรมเดิม เช่นการใช้งานกับ email หรือ
มีการแชร์ซอฟต์แวร์เป็นกลุ่มร่วมกัน ซึ่ง Application จะมีการใช้มาตรฐานเช่น ODMA LDAP WebDAV
และ SOAP
Capture หลักการนั้นมีความเกี่ยวข้องกับการประมวลผลของหนักระดาษจากการสแกน หรือ
อุปกรณ์อื่นๆเช่นปริ้นเตอร์ หรือ Optical character reconition ( กระบวนการทางกลไกหรือทาง
อิเล็กทรอนิกส์เพื่อแปลภาพของข้อความจากการเขียนหรือจากการพิมพ์ ไปเป็นข้อความที่สามารถแก้ไขได้
โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ )หรือมีการใช้ OMR Software ที่เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สาหรับอ่านค่าในช่อง เช่นใช้
ตรวจสอบปรนัย
Indexing เป็นการติดตามเอกสารอิเล็กทรอนิกส์อาจเป็นสิ่งที่ง่ายสาหรับการเก็บตัว Track ที่
เจาะจงของข้อมูลแต่มักจะมีรูปแบบที่ซับซ้อนมากขึ้นสาหรับการจัดหมวดหมู่ ให้ผ่าน metadata ดังนั้นการ
Indexing ให้สามารถสืบค้นได้อย่างรวดเร็วในพื้นที่ที่มีขนาดใหญ่จึงต้องคานึงถึงโครงสร้างทาง topology
ของ index ด้วย
Storage การจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ต้องคานึงว่า เก็บที่ไหน นานเท่าไหร่ หรือการเปลี่ยนที่
อยู่ของเอกสารไปเก็บอีกที่หนึ่งเกี่ยวข้องกับ (Hierarchical storage management) และ การทาลายเอกสาร
Retrieval การเรียกดูเอกสารอิเล็กทรอนิกส์จากการจัดเก็บ ในบางครั้งอาจจะดูเหมือนง่ายใน
ทางการสืบค้นแต่ในบริบททางอิเล็กทรอนิกส์จะค่อนข้างซับซ้อนและมีประสิทธิภาพ ซึ่งเกี่ยวข้องกับ
โครงสร้างทางดัชนี บางครั้งการค้นหาบางระบบ สามารถหาบางส่วนของคาหรือบางส่วนของ metadata ที่
คาดหวังได้ ในบางระบบอาจจะอนุญาตให้มีการสืบค้นแบบใช้ การระบุนิพจน์บูลีนให้มีหลากหลายคาหรือ
วลีที่ต้องการได้
Distribution เอกสารที่เผยแพร่จะต้องมีรูปแบบ (Format) ที่ยากต่อการถูกเปลี่ยนแปลงโดยง่าย
วิธีปฏิบัติโดยทั่วไปในทางกฎหมาย เอกสารต้นฉบับจะไม่ถูกแจกจ่ายแต่จะเก็บไว้ในสถานที่ๆปลอดภัย หาก
เอกสารถูกแจกจ่ายด้วยรูปแบบอิเลคโทรนิคในสภาวะที่มีการควบคุม เครื่องมือที่ใช้งานต้องมีคุณภาพและ
ได้รับการตรวจสอบว่าทางานอย่างถูกต้อง เช่นเดียวกันกับตัวนาส่งเอกสารอิเลคโทรนิคที่ต้องมีคุณภาพ ทั้ง
สองอย่างนี้ต้องนามาประยุกต์ใช้ในระบบเอกสารที่มีการแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน หากความสมบูรณ์ของ
เอกสารเป็นสิ่งที่จาอย่างยิ่ง
Security การรักษาความปลอดภัยมีความสาคัญมากในการใช้งานการจัดการเอกสารจานวนมาก
ข้อมูลบางอย่างจาเป็นต้องเข้ารหัสและเป็นความลับสูงมีข้อกาหนดที่ซับซ้อนเช่น ข้อมูลประวัติทาง
การแพทย์Workflow คือการบริหารจัดการ ลาดับขั้นตอนของการปฏิบัติงานระหว่าง บุคลากร หรือ
หน่วยงาน โดยกาหนดเป็นกฎเกณฑ์ และใช้เอกสาร หรือคอมพิวเตอร์มาช่วยในการกากับงาน
Versioning เป็นการควบคุมการเปลี่ยนแปลง โดยให้มีหมายเลขการเปลี่ยนแปลง หรือการ
กาหนดวันที่เปลี่ยนแปลง และจัดเก็บสารองข้อมูลดังเดิมไว้เผื่อทาการเรียกคืนข้อมูล หรือแก้ไขกลับ และ
เพื่อให้รู้ถึงสถานะการเปลี่ยนแปลงของข้อมูล
Records Management system เป็นการจัดการคุณลักษณะของข้อมูล โดยสามารถบริหาร
จัดการ กาหนดค่าอายุของข้อมูลในระบบได้ตามเงื่อนไข ซึ่งในปัจจุบันได้มีการกาหนดมาตรฐานการจัดการ
อายุของข้อมูล เช่น DoD 5015.2-STD Version x เป็นข้อกาหนดตามมาตรฐานความปลอดภัยของการจัดเก็บ
ข้อมูล ที่ออกโดยรัฐบาลสหรัฐ ซึ่งมีซอฟแวร์บางรายเท่านั้นที่ได้รับรองตามมาตรฐานนี้
ขั้นตอนการใช้งาน โปรแกรมสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
การเข้าสู่ระบบระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
คลิกเลือก Icon Internet Explorer เพื่อเข้าสู่หน้าจอเปิดระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์จาก
เว็บไซต์โดยเข้าไปที่ http://doc.nida.ac.th/web/index.jsp ระบบจะแสดงหน้าจอ Login เพื่อเข้าสู่ระบบงาน
อิเล็กทรอนิกส์ ดังนี้
รูปที่ 1
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จะปรากฏหน้าจอ
รูปที่ 2
มีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้
1. พิมพ์ชื่อผู้ใช้ระบบ
2. พิมพ์รหัสผ่าน
3. คลิกเข้าสู่ระบบ
ขั้นตอนการลงทะเบียนรับจากหน่วยงานภายใน
คลิกเข้าสู่ ข้อมูลเข้า จะปรากฏรายการย่อยของเมนู ดังรูป
รูปที่ 3
เมื่อคลิกเข้าไปที่ข้อมูลเข้า ทางด้านขวามือจะมีข้อความขึ้นมา เลือกเรื่อง
ให้คลิกลูกศรเพื่อเลือกเข้าที่เมนูแล้วเลือกข้อความว่า คณะสถิติประยุกต์ดังรูป
รูปที่ 4
เมื่อเปิดเมนู เลือกเรื่องเข้า และคลิกที่คณะสถิติประยุกต์ เมนูระบบจะเปิดหน้าจอหลักของแฟ้ ม
ทะเบียนโดยคลิกเปิดเรื่องที่ต้องการ หน้าจอจะปรากฏรายละเอียดของหนังสือแต่ละเรื่องโดยมีรายละเอียด
ของทะเบียนหนังสือรับ เช่น สถานะ เลขทะเบียน เลขที่หนังสือ เรื่อง จาก วัน เวลา ลงวันที่ข้อ หมายเหตุ
ดังแสดงดังรูป
รูปที่ 5
ข้อสังเกต
การลงทะเบียนหนังสื อรับให้ดูที่ช่องหมายเหตุว่าช่องหมายเหตุขอเรื่องนั้น มีคาว่า
1.รอเอกสารต้นฉบับ หมายความว่า ทางหน่วยงานต้นเรื่องไม่ได้แนบเอกสารมาให้ทาง
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ฉะนั้นต้องรอรับเอกสารฉบับจริงจากหน่วยงานต้นเรื่อง จึงจะลงรับทาง
ระบบได้
2. ไม่รอเอกสารต้นฉบับ หมายความว่า ทางหน่วยงานต้นเรื่องได้แนบเอกสาร
อิเล็กทรอนิกส์มาทางระบบเรียนร้อยแล้ว เจ้าหน้าที่ธุรการจะต้องพิมพ์เอกสารออกมาแล้วจึงจะลงทะเบียน
รับทางระบบได้
- คลิกปุ่มลงทะเบียน จะปรากฏหน้าจอเปิดเอกสารเพื่อทาการลงทะเบียนดังรูป
รูปที่ 6
- คลิกเลือกแฟ้มทะเบียนหนังสือแล้วกดปุ่มตกลง เสร็จสิ้นการลงทะเบียน
รับ
รูปที่ 7
กรณี ช่องหมายเหตุ ระบุไม่รอเอกสารต้นฉบับ มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกเปิดเอกสารแนบ จะปรากฏรายละเอียดของเอกสารซึ่งเป็นส่วนแสดงราลละเอียดของเอกสาร
แต่ละเรื่องมีขั้นตอนดังนี้
- คลิกตรงช่องหมายเหตุของแต่ละเรื่อง (โดยระบุว่า ไม่รอเอกสารต้นฉบับ)
รูปที่ 8
- จะปรากฏข้อมูลขึ้นโดยทางด้านขวามือจะมีข้อความว่า 1 เอกสาร)
พร้อมชื่อ File เอกสาร ให้คลิกเข้าไปเพื่อเปิดเอกสารดังรูป 9 – 10
รูปที่ 9
รูปที่ 10
คลิกปุ่มพิมพ์ เอกสารแนบและกลับมายังเมนูข้อมูลเข้าเพื่อลงทะเบียนรับเสร็จสิ้นการ
ลงทะเบียนรับ จะปรากฏดังรูป
รูปที่ 11
ระบบสืบค้นข้อมูลข่าวสาร
การสืบค้นข้อมูลและการใช้โปรแกรมเรียกค้นข้อมูล
อินเตอร์เน็ตเป็นสื่อในการแลกเปลี่ยนข้อมูลเชิงวิชาการในรูปแบบของนิวส์กรุ๊ป(news group) ซึ่ง
สมาชิกของกลุ่มสามารถเข้าไปอ่านและเขียนข้อความได้ ต่อมามีข่าวสารประเภทนี้เพิ่มมากขึ้น จึงมีการจัด
ประเภทและมีเครื่องมือช่วยค้นหาที่มีชื่อว่าโกเฟอร์(gophor) ต่อมาได้มีนวัตกรรมเกิดขึ้นในโลกอินเตอร์เน็ต
นั่นคือระบบเวิลด์ไวด์เว็บ(World Wide Web:WWW)
เทคโนโลยีใหม่ที่นามาใช้ในระบบ www ประกอบด้วย
1. ภาษา HTML (Hypertext Markup Language)ที่กาหนดรูปแบบการแสดงผลบนจอภาพ
2. ซอฟต์แวร์เว็บเซอร์เวอร์ (Web Sever Software) ที่จัดการเกี่ยวกับการรับและส่งแฟ้ มข้อมูลผ่าน
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
3. โปรแกรมเว็บเบราเซอร์ ที่ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ทาหน้าที่จัดรูปแบบข้อมูลตามที่
ระบุในคาสั่งภาษา HTML และนาไปแสดงบนผลจอ เว็บบราวเซอร์เช่น Safari 5, Internet Explorer 9 Beta,
Mozilla Firefox 4 Beta, Google Chrome, Opera 10.6+
4. ระบบไฮเปอร์ลิงค์(Hyperlink) ที่สามารถทาการเชื่อมโยงเอกสารต่าง ๆ ทั้งที่เป็นข้อความและ
ภาพ) ที่เก็บไว้ต่างที่กัน
5. ภาพกราฟริก เป็นข้อมูลรูปแบบใหม่ที่สามารถรับส่งผ่านเครือข่ายและโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
สามารถนาไปแสดงบนจอภาพได้
6. ภาพกราฟิกสามารถทาให้เป็นภาพเคลื่อนไหวได้
นวัตกรรมทางเทคโนโลยีดังกล่าวทาให้เกิดแหล่งข้อมูลที่เรียกว่า เว็บไซต์ (Web site)เกิดขึ้น
มากมายทั่วโลกและทั้งโลกกลายเป็นโลกไร้พรมแดนสาหรับข้อมูลข่าวสารที่อยู่ภายในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เว็บไซต์แต่ละแห่งมีที่ชื่อ-ที่อยู่เรียกว่า URL(Universal Resource Locator)ซึ่งจะบ่งชี้ถึงแหล่งที่อยู่ของ
เว็บไซต์นั้นอินเตอร์เน็ตเช่น http://www.google.com ผู้ใช้จะเข้าถึงเว็บไซต์ที่ต้องการได้โดยการพิมพ์ URL
ลงไปในช่อง address ของโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์
เว็บไซต์(web site) แต่ละแห่งจะมีเอกสารที่เรียกว่า เว็บเพจ(web page) เก็บข้อมูลเป็นจานวนมาก
เอกสารเหลานี้อาจจะมีองค์ประกอบเป็น ข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดีทัศน์และอาจมีการ
เชื่อมโยงด้วยระบบไฮเปอร์ลิงค์ไปยังเอกสารอื่น ๆ อีก
วิธีการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ด้วยการใช้ Search Engine เป็นการบริการค้นหาข้อมูลที่ต้องการ
โดยมีโปรแกรมพิเศษที่เรียกว่า โปรแกรมเรียกค้นข้อมูล Search Engine จะมีหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์
ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้ อน คาหรือ
ข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่กาหนด คลิกปุ่มค้นหา เท่านั้น ข้อมูลอย่างย่อ ๆ และรายชื่อเว็บไซต์
ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการและการจัดเก็บ
ฐานข้อมูลที่แตกต่างกันไปตามประเภทของ Search Engine ที่แต่ละเว็บไซต์นามาใช้เก็บรวบรวมข้อมูล
ดังนั้นการที่จะเข้าไปหาข้อโดยวิธีการ Search นั้น อย่างน้อยเราจะต้องทราบว่า เว็บไซต์ที่จะเข้าไปใช้บริการ
ใช้วิธีการหรือ ประเภทของ Search Engine อะไร เนื่องจากแต่ละประเภทมีความละเอียดในการจัดเก็บข้อมูล
ต่างกันไป
การนาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต มาประยุกต์ใช้ในการศึกษาหาความรู้ ได้แก่ การสืบค้นข้อมูลทาง
อินเทอร์เน็ต โดยการใช้งานอินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับการศึกษานี้จะสามารถแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ระดับดังนี้
1. การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
2. การนาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมาใช้งาน
3. การสร้างแหล่งข้อมูลด้วยตนเอง
การค้นคว้าด้วยการใช้ Search Engine
การใช้งานงานอินเทอร์เน็ตที่นิยมใช้กันอย่างมาก จะได้แก่การเข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อหา
ความรู้ แต่การเข้าเยี่ยมชมนั้น ในกรณีที่เรารู้ว่าเว็บไซต์เหล่านั้นมีชื่อว่าอะไร เนื้อหาของเว็บ มุ่งเน้นเกี่ยวกับ
สิ่งใด เราสาสามารถที่จะเข้าเยี่ยมชมได้ทันที่ แต่ในกรณีที่เราไม่ทราบชื่อเว็บเหล่านั้น แต่เรามีความต้องการ
ที่จะค้นหาเนื้อหาบางอย่าง มีวิธีการจะเข้าสืบค้นข้อมูลได้ โดยการใช้ความสามารถของ Search Engine
Search Engine จะมีหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งาน
เพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้ อน คาหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่กาหนด คลิก
ปุ่มค้นหา เท่านั้น ข้อมูลอย่างย่อๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้
ทันที
Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการและการจัดเก็บฐานข้อมูลที่แตกต่างกันไปตามประเภทของ
Search Engine ที่แต่ละเว็บไซต์นามาใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนั้นการที่จะเข้าไปหาข้อโดยวิธีการ Search
นั้น อย่างน้อยเราจะต้องทราบว่า เว็บไซต์ที่จะเข้าไปใช้บริการ ใช้วิธีการหรือ ประเภทของ Search Engine
อะไร เนื่องจากแต่ละประเภทมีความละเอียดในการจัดเก็บข้อมูลต่างกันไป
ประเภทของ Search Engine
1. Keyword Index
2. Subject Directories
3. Metasearch Engines
Keyword Index เป็นการค้นหาข้อมูล โดยการค้นจากข้อความในเว็บเพจที่ได้ผ่านการสารวจ
มาแล้ว จะอ่านข้อความ ข้อมูล ประมาณ 200-300 ตัวอักษรแรกของเว็บเพจ วิธีการค้นหาของ Search Engine
ประเภทนี้จะให้ความสาคัญกับการเรียงลาดับข้อมูลก่อนหลัง การค้นหาข้อมูล โดยวิธีการเช่นนี้จะมีความ
รวดเร็วมาก แต่มีความละเอียดในการจัดแยกหมวดหมู่ของข้อมูลค่อนข้างน้อย เนื่องจากไม่ได้คานึงถึง
รายละเอียดของเนื้อหาเท่าที่ควร แต่ถ้าต้องการแนวทางด้านกว้างของข้อมูล การค้นหาแบบนี้จะเหมาะสม
ที่สุด เว็บที่ให้บริการ Search Engine แบบ Keyword Index ได้แก่เว็บ
http://www.google.com/ http://www.altavista.com/
Subject Directories การจาแนกหมวดหมู่ข้อมูล Search Engine ประเภทนี้ จะจัดแบ่งโดยการ
วิเคราะห์เนื้อหา ของแต่ละเว็บเพจ ว่ามีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร โดยการจัดแบ่งแบบนี้จะใช้คนพิจารณาเว็บเพจ
แต่ละเว็บ แล้วทาการจัดหมวดหมู่ โดยจะขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของคนจัดหมวดหมู่แต่ละคนว่าจะจัดเก็บ
ข้อมูลนั้นๆ อยู่ในกลุ่มของอะไร ดังนั้นฐานข้อมูลของ Search Engine ประเภทนี้จะถูกจัดแบ่งตามเนื้อหา
ก่อน แล้วจึงนามาเป็นฐานข้อมูลในการค้นหาต่อไป
http://www.thaiwebhunter.com/ http://www.sanook.com
Metasearch Engines จะเป็ น Search Engine ที่ใช้ในการค้นหาเว็บ ด้วยตัวของ Search Engine
แบบ Metasearch Engines เองแล้ว แต่ที่เด่นกว่านั้นคือ Search Engine แบบ Metasearch Engines จะยัง
สามารถเชื่อมโยงไปยัง Search Engine ประเภทอื่นๆ เพื่อเรียกดูข้อมูลที่ Search Engine อื่นๆ ค้นพบ โดย
สังเกตได้จากจะมีคาว่า [Found on Google, Yahoo!] ต่อทางด้านท้าย นั้นก็หมายความว่าการค้นหาข้อความ
นั้นๆ มาการเชื่อมโดยไปค้นข้อมูลจาก เว็บ Google และ Yahooแต่การค้นหาด้วยวิธีนี้มีจุดด้อย คือ วิธีการนี้
จะไม่ให้ความสาคัญกับขนาดเล็กใหญ่ของตัวอักษรและมักจะไม่ค้นหาคาประเภท Natural Language (ภาษา
พูด) และที่สาคัญ Search Engine แบบ Metasearch Engines ส่วนมากไม่รองรับภาษาไทย
http://www.dogpile.com http://www.kartoo.com/
1. การสืบค้นแบบใช้คีย์เวิร์ด ใช้ในกรณีที่ต้องการค้นข้อมูลโดยใช้คาที่มีความหมายตรงกับความ
ต้องการ โดยมากจะนิยมใช้คาที่มีความหมายใกล้เคียงกับเนื้อเรื่องที่จะสืบค้นข้อมูล มีวิธีการค้นหาได้ดังนี้
1.1 เปิดเว็บเพจ ที่ให้บริการในการสืบค้นข้อมูล โดยพิมพ์เว็บที่ช่อง Address
ตัวอย่างเช่น
http://www.google.co.th เป็ นเว็บที่ใช้สืบค้นข้อมูลของต่างประเทศ ข้อดีคือ ค้นหาง่ายเร็ว
http://www.yahoo.com เป็นเว็บที่ใช้สืบค้นที่ดีตัวหนึ่งซึ่งค้นหาข้อมูลง่าย และข้อเด่นคือภายในเว็บ
ของ http://www.yahoo.com เองจะมีฟรีเว็บไซต์ ที่รู้จักกันในนาม http://www.geocities.com ซึ่งมี
จานวนเว็บมากมาย ให้ค้นหาข้อมูลเองโดยเฉพาะ http://www.sanook.com เป็นเว็บของคนไทย
http://www.siamguru.com เป็นเว็บของคนไทย
โดยพิมพ์ช่องเว็บที่ช่อง Address ดังตัวอย่างซึ่งใช้ http:// www.sanook.com
1.2 ที่ช่อง ค้นหา พิมพ์ข้อความต้องการจะค้นหา ในตัวอย่างจะพิมพ์คาว่า วิทยาศาสตร์
1.3 คลิกปุ่ม ค้นหา
1.4 จากนั้นจะปรากฏรายชื่อของเว็บที่มี
1.5 คลิกเว็บที่จะเรียกดูข้อมูล
2. หลักการใช้คาในการค้นหาข้อมูล
การสืบค้นแบบใช้คีย์เวิร์ด เช่น ถ้าต้องการจะสืบค้นเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ การค้นหาจึงต้องการเนื้อหาที่เจาะลึก การสร้างคาคีย์เวิร์ด ต้องใช้คาที่เจาะลึกลงไปเพื่อให้ได้
ข้อมูลที่เฉพาะคามากยิ่งขึ้น
2.1 การใช้คาที่คิดว่าจะมีในเว็บที่ต้องการจะค้นหา เช่น ต้องการจะหาข้อมูลเกี่ยวกับ บุคคล
ที่ชื่อว่า นาย อุบล ถ้าเราพิมพ์ข้อมูลที่ช่อง Search ว่า อุบล แล้วทาการค้นข้อมูล Search Engine จะทาการ
ค้นหาคา โดยจะค้นหารวมทั้งคาว่า จังหวัดอุบล อุบลราชธานี คนอุบล วิทยาลัยเกษตรอุบล เทคโนโลยีอุบล
ซึ่งเราจะเจอะ ข้อมูลจานวนมาก ดังนั้นการใช้คาในการค้นหาข้อมูลจึงต้องใช้คาเฉพาะเพื่อให้ได้ข้อมูล ที่
น้อยลง เช่น อาจจะพิมพ์คาว่า นาย อุบล พิมลวรรณ ซึ่งข้อมูลจะมีจานวนที่น้อยลง
2.2 ใช้เครื่องหมาย คาพูด (“ _ ”) เพื่อกาหนดให้เป็นกลุ่มคา เช่น จะค้นหาคา ชื่อหนังสื่อที่
ชื่อว่า โปรแกรม PhotoShop สังเกตว่าคาที่จะค้นหา จะเป็นคาที่ต้องเว้นวรรค แต่เมื่อมีการสืบค้นด้วย
Search Engine ระบบจะค้นหาคาแบ่งเป็นสองคา คือคาว่า โปรแกรม และคาว่า PhotoShop จึงทาให้ข้อมูลที่
ได้ผิดพลาด ดังนั้นการสร้างคา จึงต้องกาหนดคาด้วยเครื่องหมายคาพูด จึงใช้คาว่า “โปรแกรม PhotoShop”
ในการค้นหาแทน
2.3ใช้เครื่องหมาย ลบ (-) ไว้หน้าคาที่ไม่ต้องการจะให้ปรากฏอยู่ในรายการแสดงผลของ
การค้นหา เช่น ต้องการหาชื่อโรงเรียน แต่ทราบแล้วว่าโรงเรียนที่จะค้นหาไม่ใช้โรงเรียนอนุบาล จึงต้อง
ยกเลิกคาว่าอนุบาล โดยพิมพ์คาว่า โรงเรียน -อนุบาล ผลที่ได้จะทาให้มีเฉพาะคาว่า โรงเรียน ทั้งหมดแต่จะ
ค้นหาคาว่า อนุบาล (*การพิมพ์เครื่องหมาย ลบกับคาที่จะยกเลิกต้องติดกัน มิฉะนั้นระบบจะเข้าใจว่าจะ
ค้นหาคา 3 คา คือ คาว่า โรงเรียน คาว่า + และคาว่า อนุบาล*)
การสืบค้นข้อมูลภาพ
ในกรณีที่นักเรียนต้องการที่จะค้นหาข้อมูลที่เป็นภาพ เพื่อนามาประกอบกับรายงาน มีวิธีการค้นหา
ไฟล์ภาพได้ดังนี้
1. เปิดเว็บ http://www.google.co.th
2. คลิกตัวเลือก รูปภาพ
3. พิมพ์กลุ่มชื่อภาพที่ต้องการจะค้นหา (ตัวอย่างทดลองหาภาพเกี่ยวกับ ปราสาทหินพิมาย)
4. คลิกปุ่ม ค้นหา
5. ภาพที่ค้นหาพบ
6. การนาภาพมาใช้งาน ให้คลิกเมาส์ด้านขวาที่ภาพ > Save Picture asหรือ save image as
7. กาหนดตาแหน่งที่จะบันทึกที่ช่อง Save in
8. กาหนดชื่อที่ช่อง File Name
9. คลิกปุ่ม Save
การบันทึก
หลังจากที่มีการสืบค้นข้อมูล ในกรณีที่ถูกใจเนื้อหาของเว็บที่สืบค้น และต้องการจะเก็บบันทึก
ข้อมูลที่ค้นพบเก็บไว้มีวิธีการบันทึกข้อมูลได้หลายวิธี ได้แก่ การบันทึกชื่อเว็บ (Favorites) การบันทึกภาพ
(Save as Picture) การบันทึกเนื้อหาที่เป็นตัวอักษร (Copy) การบันทึกเว็บเก็บไว้(Save as) การบันทึกชื่อเว็บ
(Favorites)
การบันทึกชื่อเว็บ (Favorites) ใช้ในกรณีที่เปิดเว็บเพ็จที่น่าสนใจมาศึกษา ในกรณีที่จะกลับมาศึกษา
ใหม่ในวันต่อไป เราต้องบันทึกชื่อเว็บเก็บไว้ที่ Favorites เพื่อเรียกใช้งานในครั้งต่อไป มีวิธีการกาหนดได้
ดังนี้
1. คลิกเมนู Favorites > Add Favorites
2. กาหนดชื่อที่ช่อง Name
3. คลิกปุ่ม OK
การเปิดเว็บโดยใช้ Favorites
หลังจากที่สร้าง Favorites มาแล้ว ในกรณีที่เรียกใช้งาน โดยการเปิดเว็บผ่านทาง Favorites มีวิธีการ
สร้างได้ดังนี้
1. คลิกเมนู Favorites > คลิกที่เว็บที่บันทึกเป็น Favorites เก็บไว้
การบันทึกเนื้อหาที่เป็นตัวอักษร (Copy)
ในกรณีที่ต้องการจะบันทึกเนื้อในส่วนที่เป็นตัวอักษรเก็บไว้เพื่อนาไปประกอบกับรายงาน โดยมีวี
การกาหนดได้ดังนี้
1. เปิดเว็บที่ต้องการจะบันทึกเนื้อหา
2. ป้ ายดาเลือกข้อความที่จะบันทึกเก็บไว้
3. คลิกเมาส์ด้านขวาที่ตัวอักษร คลิกคาสั่ง Copy
4. จากนั้นเปิดโปรแกรมบันทึกตัวอักษร โดยคลิกปุ่ม Start > Program > Accessories > Notepad
5. นาตัวอักษรที่คัดลอกเก็บไว้มาวาง โดยคลิกเมนู Edit > Paste
6. จากนั้นบันทึกไฟล์เก็บไว้โดยคลิกเมนู File > Save
7. กาหนดตาแหน่งในการบันทึกภาพที่ช่อง Save in
8. กาหนดชื่อที่ช่อง File Name
9. คลิกปุ่ม Save
ประโยชน์
การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตนั้น มีประโยชน์อยู่หลายด้านด้วยกัน เช่น
1. ประหยัดเวลา :: อย่างที่รู้กันอยู่แล้วว่า มีทุกอย่างอยู่ในอินเทอร์เน็ต ขึ้นอยู่กับว่าเราจะมีวิธีการค้นหา
และนามาใช้ได้อย่างไร โดยไม่ต้องเสียเวลาไปเสาะหาข้อมูลจากแหล่งความรู้จริง เช่นห้องสมุดหนังสือ
วารสาร หรือจากบุคคลผู้รู้อื่น ๆ
2. ได้ข้อมูลครบถ้วน :: เนื่องจากการสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตนั้น เราสามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่าง
หลากวิธีแบบ เช่น ข้อมูลข้อความ ข้อมูลรูปภาพ ข้อมูลมัลติมีเดีย หรืออื่น ๆในเนื้อหาหนึ่ง ๆ ก็สามารถนา
ข้อมูลที่หลากหลายรูปแบบมาอ้างอิงได้อย่างหลากหลาย
3. มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน :: ชุมชนในการเรียนรู้บนอินเทอร์เน็ตนั้น เป็นชุมชนที่มีการ
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกัน ในลักษณะให้ฟรี หรือมีค่าใช้จ่ายบ้าง ถ้าหากเรามีการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ระหว่างกัน ย่อมทาให้การค้นหาข้อมูลที่สาคัญมีความหลากหลายมากขึ้น แหล่งที่สามารถสืบค้นข้อมูลได้
ได้แก่ เว็บไซต์ที่ให้บริการข้อมูลต่าง ๆ หรือ เว็บไซต์ที่มีเว็บบอร์ดเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน
เป็นต้น
ประโยชน์ที่ได้รับจาก Search Engine
1. ค้นหาเว็บที่ต้องการได้สะดวก รวดเร็ว
2. สามารถค้นหาแบบเจาะลึกได้ไม่ว่าจะเป็น รูปภาพ, ข่าว, MP3 และอื่นๆ อีกมากมาย
3. สามารถค้นหาจากเว็บไซต์เฉพาะทาง ที่มีการจัดทาไว้เช่น download.com เว็บไซต์เกี่ยวกับข้อมูล
และซอร์ฟแวร์ เป็นต้น
4. มีความหลากหลายในการค้นหาข้อมูล
5. รองรับการค้นหา ภาษาไทยในโลกยุคอินเทอร์เน็ทในปัจจุบันนี้มีข้อมูลมากมายมหาศาล การที่จะ
ค้นหาข้อมูลจานวนมากมาย อย่างนี้เราไม่อาจจะคลิก เพื่อค้นหาข้อมูลพบได้ง่ายๆ จาเป็นจะต้องอาศัยการ
ค้นหาข้อมูลด้วยเครื่องมือ ค้นหา ที่เรียกว่า Search Engine เข้ามาช่วยเพื่อความสะดวกและรวดเร็ว เว็บไซต์ที่
ให้บริการค้นหาข้อมูลมีมากมายหลายที่ทั้งของคนไทยและต่างประเทศ ความหมาย/ประเภท ของ Search
Engine การค้นหาข้อมูลบน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีอยู่เป็นจานวนมาก ถ้าเราเปิดไปทีละหน้าจออาจจะต้องเสีย เวลาในการ
ค้นหา และอาจหาข้อมูลที่เราต้องการไม่พบการที่เราจะค้นหาข้อมูลให้พบอย่างรวดเร็วจะต้องใช้เว็บไซต์
สาหรับการค้นหาข้อมูลที่เรียกว่า Search Engine Site ซึ่งจะทาหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้โดย
จัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้ งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้ อน คาหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ
ลงไปในช่องที่ กาหนด Search Engine แต่ละ แห่งมีวิธีการและการจัดเก็บฐานข้อมูลที่แตกต่างกันไปตาม
ประเภท ของ Search Engineที่แต่ละเว็บไซต์นามาใช้เก็บรวบรวม ข้อมูลดังนั้น การที่จะเข้าไปหาข้อมูลหรือ
เว็บไซต์ โดยวิธีการ Search นั้น อย่างน้อยจะต้องทราบว่า เว็บไซต์ที่เข้าไปใช้บริการ ใช้ วิธีการหรือ ประเภท
ของ Search Engineอะไร เนื่องจากแต่ละประเภทมีความละเอียดในการจัดเก็บข้อมูลต่างกันไป การเลือกใช้
เครื่องมือในการค้นหาจะต้องเข้าใจว่า ข้อมูลที่ต้องการค้นหานั้นมีลักษณะอย่างไรมีขอบข่ายกว้างขวาง หรือ
แคบขนาดไหน แล้ว จึงเลือกใช้เว็บไซต์ค้นหาที่ให้บริการตรงกับความต้องการของเรา
ประโยชน์ของ Search Engine (เพิ่มเติม) เครื่องมือที่ช่วยในการค้นหา (Search Engine) มีประโยชน์
อย่างมากต่อผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตทั่วไป เนื่องจากข้อมูลข่าวสารบนโลกอินเตอร์เน็ตมีมากมายมหาศาล และ
เมื่อผู้ใช้ต้องการข้อมูลสารสนเทศใดๆ จึงจาเป็นต้องมีเครื่องมือที่ช่วยในการค้นหา เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูล
สารสนเทศที่ผู้ใช้งานต้องการ หรือสรุปได้ดังนี้
- ค้นหาเว็บที่ต้องการได้สะดวก รวดเร็ว
- สามารถค้นหาแบบเจาะลึกได้ไม่ว่าจะเป็น รูปภาพ, ข่าว, MP3 และอื่นๆ อีกมากมาย
- สามารถค้นหาจากเว็บไซต์เฉพาะทาง ที่มีการจัดทาไว้เช่น download.com เว็บไซต์เกี่ยวกับ
ข้อมูลและซอร์ฟแวร์ เป็นต้น
- มีความหลากหลายในการค้นหาข้อมูล
- รองรับการค้นหา ภาษาไทย
นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาในรูปแบบของ Search Bar ที่ทาให้ผู้ใช้งานไม่จาเป็นต้องเข้าผ่านเว็บไซต์
Search Engine เหล่านั้นโดยตรงแล้ว ตัวอย่าง Search Bar ที่ขอแนะนา เช่น Google Search Bar, Yahoo
Search Bar เป็นต้น
ระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์
ใช้งานระบบ CN Course Networking
ผู้ใช้สามารถเข้าใช้ CN Post ผ่านระบบ CMU Online เมื่อเห็นโลโก้CN Post (กรอบสีแดง)
ในกระบวนวิชาผู้ใช้ สามารถคลิ๊กเข้าสู่ระบบผ่านกระบวนวิชานั้น ได้โดยระบบ CN Postจะใช้E-
Mail ที่ผู้ใช้Loginในระบบ CMU Online เป็น Username ให้อัตโนมัติ
Course Networking Login
เมื่อผู้ใช้เข้าใช้งาน Course Networking ผ่าน CMU online ระบบจะสร้าง Username ให้โดย
อัตโนมัติโดยจะใช้ Username เดียวกันกับ ที่ใช้ในการ Login CMU online ในส่วนของPassword
ระบบจะทาการสร้างขึ้นให้มาใหม่เมื่อผู้ใช้ ต้องการ Login ผ่านหน้าเว็บไซต์ของระบบ หรือผ่านแอ
พลิเคชั่น ของระบบ ผู้ใช้ควรเข้าไปเปลี่ยน Password ให้เป็นของ ตัวเองก่อนดังนี้
รูปที่ 1 หน้าจอแรกเมื่อเข้าสู่คอร์สในระบบ CMU Online
1. เข้าใช้งาน Course Networking ผ่าน CMU online ดังรูปที่2
รูปที่ 2 ลิงค์ที่เข้า CN-POST ผ่าน CMU Online
2. เมื่อเข้าใช้งานครั้งแรกให้เลือก“NO CREATE A NEW CN ACCOUNT” ดังภาพ เพื่อสร้าง
Account ที่จะใช้ใน Course Networking ดังรูป
รูปที่ 3 ปุ่มสร้าง Account
3. ให้เลือก “I have read and agree with the CN Terms of Service and Privacy Policy” เพื่อเป็นการ
ยอมรับการใช้งาน แล้วเลือก “CREATE CN ACCOUNT” เพื่อเป็นการตกลงดังรูป
รูปที่ 4 ปุ่มยอมรับการใช้งาน
4. เลือก “GOT IT,TAKE ME TO CN POST” เพื่อเข้าสู่หน้า CN POST ดังรูป
รูปที่ 5 ปุ่มเข้าสู่หน้า CN POST
5.เมื่อกดเข้ามาจะพบ อยู่ด้านบนมุมซ้ายให้คลิ๊กเลือกSet Up/Change Passwordดังรูป
รูปที่ 6 ปุ่มเปลี่ยน Password
6. จากนั้น ให้คลิ๊กที่“If you don't know or forgot your current CN password, please click
here.” เพื่อให้ระบบส่งแบบฟอร์มยันยืนการเปลี่ยน Password เข้าสู่อีเมลดังรูป
รูปที่ 7 รูปลิงค์การลืม Password
7. เมื่อเข้าสู่อีเมลจะมีจดหมายส่งมาจาก Course Networkingเพื่อทาการยืนยันการเปลี่ยน Password ให้
คลิ๊กที่ลิงค์ตามกรอบสีแดงได้เลยดังรูป
รูปที่ 8 รูปลิงค์เพื่อยืนยันการลืม Password
8. ให้ผู้ใช้กรอกPassword ใหม่ที่ต้องการในช่อง“Enter a new password” และยืนยัน ที่ช่อง “Retype
new password” อีกครั้งเมื่อกรอกเสร็จแล้วให้กดปุ่ม “SUBMIT NEW PASSWORD” ดังรูป
รูปที่ 9รูปหน้าการตั้งรหัสผ่านใหม่
9.ผู้ใช้สามารถเข้าใช้งานผ่า น Webและ Mobile application ของ Course Networkingได้โดยใช้
Username @cmu ของทางมหาลัย และ Password ที่ตั้งขึ้นมาใหม่ดังรูป
รูปที่ 10 รูปหน้า Login เข้าใช้งาน
Homepage
เมื่อคลิ๊กเข้ามาจากกระบวนวิชาที่เปิดใน CMU Online แล้วจะปรากฏหน้า Homepage ของ
กระบวนวิชาจะประกอบด้วย4ส่วนใหญ่ๆดังนี้
- ส่วนกรอบสีน้า เงินคือส่วนด้านบนสุดจะประกอบด้วยส่วนเมนูควบคุมต่างๆ ดังนี้Hamburger
button , CN postLogo , Post , Poll , Event , Condition , Search , My class , Profile , Anar , Notification
- ส่วนกรอบสีแดงคือส่วนที่อยู่ตรงกลางเป็นส่วนที่จะแสดง Timeline โพสต่างๆภายในคอร์ส
ประกอบด้วย หัวข้อของโพส ,การตอบกลับ(Reflection) , การให้คะแนน(Rating) , การให้รางวัล(Award) ,
วัน-เวลาโพส , ส่วนของการแกไข้โพส
- ส่วนกรอบสีเหลืองคือส่วนที่อยู่ด้านขวามือเป็นส่วนที่จะใช้จัดการในการสร้าง Tag ต่างๆขั้นมา
เพื่อใช้ภายในคอร์สประกอบด้วย Instructor Suggested , Member Created
รูปที่ 11 หน้าจอแรกเมื่อเข้าสู่ CN POST
ส่วน Header
ประกอบด้วยส่วนเมนูควบคุมต่างๆ ดังนี้Hamburger button , CN post Logo , Post , Poll , Event ,
Condition ,Search , My class , Profile , Anar , NotificationHamburger button
รูปที่ 12 แสดงส่วนของ Heade
Hamburger button
- Profile ในส่วนนี้จะแสดงชื่อผู้ใช้รูปโปรไฟล์ส่วนตัวสามารถแก้ไข
โปรไฟล์ได้โดยคลิ๊กที่สัญญาลักษณ์รูปดินสอ
- Go to my CN ePORTFOLIO แสดงหน้าโปรไฟล์ของผู้ใช้ทั้งหมด
- Open in New Tab เมื่อคลิ๊กจะทาการเปิดหน้าคอร์สขั้นมาอีก 1 Tab
- Go to Full CN เมื่อคลิ๊กเมนูนี้จะเข้าสู่หน้า CN คอร์สแบบเต็มรูปแบบ
- Anar Seeds Settings ผู้ใช้สามารถตั้งค่าเกณฑ์การให้คะแนน Anar ได้
- Settings ผู้ใช้สามารถตั้งหมวดหมู่ให้กับคอร์สและเปลี่ยนเทมเพลต
ของคอร์สให้อยู่ในแบบเต็มรูปแบบได้
- Badges เป็นส่วนจัดการระบบ Badges ภายในคอร์ส
- Groups เป็นส่วนจัดการกลุ่มที่ตั้งภายในคอร์ส
- Roster เป็นส่วนจัดการระบบ Roster ภายในคอร์ส
- Rememberlt List ส่วนแสดง Rememberlt ที่กดติดตามไว้
- Change Password ส่วนแก้ไขPassword
- Email notification ส่วนตั้งค่าการแจ้งเตือนอีเมล์
- CN Quick Start Tutorial/Help ส่วนนี้จะเป็นส่วนช่วยเหลือสา หรับ
ผู้ใช้งานระบบทั้งัมีอีเมล์สาหรับติดต่อทีมงานและมีแสดงคู่มือการใช้
งานระบบ Course Networking
รูปที่ 13 เมนูด้านของของ CN POST
CN Post Logo
เมื่อคลิ๊กที่ จะทาการรีเฟรชหน้า Post
รูปที่ 14 การ Post บนระบบ
ในส่วนของ Post สามารถกดเพิ่มหัวข้อได้ที่ Add title เพื่อเพิ่มหัวข้อของโพสภายในโพสมีฟังก์ชั่น
ให้ต่างๆให้แนบกับโพสดังนี้
- File สามารถแนบไฟล์ต่างๆเข้าไปในโพสได้
- Image สามารถแนบไฟล์รูปกับโพสได้
- Youtube สามารถแนบ URL Youtube กับโพสได้
- Link สามารถแนบ Link ต่างๆกับโพสได้
- Scorm สามารถแนบไฟล์ zip กับโพสได้โดยกาหนดให้ไม่เกิน 200 MB
- Visible to ในส่วนนี้สามารถเลือกหัวข้อที่ต้องการให้Post แสดงได้
Poll
รูปที่ 15 การสร้าง Poll
- Question
ในส่วนของ poll สามารถกดเพิ่มหัวข้อได้ที่ Add title เพื่อเพิ่มหัวข้อของPoll ภายใน Poll มี
ฟังก์ชั่น ให้ต่างๆให้แนบ กับ Poll ดังนี้
- File สามารถแนบไฟล์ต่างๆเข้าไปในโพสได้
- Image สามารถแนบไฟล์รูปกับโพสได้
- Youtube สามารถแนบ URL Youtube กับโพสได้
- สามารถแนบ Link ต่างๆ กับโพสได้
- Question type สามารถเลือกรูปแบบของ Question ได้หลากหลายเช่น multiple choice, true-
false เป็นต้น
- Question Response สามารถเลือกหัวข้อสาหรับตอบกลับเมื่อมีการตอบถูก
- Visible to ในส่วนนี้สามารถเลือกหัวข้อที่ต้องการให้โพสแสดงได้
- Add a new question สามารถเพิ่มคา ถามภายใน Poll ได้
Event
- Title ในส่วนนี้สามารถเพิ่มชื่อหัวข้อของ Event
- Where ในส่วนนี้สามารถเพิ่มสถานที่จัด Event ได้
- Description ในส่วนนี้สามารถพิมพ์ข้อมูลของ Event กาหนดตัวอักษรไม่เกิน1500 ตัว มีฟังก์ชั่น
ให้ต่างๆให้แนบด้งนี้
- File สามารถแนบไฟล์ต่างๆเข้าไปในโพสได้
- Image สามารถแนบไฟล์รูปกับโพสได้
- Youtube สามารถแนบ URL Youtube กับโพสได้
- สามารถแนบ Link ต่างๆกบัโพสได้
- Date วันที่จัด Event
- Time เวลาที่จัด Event
- Visible to ในส่วนนี้สามารถเลือกหัวข้อที่ต้องการให้Event แสดงได้
รูปที่ 16 การสร้าง Event
Condition , Search , My class , Profile
Condition
ในส่วนของ Condition จะเป็นการจัดการข้อมูลที่จะให้แสดงบน Timeline ของคอร์ส เช่น แสดง
เฉพาะPost , แสดงเฉพาะPoll , แสดงเฉพาะEvent หรือแสดงทั้งตามที่มีผู้ใช้ระบบได้สร้างไว้ผู้ใช้สามารถ
Sort by ตามหัวข้อ ต่างๆที่มีให้ เลือกได้
Search
ในส่วนของSearch จะเป็นการค้นหา Post ต่างๆที่มีในคอร์ส
My class
ในส่วนของ My class จะเป็นการกรองข้อมูลแบบ Filter เพื่อที่จะให้แสดงบน Timeline โดยมี
หัวข้อ ต่างๆให้เลือกมากมายเช่น เลือกจาก Group , Class ,The world เป็นต้น
Profile
ในส่วนของProfile เมื่อคลิ๊กแล้วจะพาผู้ใช้ไปสู่หน้าโปรไฟล์ของตัวเอง
รูปที่ 17 การเลือกเงื่อนไขการแสดงข้อมูล
ระบบประชุมอิเล็กทรอนิกส์
เป็นระบบที่นาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารมาอานวยความสะดวกในการดาเนินการ
ประชุม เริ่มตั้งแต่การจัดเตรียม ระเบียบวาระการประชุม การนาเรื่องที่เสนอ เข้าสู่วาระต่างๆ ตามระเบียบ
ปฏิบัติของ หน่วยงานในการประชุมแต่ละครั้ง และการ เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชุมดูวาระการ ประชุมที่
อยู่ในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ล่วงหน้าก่อนการประชุม และในระหว่างดาเนินการประชุมผ่านทาง
หน้าจอคอมพิวเตอร์ของตนเองได้
ระบบจัดการการประชุม ETDA e-meeting
หัวใจสาคัญของการดาเนินงานประชุม คือ การบริหารจัดการประชุมตั้งแต่ก่อนเริ่มประชุม ระหว่าง
ประชุม จนถึงการบันทึกสาระสาคัญของการประชุมได้ถูกต้องครบถ้วน ตรงประเด็น และสามารถแจ้ง
รายละเอียดข้อมูลที่สาคัญของการประชุมไปยังคณะกรรมการบริหาร ผู้บริหารระดับสูง หรือผู้เกี่ยวข้องได้
ภายหลังจากสิ้นสุดการประชุม เพื่อให้มีการดาเนินงานตามมติที่ได้รับมอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดังนั้น ทีมจัดการประชุมจะต้องมีการวางแผนและตระเตรียมการจัดการประชุมด้วยความมุ่งมั่น ใส่ใจ
ในทุกรายละเอียด เพราะจะทาให้สามารถดาเนินการประชุมได้อย่างถูกต้อง ทันเวลาที่กาหนด ซึ่งจาก
ภาระหน้าที่ดังกล่าวทีมจัดการประชุมต้องดาเนินการตามแผนงานที่กาหนด คือ การจัดเตรียมวาระการ
ประชุม เอกสารประกอบการประชุม และดาเนินการจัดประชุม และการจัดทารายงานการประชุม ซึ่งจาก
กระบวนการที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นแต่เดิมนั้นจาเป็นต้องใช้กระดาษจานวนไม่น้อยกว่า ๑ ลีมหรือ ๕๐๐
แผ่น จนถึง ๕ ลีมหรือ ๒,๕๐๐ แผ่น
ในการผลิตเอกสารแต่ละครั้งตั้งแต่การยกร่างเอกสารจนมีการตรวจเอกสารสิ้นสุดสมบูรณ์เพื่อนาเข้าสู่
ห้องประชุมในวันประชุมจริง ซึ่งถือว่ามีความสิ้นเปลืองทรัพยากรและต้นทุนในการจัดการประชุมที่มาก
จนเกินไปในการประชุมแต่ละครั้ง ดังนั้น จากสภาพปัญหาดังกล่าว สพธอ. จึงได้ตระหนักความสาคัญใน
การนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดเตรียมเอกสารประกอบการประชุม เพื่อให้เกิดความ
รวดเร็ว ลดต้นทุนและประหยัดทรัพยากร จึงได้เกิดเป็นระบบจัดการการประชุม ETDA e-meeting ขึ้นมา
ระบบ ETDA e-meeting เป็ นระบบจัดการการประชุมภายในของสานักพัฒนาธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถพิจารณาเอกสารประกอบการประชุมผ่านเครือข่าย
อินเตอร์เน็ต ด้วยมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัย โดยผู้ที่มีสิทธิ์ใช้งานระบบจะมี Username และ
Password เพื่อเข้าสู่ระบบการประชุมทางออนไลน์ที่ตนเองมีสิทธิ์เข้าถึงในแต่ละการประชุมที่ผู้ดูแลระบบ
เป็นผู้จัดการสิทธิ์การเข้าถึงไว้ โดยผู้ใช้งานระบบจะสามารถเรียกดูข้อมูลประกอบการประชุมที่อัพเดทได้
ตลอดเวลาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงหรือเอกสารมีการอัพเดททีมจัดการประชุมก็จะไม่ต้องมีการจัดพมพ์
เอกสารกระดาษใหม่ในทุกๆ ครั้ง เพียงกดปุ่ม Refresh ที่ Browser ก็จะสามารถพิจารณาเอกสารที่อัพเดท
ล่าสุดได้แล้ว อีกทั้งหากต้องการสั่งพิมพ์เอกสารกระดาษออกจากระบบก็สามารถดาเนินการได้อย่างง่ายดาย
โดยกดปุ่มพิมพ์ออก (Print) เท่านั้น
ดังนั้น จะเห็นได้ว่าเมื่อมีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อพัฒนาเป็นระบบจัดการการประชุม
ETDA e-meeting ก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการประชุมอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็ น
ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว และสามารถเรียกดูวาระการประชุมย้อนหลังได้เสมอๆ อีก
ทั้งยังทาให้เกิดการประหยัดระยะเวลา อัตรากาลัง ทรัพยากรกระดาษ หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน ซึ่ง
สานักงานจะต้องจ่ายงบประมาณจานวนไม่น้อยในการประชุมแต่ละครั้ง ทั้งนี้ ในปัจจุบัน สพธอ. ก็ได้นา
ระบบการประชุม ETDA e-Meeting มาใช้กับทุกการประชุมภายใน สพธอ. แล้ว และไม่เพียงเท่านี้ยังมี
หน่วยงานอื่นๆ ที่มีความสนใจในการนาระบบ ETDA e-Meeting ได้ประสานความร่วมมือกับ สพธอ. ใน
การนาระบบไปใช้งาน เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการประชุมด้วยเช่นกัน ดังนั้น เมื่อทราบถึงประโยชน์
มากมายที่จะได้รับจากระบบ ETDA e-Meeting แล้ว ก็อยากจะชวนผู้อ่านมาดูกันว่าระบบมีหน้าตาและการ
ทางานอย่างไร โดยสรุปการใช้งานง่ายๆ ดังนี้
การใช้งานระบบจัดการการประชุม
การเข้าใช้งานระบบ สามารถเข้าได้จาก 2 ช่องทาง คือ
1. จาก web browser พิมพ์https://meeting.etda.or.th/meeting/
2. จาก Icon ETDA Meeting ใน iPad
เมื่อเข้าโปรแกรมมาจะพบหน้า Sign In
1. ใส่ User Name
2. ใส่ Password
3. กด Sign In เพื่อเข้าสู่ระบบ
4. ในการเข้าระบบครั้งแรก เพื่อความปลอดภัย ระบบจะบังคับให้เปลี่ยนรหัสผ่านก่อน 1 ครั้ง
หน้าจอเปลี่ยนรหัสผ่าน จะปรากฎขึ้นมาเมื่อเข้าระบบครั้งแรก
1. ใส่รหัสผ่านเก่า
2. ใส่รหัสผ่านใหม่ (รหัสผ่านใหม่ต้องมีความยาวอย่างน้อย 8 ตัวอักษร)
3. ใส่รหัสผ่านใหม่อีกครั้ง
4. กด Submit เพื่อยืนยันการเปลี่ยนรหัสผ่าน
Main Screen
5. ปุ่ม Sign Out
6. ปุ่ม Back สาหรับกลับไปยังหน้าที่ผ่านมา
7. ปุ่ม Home เพื่อกลับไปยังหน้าแรก
8. ปุ่ม Law ดูรายละเอียด กฎหมายทั่วไป, ระเบียบ ข้อบังคับ สพธอ. , กฎระเบียบของหน่วยงานอื่นๆ
ซึ่งเป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการประชุม
9. บริเวณที่แสดงการประชุมทั้งหมด ที่ท่านเข้าร่วม ท่านสามารถคลิกที่การประชุม เพื่อเข้าดู
รายละเอียด
10. แสดงรายชื่อการประชุม
11. แสดงรายการวาระการประชุมย่อยๆ ในการประชุมครั้งหนึ่ง
12. ท่านสามารถคลิกที่ Icon เพื่อเข้าดูเอกสารประกอบการประชุม
ดังนั้นจะเห็นว่ารูปแบบและวิธีการเรียกใช้ข้อมูล ETDA e-Meeting ช่างมีความสะดวกง่ายดาย และ
สามารถเข้าใจได้ง่ายไม่มีความซับซ้อน และที่สาคัญหากสังเกตกันอีกซักนิดการเรียกดูระบบการประชุมผ่าน
Web Browser ก็ยังมีความมั่นคงปลอดภัยผ่าน https (Hypertext Transfer Protocol over Secure Socket Layer
) และสมทบด้วยการเข้าถึงข้อมูลด้วย Username และ Password เฉพาะบุคคลทาให้มั่นใจได้ว่าข้อมูล
ประกอบการประชุมจะมีความมั่นคงปลอดภัยด้วยเช่นกัน

More Related Content

What's hot

ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comlovelovejung
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศnprave
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศครู อินดี้
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศManas Panjai
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2Nuttapoom Tossanut
 
Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Somkiet Phetmark
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลOrapan Chamnan
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 

What's hot (18)

ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
Chapter003
Chapter003Chapter003
Chapter003
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Mi sch3
Mi sch3Mi sch3
Mi sch3
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
 
Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003
 
56456456
5645645656456456
56456456
 
การจัดการข้อมูลสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลสารสนเทศการจัดการข้อมูลสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลสารสนเทศ
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
Electronics Content Guideline
Electronics Content GuidelineElectronics Content Guideline
Electronics Content Guideline
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15sangkom
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจTrakarnta Samatchai
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจTiger Tanatat
 
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษางาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษาTawatchai Sangpukdee
 
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์filjerpark
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา04
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา04สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา04
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา04Prachyanun Nilsook
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comlovelovejung
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comLuckfon Fonew
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
ระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพ
ระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพ
ระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพnawapat arjsri
 
ระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพ
ระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพ
ระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพnawapat arjsri
 
ฉบับจริง เอกเทศ
ฉบับจริง เอกเทศฉบับจริง เอกเทศ
ฉบับจริง เอกเทศnawapat arjsri
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ053681478
 
งานวิจัยระบบงานธุรการ
งานวิจัยระบบงานธุรการงานวิจัยระบบงานธุรการ
งานวิจัยระบบงานธุรการPin Ponpimol
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]orathai
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5hattayagif
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณlovelovejung
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้ (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษางาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา04
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา04สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา04
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา04
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
ระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพ
ระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพ
ระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพ
 
ระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพ
ระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพ
ระบบจัดเก็บข้อมูลหน่วยกูชีพ
 
ฉบับจริง เอกเทศ
ฉบับจริง เอกเทศฉบับจริง เอกเทศ
ฉบับจริง เอกเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
งานวิจัยระบบงานธุรการ
งานวิจัยระบบงานธุรการงานวิจัยระบบงานธุรการ
งานวิจัยระบบงานธุรการ
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 

เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้

  • 1. เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนามาใช้กับการจัดการความรู้ วิชา เทคโนโลยีสาหรับการบริหารจัดการความรู้ จัดทาโดย นางสาวจุฑารัตน์ แพ่งยัง รหัสนักศึกษา 4942040006 เสนอ อาจารย์ นันทารัตน์ คงสีปาน วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 1 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คานา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาเทคโนโลยีสาหรับการบริหารจัดการความรู้ รหัส 4204-2007 ผู้จัดทาได้เรียบเรียงขึ้นมาเพื่อใช้เป็นกรณีศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนามาใช้กับการจัดการความรู้ มุ่งเน้นเกี่ยวกับระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกนิกส์ ระบบสืบค้นข้อมูลข่าวสาร ระบบเรียนรู้ทาง อิเล็กทรอนิกส์ ระบบประชุมอิเล็กทรอนิกส์ วิธีการ ขั้นตอนการสร้างระบบ และการใช้งาน โดยผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์กับนักศึกษาในการค้นคว้า และหา ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนามาใช้กับการจัดการความรู้ นางสาวจุฑารัตน์ แพ่งยัง ผู้จัดทา
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า ระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ 1 ประโยชน์ของระบบจัดการเอกสาร 1 ระบบ E-Document ระบบการจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ 1 ขั้นตอนการใช้งาน โปรแกรมสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 3 ระบบสืบค้นข้อมูลข่าวสาร 10 การสืบค้นข้อมูลและการใช้โปรแกรมเรียกค้นข้อมูล 10 วิธีการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต 11 การสืบค้นข้อมูลภาพ 16 ประโยชน์ที่ได้รับจาก Search Engine 22 ระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ 23 ใช้งานระบบ CN Course Networking 23 ระบบประชุมอิเล็กทรอนิกส์ 33 ระบบจัดการการประชุม ETDA e-meeting 33 การใช้งานระบบจัดการการประชุม 34
  • 4. ระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบการจัดการเอกสาร (อังกฤษ: Document management system) คือระบบคอมพิวเตอร์หรือกลุ่ม ของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในการติดตามและเก็บบันทึกเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ หรือ รูปภาพประกอบ เอกสาร โดยใช้แนวคิดของระบบการจัดการเนื้อหา (Content management system ,CMS) ซึ่งมักจะถูกมอง ว่าเป็นองค์ประกอบของระบบการจัดงานภายในองค์กร (Enterprise content management system,ECM) ซึ่ง มีความสัมพันธ์กับการจัดการทรัพย์สินดิจิตอล (Digital asset management system,DAM) นอกจากนี้ยังมี หัวข้อที่เกี่ยวข้องและมีความสัมพันธ์อีกเช่น ระบบจัดการเก็บเอกสารด้วยคอมพิวเตอร์ (Document imaging system) การจัดการลาดับงาน (Workflow system) และระบบการเก็บบันทึก (Records management system) ประโยชน์ของระบบจัดการเอกสาร - ช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านเอกสารกระดาษ - ช่วยในเรื่องของการค้นหาข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น - สามารถกาหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลและความปลอดภัยของข้อมูลได้ง่าย - สามารถทาการสารองข้อมูล และเก็บรักษาข้อมูลได้ง่ายกว่า - ช่วยส่งเสริมการทางานภายในองค์กรให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ระบบ E-Document ระบบการจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ Document management systems จะมีการจัดเตรียมและมีกระบวนการต่างๆเช่น แหล่งจัดเก็บข้อมูล การกาหนดรุ่นเอกสาร ความปลอดภัย การทาดัชนี และการสืบค้น องค์ประกอบต่างๆเช่น Metadata หมายถึง ข้อมูลที่ใช้กากับและอภิบายข้อมูลหลักหรือกลุ่มของข้อมูลอื่น ตัวอย่างที่เห็นได้ ชัดคือบัตรในห้องสมุดสาหรับสืบค้นหนังสือที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับชื่อหนังสือและตาแหน่งของหนังสือ ซึ่ง หนังสือเป็นข้อมูลที่ต้องการ และบัตรเป็นข้อมูลที่อธิบายรายละเอียดของข้อมูลนั้น Integration หลายๆระบบการจัดการเอกสารพยายามที่จะใช้งานร่วมกับโปรแกรมอื่น ๆ เพื่อให้ผู้ใช้ สามารถเรียกข้อมูลที่มีอยู่ได้โดยตรงจากพื้นที่เก็บข้อมูลของระบบการจัดการเอกสาร มีการเปลี่ยนแปลง และบันทึกการเปลี่ยนแปลง กลับไปยังระบบจัดการในรูปแบบของ new version ซึ่งจะได้กล่าวถึง version ในหัวข้อถัดไปข้างหน้า โดยการทางานทั้งหมดนั้นยังใช้งานในโปรแกรมเดิม เช่นการใช้งานกับ email หรือ มีการแชร์ซอฟต์แวร์เป็นกลุ่มร่วมกัน ซึ่ง Application จะมีการใช้มาตรฐานเช่น ODMA LDAP WebDAV และ SOAP Capture หลักการนั้นมีความเกี่ยวข้องกับการประมวลผลของหนักระดาษจากการสแกน หรือ อุปกรณ์อื่นๆเช่นปริ้นเตอร์ หรือ Optical character reconition ( กระบวนการทางกลไกหรือทาง
  • 5. อิเล็กทรอนิกส์เพื่อแปลภาพของข้อความจากการเขียนหรือจากการพิมพ์ ไปเป็นข้อความที่สามารถแก้ไขได้ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ )หรือมีการใช้ OMR Software ที่เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สาหรับอ่านค่าในช่อง เช่นใช้ ตรวจสอบปรนัย Indexing เป็นการติดตามเอกสารอิเล็กทรอนิกส์อาจเป็นสิ่งที่ง่ายสาหรับการเก็บตัว Track ที่ เจาะจงของข้อมูลแต่มักจะมีรูปแบบที่ซับซ้อนมากขึ้นสาหรับการจัดหมวดหมู่ ให้ผ่าน metadata ดังนั้นการ Indexing ให้สามารถสืบค้นได้อย่างรวดเร็วในพื้นที่ที่มีขนาดใหญ่จึงต้องคานึงถึงโครงสร้างทาง topology ของ index ด้วย Storage การจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ต้องคานึงว่า เก็บที่ไหน นานเท่าไหร่ หรือการเปลี่ยนที่ อยู่ของเอกสารไปเก็บอีกที่หนึ่งเกี่ยวข้องกับ (Hierarchical storage management) และ การทาลายเอกสาร Retrieval การเรียกดูเอกสารอิเล็กทรอนิกส์จากการจัดเก็บ ในบางครั้งอาจจะดูเหมือนง่ายใน ทางการสืบค้นแต่ในบริบททางอิเล็กทรอนิกส์จะค่อนข้างซับซ้อนและมีประสิทธิภาพ ซึ่งเกี่ยวข้องกับ โครงสร้างทางดัชนี บางครั้งการค้นหาบางระบบ สามารถหาบางส่วนของคาหรือบางส่วนของ metadata ที่ คาดหวังได้ ในบางระบบอาจจะอนุญาตให้มีการสืบค้นแบบใช้ การระบุนิพจน์บูลีนให้มีหลากหลายคาหรือ วลีที่ต้องการได้ Distribution เอกสารที่เผยแพร่จะต้องมีรูปแบบ (Format) ที่ยากต่อการถูกเปลี่ยนแปลงโดยง่าย วิธีปฏิบัติโดยทั่วไปในทางกฎหมาย เอกสารต้นฉบับจะไม่ถูกแจกจ่ายแต่จะเก็บไว้ในสถานที่ๆปลอดภัย หาก เอกสารถูกแจกจ่ายด้วยรูปแบบอิเลคโทรนิคในสภาวะที่มีการควบคุม เครื่องมือที่ใช้งานต้องมีคุณภาพและ ได้รับการตรวจสอบว่าทางานอย่างถูกต้อง เช่นเดียวกันกับตัวนาส่งเอกสารอิเลคโทรนิคที่ต้องมีคุณภาพ ทั้ง สองอย่างนี้ต้องนามาประยุกต์ใช้ในระบบเอกสารที่มีการแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน หากความสมบูรณ์ของ เอกสารเป็นสิ่งที่จาอย่างยิ่ง Security การรักษาความปลอดภัยมีความสาคัญมากในการใช้งานการจัดการเอกสารจานวนมาก ข้อมูลบางอย่างจาเป็นต้องเข้ารหัสและเป็นความลับสูงมีข้อกาหนดที่ซับซ้อนเช่น ข้อมูลประวัติทาง การแพทย์Workflow คือการบริหารจัดการ ลาดับขั้นตอนของการปฏิบัติงานระหว่าง บุคลากร หรือ หน่วยงาน โดยกาหนดเป็นกฎเกณฑ์ และใช้เอกสาร หรือคอมพิวเตอร์มาช่วยในการกากับงาน Versioning เป็นการควบคุมการเปลี่ยนแปลง โดยให้มีหมายเลขการเปลี่ยนแปลง หรือการ กาหนดวันที่เปลี่ยนแปลง และจัดเก็บสารองข้อมูลดังเดิมไว้เผื่อทาการเรียกคืนข้อมูล หรือแก้ไขกลับ และ เพื่อให้รู้ถึงสถานะการเปลี่ยนแปลงของข้อมูล Records Management system เป็นการจัดการคุณลักษณะของข้อมูล โดยสามารถบริหาร จัดการ กาหนดค่าอายุของข้อมูลในระบบได้ตามเงื่อนไข ซึ่งในปัจจุบันได้มีการกาหนดมาตรฐานการจัดการ อายุของข้อมูล เช่น DoD 5015.2-STD Version x เป็นข้อกาหนดตามมาตรฐานความปลอดภัยของการจัดเก็บ ข้อมูล ที่ออกโดยรัฐบาลสหรัฐ ซึ่งมีซอฟแวร์บางรายเท่านั้นที่ได้รับรองตามมาตรฐานนี้
  • 6. ขั้นตอนการใช้งาน โปรแกรมสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ การเข้าสู่ระบบระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ คลิกเลือก Icon Internet Explorer เพื่อเข้าสู่หน้าจอเปิดระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์จาก เว็บไซต์โดยเข้าไปที่ http://doc.nida.ac.th/web/index.jsp ระบบจะแสดงหน้าจอ Login เพื่อเข้าสู่ระบบงาน อิเล็กทรอนิกส์ ดังนี้ รูปที่ 1 ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จะปรากฏหน้าจอ รูปที่ 2
  • 7. มีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้ 1. พิมพ์ชื่อผู้ใช้ระบบ 2. พิมพ์รหัสผ่าน 3. คลิกเข้าสู่ระบบ ขั้นตอนการลงทะเบียนรับจากหน่วยงานภายใน คลิกเข้าสู่ ข้อมูลเข้า จะปรากฏรายการย่อยของเมนู ดังรูป รูปที่ 3 เมื่อคลิกเข้าไปที่ข้อมูลเข้า ทางด้านขวามือจะมีข้อความขึ้นมา เลือกเรื่อง ให้คลิกลูกศรเพื่อเลือกเข้าที่เมนูแล้วเลือกข้อความว่า คณะสถิติประยุกต์ดังรูป
  • 8. รูปที่ 4 เมื่อเปิดเมนู เลือกเรื่องเข้า และคลิกที่คณะสถิติประยุกต์ เมนูระบบจะเปิดหน้าจอหลักของแฟ้ ม ทะเบียนโดยคลิกเปิดเรื่องที่ต้องการ หน้าจอจะปรากฏรายละเอียดของหนังสือแต่ละเรื่องโดยมีรายละเอียด ของทะเบียนหนังสือรับ เช่น สถานะ เลขทะเบียน เลขที่หนังสือ เรื่อง จาก วัน เวลา ลงวันที่ข้อ หมายเหตุ ดังแสดงดังรูป รูปที่ 5
  • 9. ข้อสังเกต การลงทะเบียนหนังสื อรับให้ดูที่ช่องหมายเหตุว่าช่องหมายเหตุขอเรื่องนั้น มีคาว่า 1.รอเอกสารต้นฉบับ หมายความว่า ทางหน่วยงานต้นเรื่องไม่ได้แนบเอกสารมาให้ทาง ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ฉะนั้นต้องรอรับเอกสารฉบับจริงจากหน่วยงานต้นเรื่อง จึงจะลงรับทาง ระบบได้ 2. ไม่รอเอกสารต้นฉบับ หมายความว่า ทางหน่วยงานต้นเรื่องได้แนบเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์มาทางระบบเรียนร้อยแล้ว เจ้าหน้าที่ธุรการจะต้องพิมพ์เอกสารออกมาแล้วจึงจะลงทะเบียน รับทางระบบได้ - คลิกปุ่มลงทะเบียน จะปรากฏหน้าจอเปิดเอกสารเพื่อทาการลงทะเบียนดังรูป รูปที่ 6 - คลิกเลือกแฟ้มทะเบียนหนังสือแล้วกดปุ่มตกลง เสร็จสิ้นการลงทะเบียน รับ
  • 10. รูปที่ 7 กรณี ช่องหมายเหตุ ระบุไม่รอเอกสารต้นฉบับ มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเปิดเอกสารแนบ จะปรากฏรายละเอียดของเอกสารซึ่งเป็นส่วนแสดงราลละเอียดของเอกสาร แต่ละเรื่องมีขั้นตอนดังนี้ - คลิกตรงช่องหมายเหตุของแต่ละเรื่อง (โดยระบุว่า ไม่รอเอกสารต้นฉบับ) รูปที่ 8
  • 11. - จะปรากฏข้อมูลขึ้นโดยทางด้านขวามือจะมีข้อความว่า 1 เอกสาร) พร้อมชื่อ File เอกสาร ให้คลิกเข้าไปเพื่อเปิดเอกสารดังรูป 9 – 10 รูปที่ 9 รูปที่ 10
  • 13. ระบบสืบค้นข้อมูลข่าวสาร การสืบค้นข้อมูลและการใช้โปรแกรมเรียกค้นข้อมูล อินเตอร์เน็ตเป็นสื่อในการแลกเปลี่ยนข้อมูลเชิงวิชาการในรูปแบบของนิวส์กรุ๊ป(news group) ซึ่ง สมาชิกของกลุ่มสามารถเข้าไปอ่านและเขียนข้อความได้ ต่อมามีข่าวสารประเภทนี้เพิ่มมากขึ้น จึงมีการจัด ประเภทและมีเครื่องมือช่วยค้นหาที่มีชื่อว่าโกเฟอร์(gophor) ต่อมาได้มีนวัตกรรมเกิดขึ้นในโลกอินเตอร์เน็ต นั่นคือระบบเวิลด์ไวด์เว็บ(World Wide Web:WWW) เทคโนโลยีใหม่ที่นามาใช้ในระบบ www ประกอบด้วย 1. ภาษา HTML (Hypertext Markup Language)ที่กาหนดรูปแบบการแสดงผลบนจอภาพ 2. ซอฟต์แวร์เว็บเซอร์เวอร์ (Web Sever Software) ที่จัดการเกี่ยวกับการรับและส่งแฟ้ มข้อมูลผ่าน เครือข่ายอินเตอร์เน็ต 3. โปรแกรมเว็บเบราเซอร์ ที่ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ทาหน้าที่จัดรูปแบบข้อมูลตามที่ ระบุในคาสั่งภาษา HTML และนาไปแสดงบนผลจอ เว็บบราวเซอร์เช่น Safari 5, Internet Explorer 9 Beta, Mozilla Firefox 4 Beta, Google Chrome, Opera 10.6+ 4. ระบบไฮเปอร์ลิงค์(Hyperlink) ที่สามารถทาการเชื่อมโยงเอกสารต่าง ๆ ทั้งที่เป็นข้อความและ ภาพ) ที่เก็บไว้ต่างที่กัน 5. ภาพกราฟริก เป็นข้อมูลรูปแบบใหม่ที่สามารถรับส่งผ่านเครือข่ายและโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ สามารถนาไปแสดงบนจอภาพได้ 6. ภาพกราฟิกสามารถทาให้เป็นภาพเคลื่อนไหวได้ นวัตกรรมทางเทคโนโลยีดังกล่าวทาให้เกิดแหล่งข้อมูลที่เรียกว่า เว็บไซต์ (Web site)เกิดขึ้น มากมายทั่วโลกและทั้งโลกกลายเป็นโลกไร้พรมแดนสาหรับข้อมูลข่าวสารที่อยู่ภายในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เว็บไซต์แต่ละแห่งมีที่ชื่อ-ที่อยู่เรียกว่า URL(Universal Resource Locator)ซึ่งจะบ่งชี้ถึงแหล่งที่อยู่ของ เว็บไซต์นั้นอินเตอร์เน็ตเช่น http://www.google.com ผู้ใช้จะเข้าถึงเว็บไซต์ที่ต้องการได้โดยการพิมพ์ URL ลงไปในช่อง address ของโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เว็บไซต์(web site) แต่ละแห่งจะมีเอกสารที่เรียกว่า เว็บเพจ(web page) เก็บข้อมูลเป็นจานวนมาก เอกสารเหลานี้อาจจะมีองค์ประกอบเป็น ข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดีทัศน์และอาจมีการ เชื่อมโยงด้วยระบบไฮเปอร์ลิงค์ไปยังเอกสารอื่น ๆ อีก
  • 14. วิธีการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ด้วยการใช้ Search Engine เป็นการบริการค้นหาข้อมูลที่ต้องการ โดยมีโปรแกรมพิเศษที่เรียกว่า โปรแกรมเรียกค้นข้อมูล Search Engine จะมีหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้ อน คาหรือ ข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่กาหนด คลิกปุ่มค้นหา เท่านั้น ข้อมูลอย่างย่อ ๆ และรายชื่อเว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการและการจัดเก็บ ฐานข้อมูลที่แตกต่างกันไปตามประเภทของ Search Engine ที่แต่ละเว็บไซต์นามาใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนั้นการที่จะเข้าไปหาข้อโดยวิธีการ Search นั้น อย่างน้อยเราจะต้องทราบว่า เว็บไซต์ที่จะเข้าไปใช้บริการ ใช้วิธีการหรือ ประเภทของ Search Engine อะไร เนื่องจากแต่ละประเภทมีความละเอียดในการจัดเก็บข้อมูล ต่างกันไป การนาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต มาประยุกต์ใช้ในการศึกษาหาความรู้ ได้แก่ การสืบค้นข้อมูลทาง อินเทอร์เน็ต โดยการใช้งานอินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับการศึกษานี้จะสามารถแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ระดับดังนี้ 1. การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต 2. การนาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมาใช้งาน 3. การสร้างแหล่งข้อมูลด้วยตนเอง การค้นคว้าด้วยการใช้ Search Engine การใช้งานงานอินเทอร์เน็ตที่นิยมใช้กันอย่างมาก จะได้แก่การเข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อหา ความรู้ แต่การเข้าเยี่ยมชมนั้น ในกรณีที่เรารู้ว่าเว็บไซต์เหล่านั้นมีชื่อว่าอะไร เนื้อหาของเว็บ มุ่งเน้นเกี่ยวกับ สิ่งใด เราสาสามารถที่จะเข้าเยี่ยมชมได้ทันที่ แต่ในกรณีที่เราไม่ทราบชื่อเว็บเหล่านั้น แต่เรามีความต้องการ ที่จะค้นหาเนื้อหาบางอย่าง มีวิธีการจะเข้าสืบค้นข้อมูลได้ โดยการใช้ความสามารถของ Search Engine Search Engine จะมีหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งาน เพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้ อน คาหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่กาหนด คลิก ปุ่มค้นหา เท่านั้น ข้อมูลอย่างย่อๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ ทันที Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการและการจัดเก็บฐานข้อมูลที่แตกต่างกันไปตามประเภทของ Search Engine ที่แต่ละเว็บไซต์นามาใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนั้นการที่จะเข้าไปหาข้อโดยวิธีการ Search นั้น อย่างน้อยเราจะต้องทราบว่า เว็บไซต์ที่จะเข้าไปใช้บริการ ใช้วิธีการหรือ ประเภทของ Search Engine อะไร เนื่องจากแต่ละประเภทมีความละเอียดในการจัดเก็บข้อมูลต่างกันไป
  • 15. ประเภทของ Search Engine 1. Keyword Index 2. Subject Directories 3. Metasearch Engines Keyword Index เป็นการค้นหาข้อมูล โดยการค้นจากข้อความในเว็บเพจที่ได้ผ่านการสารวจ มาแล้ว จะอ่านข้อความ ข้อมูล ประมาณ 200-300 ตัวอักษรแรกของเว็บเพจ วิธีการค้นหาของ Search Engine ประเภทนี้จะให้ความสาคัญกับการเรียงลาดับข้อมูลก่อนหลัง การค้นหาข้อมูล โดยวิธีการเช่นนี้จะมีความ รวดเร็วมาก แต่มีความละเอียดในการจัดแยกหมวดหมู่ของข้อมูลค่อนข้างน้อย เนื่องจากไม่ได้คานึงถึง รายละเอียดของเนื้อหาเท่าที่ควร แต่ถ้าต้องการแนวทางด้านกว้างของข้อมูล การค้นหาแบบนี้จะเหมาะสม ที่สุด เว็บที่ให้บริการ Search Engine แบบ Keyword Index ได้แก่เว็บ http://www.google.com/ http://www.altavista.com/
  • 16. Subject Directories การจาแนกหมวดหมู่ข้อมูล Search Engine ประเภทนี้ จะจัดแบ่งโดยการ วิเคราะห์เนื้อหา ของแต่ละเว็บเพจ ว่ามีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร โดยการจัดแบ่งแบบนี้จะใช้คนพิจารณาเว็บเพจ แต่ละเว็บ แล้วทาการจัดหมวดหมู่ โดยจะขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของคนจัดหมวดหมู่แต่ละคนว่าจะจัดเก็บ ข้อมูลนั้นๆ อยู่ในกลุ่มของอะไร ดังนั้นฐานข้อมูลของ Search Engine ประเภทนี้จะถูกจัดแบ่งตามเนื้อหา ก่อน แล้วจึงนามาเป็นฐานข้อมูลในการค้นหาต่อไป http://www.thaiwebhunter.com/ http://www.sanook.com Metasearch Engines จะเป็ น Search Engine ที่ใช้ในการค้นหาเว็บ ด้วยตัวของ Search Engine แบบ Metasearch Engines เองแล้ว แต่ที่เด่นกว่านั้นคือ Search Engine แบบ Metasearch Engines จะยัง สามารถเชื่อมโยงไปยัง Search Engine ประเภทอื่นๆ เพื่อเรียกดูข้อมูลที่ Search Engine อื่นๆ ค้นพบ โดย สังเกตได้จากจะมีคาว่า [Found on Google, Yahoo!] ต่อทางด้านท้าย นั้นก็หมายความว่าการค้นหาข้อความ นั้นๆ มาการเชื่อมโดยไปค้นข้อมูลจาก เว็บ Google และ Yahooแต่การค้นหาด้วยวิธีนี้มีจุดด้อย คือ วิธีการนี้ จะไม่ให้ความสาคัญกับขนาดเล็กใหญ่ของตัวอักษรและมักจะไม่ค้นหาคาประเภท Natural Language (ภาษา พูด) และที่สาคัญ Search Engine แบบ Metasearch Engines ส่วนมากไม่รองรับภาษาไทย http://www.dogpile.com http://www.kartoo.com/
  • 17. 1. การสืบค้นแบบใช้คีย์เวิร์ด ใช้ในกรณีที่ต้องการค้นข้อมูลโดยใช้คาที่มีความหมายตรงกับความ ต้องการ โดยมากจะนิยมใช้คาที่มีความหมายใกล้เคียงกับเนื้อเรื่องที่จะสืบค้นข้อมูล มีวิธีการค้นหาได้ดังนี้ 1.1 เปิดเว็บเพจ ที่ให้บริการในการสืบค้นข้อมูล โดยพิมพ์เว็บที่ช่อง Address ตัวอย่างเช่น http://www.google.co.th เป็ นเว็บที่ใช้สืบค้นข้อมูลของต่างประเทศ ข้อดีคือ ค้นหาง่ายเร็ว http://www.yahoo.com เป็นเว็บที่ใช้สืบค้นที่ดีตัวหนึ่งซึ่งค้นหาข้อมูลง่าย และข้อเด่นคือภายในเว็บ ของ http://www.yahoo.com เองจะมีฟรีเว็บไซต์ ที่รู้จักกันในนาม http://www.geocities.com ซึ่งมี จานวนเว็บมากมาย ให้ค้นหาข้อมูลเองโดยเฉพาะ http://www.sanook.com เป็นเว็บของคนไทย http://www.siamguru.com เป็นเว็บของคนไทย โดยพิมพ์ช่องเว็บที่ช่อง Address ดังตัวอย่างซึ่งใช้ http:// www.sanook.com 1.2 ที่ช่อง ค้นหา พิมพ์ข้อความต้องการจะค้นหา ในตัวอย่างจะพิมพ์คาว่า วิทยาศาสตร์ 1.3 คลิกปุ่ม ค้นหา 1.4 จากนั้นจะปรากฏรายชื่อของเว็บที่มี 1.5 คลิกเว็บที่จะเรียกดูข้อมูล
  • 18. 2. หลักการใช้คาในการค้นหาข้อมูล การสืบค้นแบบใช้คีย์เวิร์ด เช่น ถ้าต้องการจะสืบค้นเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของเครื่อง คอมพิวเตอร์ การค้นหาจึงต้องการเนื้อหาที่เจาะลึก การสร้างคาคีย์เวิร์ด ต้องใช้คาที่เจาะลึกลงไปเพื่อให้ได้ ข้อมูลที่เฉพาะคามากยิ่งขึ้น 2.1 การใช้คาที่คิดว่าจะมีในเว็บที่ต้องการจะค้นหา เช่น ต้องการจะหาข้อมูลเกี่ยวกับ บุคคล ที่ชื่อว่า นาย อุบล ถ้าเราพิมพ์ข้อมูลที่ช่อง Search ว่า อุบล แล้วทาการค้นข้อมูล Search Engine จะทาการ ค้นหาคา โดยจะค้นหารวมทั้งคาว่า จังหวัดอุบล อุบลราชธานี คนอุบล วิทยาลัยเกษตรอุบล เทคโนโลยีอุบล ซึ่งเราจะเจอะ ข้อมูลจานวนมาก ดังนั้นการใช้คาในการค้นหาข้อมูลจึงต้องใช้คาเฉพาะเพื่อให้ได้ข้อมูล ที่ น้อยลง เช่น อาจจะพิมพ์คาว่า นาย อุบล พิมลวรรณ ซึ่งข้อมูลจะมีจานวนที่น้อยลง 2.2 ใช้เครื่องหมาย คาพูด (“ _ ”) เพื่อกาหนดให้เป็นกลุ่มคา เช่น จะค้นหาคา ชื่อหนังสื่อที่ ชื่อว่า โปรแกรม PhotoShop สังเกตว่าคาที่จะค้นหา จะเป็นคาที่ต้องเว้นวรรค แต่เมื่อมีการสืบค้นด้วย Search Engine ระบบจะค้นหาคาแบ่งเป็นสองคา คือคาว่า โปรแกรม และคาว่า PhotoShop จึงทาให้ข้อมูลที่ ได้ผิดพลาด ดังนั้นการสร้างคา จึงต้องกาหนดคาด้วยเครื่องหมายคาพูด จึงใช้คาว่า “โปรแกรม PhotoShop” ในการค้นหาแทน 2.3ใช้เครื่องหมาย ลบ (-) ไว้หน้าคาที่ไม่ต้องการจะให้ปรากฏอยู่ในรายการแสดงผลของ การค้นหา เช่น ต้องการหาชื่อโรงเรียน แต่ทราบแล้วว่าโรงเรียนที่จะค้นหาไม่ใช้โรงเรียนอนุบาล จึงต้อง ยกเลิกคาว่าอนุบาล โดยพิมพ์คาว่า โรงเรียน -อนุบาล ผลที่ได้จะทาให้มีเฉพาะคาว่า โรงเรียน ทั้งหมดแต่จะ ค้นหาคาว่า อนุบาล (*การพิมพ์เครื่องหมาย ลบกับคาที่จะยกเลิกต้องติดกัน มิฉะนั้นระบบจะเข้าใจว่าจะ ค้นหาคา 3 คา คือ คาว่า โรงเรียน คาว่า + และคาว่า อนุบาล*)
  • 19. การสืบค้นข้อมูลภาพ ในกรณีที่นักเรียนต้องการที่จะค้นหาข้อมูลที่เป็นภาพ เพื่อนามาประกอบกับรายงาน มีวิธีการค้นหา ไฟล์ภาพได้ดังนี้ 1. เปิดเว็บ http://www.google.co.th 2. คลิกตัวเลือก รูปภาพ 3. พิมพ์กลุ่มชื่อภาพที่ต้องการจะค้นหา (ตัวอย่างทดลองหาภาพเกี่ยวกับ ปราสาทหินพิมาย) 4. คลิกปุ่ม ค้นหา 5. ภาพที่ค้นหาพบ 6. การนาภาพมาใช้งาน ให้คลิกเมาส์ด้านขวาที่ภาพ > Save Picture asหรือ save image as
  • 20. 7. กาหนดตาแหน่งที่จะบันทึกที่ช่อง Save in 8. กาหนดชื่อที่ช่อง File Name 9. คลิกปุ่ม Save การบันทึก หลังจากที่มีการสืบค้นข้อมูล ในกรณีที่ถูกใจเนื้อหาของเว็บที่สืบค้น และต้องการจะเก็บบันทึก ข้อมูลที่ค้นพบเก็บไว้มีวิธีการบันทึกข้อมูลได้หลายวิธี ได้แก่ การบันทึกชื่อเว็บ (Favorites) การบันทึกภาพ (Save as Picture) การบันทึกเนื้อหาที่เป็นตัวอักษร (Copy) การบันทึกเว็บเก็บไว้(Save as) การบันทึกชื่อเว็บ (Favorites) การบันทึกชื่อเว็บ (Favorites) ใช้ในกรณีที่เปิดเว็บเพ็จที่น่าสนใจมาศึกษา ในกรณีที่จะกลับมาศึกษา ใหม่ในวันต่อไป เราต้องบันทึกชื่อเว็บเก็บไว้ที่ Favorites เพื่อเรียกใช้งานในครั้งต่อไป มีวิธีการกาหนดได้ ดังนี้ 1. คลิกเมนู Favorites > Add Favorites 2. กาหนดชื่อที่ช่อง Name 3. คลิกปุ่ม OK
  • 21. การเปิดเว็บโดยใช้ Favorites หลังจากที่สร้าง Favorites มาแล้ว ในกรณีที่เรียกใช้งาน โดยการเปิดเว็บผ่านทาง Favorites มีวิธีการ สร้างได้ดังนี้ 1. คลิกเมนู Favorites > คลิกที่เว็บที่บันทึกเป็น Favorites เก็บไว้ การบันทึกเนื้อหาที่เป็นตัวอักษร (Copy) ในกรณีที่ต้องการจะบันทึกเนื้อในส่วนที่เป็นตัวอักษรเก็บไว้เพื่อนาไปประกอบกับรายงาน โดยมีวี การกาหนดได้ดังนี้ 1. เปิดเว็บที่ต้องการจะบันทึกเนื้อหา
  • 22. 2. ป้ ายดาเลือกข้อความที่จะบันทึกเก็บไว้ 3. คลิกเมาส์ด้านขวาที่ตัวอักษร คลิกคาสั่ง Copy 4. จากนั้นเปิดโปรแกรมบันทึกตัวอักษร โดยคลิกปุ่ม Start > Program > Accessories > Notepad
  • 23. 5. นาตัวอักษรที่คัดลอกเก็บไว้มาวาง โดยคลิกเมนู Edit > Paste 6. จากนั้นบันทึกไฟล์เก็บไว้โดยคลิกเมนู File > Save 7. กาหนดตาแหน่งในการบันทึกภาพที่ช่อง Save in 8. กาหนดชื่อที่ช่อง File Name 9. คลิกปุ่ม Save
  • 24. ประโยชน์ การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตนั้น มีประโยชน์อยู่หลายด้านด้วยกัน เช่น 1. ประหยัดเวลา :: อย่างที่รู้กันอยู่แล้วว่า มีทุกอย่างอยู่ในอินเทอร์เน็ต ขึ้นอยู่กับว่าเราจะมีวิธีการค้นหา และนามาใช้ได้อย่างไร โดยไม่ต้องเสียเวลาไปเสาะหาข้อมูลจากแหล่งความรู้จริง เช่นห้องสมุดหนังสือ วารสาร หรือจากบุคคลผู้รู้อื่น ๆ 2. ได้ข้อมูลครบถ้วน :: เนื่องจากการสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตนั้น เราสามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่าง หลากวิธีแบบ เช่น ข้อมูลข้อความ ข้อมูลรูปภาพ ข้อมูลมัลติมีเดีย หรืออื่น ๆในเนื้อหาหนึ่ง ๆ ก็สามารถนา ข้อมูลที่หลากหลายรูปแบบมาอ้างอิงได้อย่างหลากหลาย 3. มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน :: ชุมชนในการเรียนรู้บนอินเทอร์เน็ตนั้น เป็นชุมชนที่มีการ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกัน ในลักษณะให้ฟรี หรือมีค่าใช้จ่ายบ้าง ถ้าหากเรามีการแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างกัน ย่อมทาให้การค้นหาข้อมูลที่สาคัญมีความหลากหลายมากขึ้น แหล่งที่สามารถสืบค้นข้อมูลได้ ได้แก่ เว็บไซต์ที่ให้บริการข้อมูลต่าง ๆ หรือ เว็บไซต์ที่มีเว็บบอร์ดเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน เป็นต้น ประโยชน์ที่ได้รับจาก Search Engine 1. ค้นหาเว็บที่ต้องการได้สะดวก รวดเร็ว 2. สามารถค้นหาแบบเจาะลึกได้ไม่ว่าจะเป็น รูปภาพ, ข่าว, MP3 และอื่นๆ อีกมากมาย 3. สามารถค้นหาจากเว็บไซต์เฉพาะทาง ที่มีการจัดทาไว้เช่น download.com เว็บไซต์เกี่ยวกับข้อมูล และซอร์ฟแวร์ เป็นต้น 4. มีความหลากหลายในการค้นหาข้อมูล 5. รองรับการค้นหา ภาษาไทยในโลกยุคอินเทอร์เน็ทในปัจจุบันนี้มีข้อมูลมากมายมหาศาล การที่จะ ค้นหาข้อมูลจานวนมากมาย อย่างนี้เราไม่อาจจะคลิก เพื่อค้นหาข้อมูลพบได้ง่ายๆ จาเป็นจะต้องอาศัยการ ค้นหาข้อมูลด้วยเครื่องมือ ค้นหา ที่เรียกว่า Search Engine เข้ามาช่วยเพื่อความสะดวกและรวดเร็ว เว็บไซต์ที่ ให้บริการค้นหาข้อมูลมีมากมายหลายที่ทั้งของคนไทยและต่างประเทศ ความหมาย/ประเภท ของ Search Engine การค้นหาข้อมูลบน
  • 25. เครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีอยู่เป็นจานวนมาก ถ้าเราเปิดไปทีละหน้าจออาจจะต้องเสีย เวลาในการ ค้นหา และอาจหาข้อมูลที่เราต้องการไม่พบการที่เราจะค้นหาข้อมูลให้พบอย่างรวดเร็วจะต้องใช้เว็บไซต์ สาหรับการค้นหาข้อมูลที่เรียกว่า Search Engine Site ซึ่งจะทาหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้โดย จัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้ งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้ อน คาหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่ กาหนด Search Engine แต่ละ แห่งมีวิธีการและการจัดเก็บฐานข้อมูลที่แตกต่างกันไปตาม ประเภท ของ Search Engineที่แต่ละเว็บไซต์นามาใช้เก็บรวบรวม ข้อมูลดังนั้น การที่จะเข้าไปหาข้อมูลหรือ เว็บไซต์ โดยวิธีการ Search นั้น อย่างน้อยจะต้องทราบว่า เว็บไซต์ที่เข้าไปใช้บริการ ใช้ วิธีการหรือ ประเภท ของ Search Engineอะไร เนื่องจากแต่ละประเภทมีความละเอียดในการจัดเก็บข้อมูลต่างกันไป การเลือกใช้ เครื่องมือในการค้นหาจะต้องเข้าใจว่า ข้อมูลที่ต้องการค้นหานั้นมีลักษณะอย่างไรมีขอบข่ายกว้างขวาง หรือ แคบขนาดไหน แล้ว จึงเลือกใช้เว็บไซต์ค้นหาที่ให้บริการตรงกับความต้องการของเรา ประโยชน์ของ Search Engine (เพิ่มเติม) เครื่องมือที่ช่วยในการค้นหา (Search Engine) มีประโยชน์ อย่างมากต่อผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตทั่วไป เนื่องจากข้อมูลข่าวสารบนโลกอินเตอร์เน็ตมีมากมายมหาศาล และ เมื่อผู้ใช้ต้องการข้อมูลสารสนเทศใดๆ จึงจาเป็นต้องมีเครื่องมือที่ช่วยในการค้นหา เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูล สารสนเทศที่ผู้ใช้งานต้องการ หรือสรุปได้ดังนี้ - ค้นหาเว็บที่ต้องการได้สะดวก รวดเร็ว - สามารถค้นหาแบบเจาะลึกได้ไม่ว่าจะเป็น รูปภาพ, ข่าว, MP3 และอื่นๆ อีกมากมาย - สามารถค้นหาจากเว็บไซต์เฉพาะทาง ที่มีการจัดทาไว้เช่น download.com เว็บไซต์เกี่ยวกับ ข้อมูลและซอร์ฟแวร์ เป็นต้น - มีความหลากหลายในการค้นหาข้อมูล - รองรับการค้นหา ภาษาไทย นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาในรูปแบบของ Search Bar ที่ทาให้ผู้ใช้งานไม่จาเป็นต้องเข้าผ่านเว็บไซต์ Search Engine เหล่านั้นโดยตรงแล้ว ตัวอย่าง Search Bar ที่ขอแนะนา เช่น Google Search Bar, Yahoo Search Bar เป็นต้น
  • 26. ระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ ใช้งานระบบ CN Course Networking ผู้ใช้สามารถเข้าใช้ CN Post ผ่านระบบ CMU Online เมื่อเห็นโลโก้CN Post (กรอบสีแดง) ในกระบวนวิชาผู้ใช้ สามารถคลิ๊กเข้าสู่ระบบผ่านกระบวนวิชานั้น ได้โดยระบบ CN Postจะใช้E- Mail ที่ผู้ใช้Loginในระบบ CMU Online เป็น Username ให้อัตโนมัติ Course Networking Login เมื่อผู้ใช้เข้าใช้งาน Course Networking ผ่าน CMU online ระบบจะสร้าง Username ให้โดย อัตโนมัติโดยจะใช้ Username เดียวกันกับ ที่ใช้ในการ Login CMU online ในส่วนของPassword ระบบจะทาการสร้างขึ้นให้มาใหม่เมื่อผู้ใช้ ต้องการ Login ผ่านหน้าเว็บไซต์ของระบบ หรือผ่านแอ พลิเคชั่น ของระบบ ผู้ใช้ควรเข้าไปเปลี่ยน Password ให้เป็นของ ตัวเองก่อนดังนี้ รูปที่ 1 หน้าจอแรกเมื่อเข้าสู่คอร์สในระบบ CMU Online 1. เข้าใช้งาน Course Networking ผ่าน CMU online ดังรูปที่2
  • 27. รูปที่ 2 ลิงค์ที่เข้า CN-POST ผ่าน CMU Online 2. เมื่อเข้าใช้งานครั้งแรกให้เลือก“NO CREATE A NEW CN ACCOUNT” ดังภาพ เพื่อสร้าง Account ที่จะใช้ใน Course Networking ดังรูป รูปที่ 3 ปุ่มสร้าง Account 3. ให้เลือก “I have read and agree with the CN Terms of Service and Privacy Policy” เพื่อเป็นการ ยอมรับการใช้งาน แล้วเลือก “CREATE CN ACCOUNT” เพื่อเป็นการตกลงดังรูป รูปที่ 4 ปุ่มยอมรับการใช้งาน
  • 28. 4. เลือก “GOT IT,TAKE ME TO CN POST” เพื่อเข้าสู่หน้า CN POST ดังรูป รูปที่ 5 ปุ่มเข้าสู่หน้า CN POST 5.เมื่อกดเข้ามาจะพบ อยู่ด้านบนมุมซ้ายให้คลิ๊กเลือกSet Up/Change Passwordดังรูป รูปที่ 6 ปุ่มเปลี่ยน Password
  • 29. 6. จากนั้น ให้คลิ๊กที่“If you don't know or forgot your current CN password, please click here.” เพื่อให้ระบบส่งแบบฟอร์มยันยืนการเปลี่ยน Password เข้าสู่อีเมลดังรูป รูปที่ 7 รูปลิงค์การลืม Password 7. เมื่อเข้าสู่อีเมลจะมีจดหมายส่งมาจาก Course Networkingเพื่อทาการยืนยันการเปลี่ยน Password ให้ คลิ๊กที่ลิงค์ตามกรอบสีแดงได้เลยดังรูป รูปที่ 8 รูปลิงค์เพื่อยืนยันการลืม Password
  • 30. 8. ให้ผู้ใช้กรอกPassword ใหม่ที่ต้องการในช่อง“Enter a new password” และยืนยัน ที่ช่อง “Retype new password” อีกครั้งเมื่อกรอกเสร็จแล้วให้กดปุ่ม “SUBMIT NEW PASSWORD” ดังรูป รูปที่ 9รูปหน้าการตั้งรหัสผ่านใหม่ 9.ผู้ใช้สามารถเข้าใช้งานผ่า น Webและ Mobile application ของ Course Networkingได้โดยใช้ Username @cmu ของทางมหาลัย และ Password ที่ตั้งขึ้นมาใหม่ดังรูป รูปที่ 10 รูปหน้า Login เข้าใช้งาน
  • 31. Homepage เมื่อคลิ๊กเข้ามาจากกระบวนวิชาที่เปิดใน CMU Online แล้วจะปรากฏหน้า Homepage ของ กระบวนวิชาจะประกอบด้วย4ส่วนใหญ่ๆดังนี้ - ส่วนกรอบสีน้า เงินคือส่วนด้านบนสุดจะประกอบด้วยส่วนเมนูควบคุมต่างๆ ดังนี้Hamburger button , CN postLogo , Post , Poll , Event , Condition , Search , My class , Profile , Anar , Notification - ส่วนกรอบสีแดงคือส่วนที่อยู่ตรงกลางเป็นส่วนที่จะแสดง Timeline โพสต่างๆภายในคอร์ส ประกอบด้วย หัวข้อของโพส ,การตอบกลับ(Reflection) , การให้คะแนน(Rating) , การให้รางวัล(Award) , วัน-เวลาโพส , ส่วนของการแกไข้โพส - ส่วนกรอบสีเหลืองคือส่วนที่อยู่ด้านขวามือเป็นส่วนที่จะใช้จัดการในการสร้าง Tag ต่างๆขั้นมา เพื่อใช้ภายในคอร์สประกอบด้วย Instructor Suggested , Member Created รูปที่ 11 หน้าจอแรกเมื่อเข้าสู่ CN POST ส่วน Header ประกอบด้วยส่วนเมนูควบคุมต่างๆ ดังนี้Hamburger button , CN post Logo , Post , Poll , Event , Condition ,Search , My class , Profile , Anar , NotificationHamburger button รูปที่ 12 แสดงส่วนของ Heade
  • 32. Hamburger button - Profile ในส่วนนี้จะแสดงชื่อผู้ใช้รูปโปรไฟล์ส่วนตัวสามารถแก้ไข โปรไฟล์ได้โดยคลิ๊กที่สัญญาลักษณ์รูปดินสอ - Go to my CN ePORTFOLIO แสดงหน้าโปรไฟล์ของผู้ใช้ทั้งหมด - Open in New Tab เมื่อคลิ๊กจะทาการเปิดหน้าคอร์สขั้นมาอีก 1 Tab - Go to Full CN เมื่อคลิ๊กเมนูนี้จะเข้าสู่หน้า CN คอร์สแบบเต็มรูปแบบ - Anar Seeds Settings ผู้ใช้สามารถตั้งค่าเกณฑ์การให้คะแนน Anar ได้ - Settings ผู้ใช้สามารถตั้งหมวดหมู่ให้กับคอร์สและเปลี่ยนเทมเพลต ของคอร์สให้อยู่ในแบบเต็มรูปแบบได้ - Badges เป็นส่วนจัดการระบบ Badges ภายในคอร์ส - Groups เป็นส่วนจัดการกลุ่มที่ตั้งภายในคอร์ส - Roster เป็นส่วนจัดการระบบ Roster ภายในคอร์ส - Rememberlt List ส่วนแสดง Rememberlt ที่กดติดตามไว้ - Change Password ส่วนแก้ไขPassword - Email notification ส่วนตั้งค่าการแจ้งเตือนอีเมล์ - CN Quick Start Tutorial/Help ส่วนนี้จะเป็นส่วนช่วยเหลือสา หรับ ผู้ใช้งานระบบทั้งัมีอีเมล์สาหรับติดต่อทีมงานและมีแสดงคู่มือการใช้ งานระบบ Course Networking รูปที่ 13 เมนูด้านของของ CN POST CN Post Logo เมื่อคลิ๊กที่ จะทาการรีเฟรชหน้า Post รูปที่ 14 การ Post บนระบบ
  • 33. ในส่วนของ Post สามารถกดเพิ่มหัวข้อได้ที่ Add title เพื่อเพิ่มหัวข้อของโพสภายในโพสมีฟังก์ชั่น ให้ต่างๆให้แนบกับโพสดังนี้ - File สามารถแนบไฟล์ต่างๆเข้าไปในโพสได้ - Image สามารถแนบไฟล์รูปกับโพสได้ - Youtube สามารถแนบ URL Youtube กับโพสได้ - Link สามารถแนบ Link ต่างๆกับโพสได้ - Scorm สามารถแนบไฟล์ zip กับโพสได้โดยกาหนดให้ไม่เกิน 200 MB - Visible to ในส่วนนี้สามารถเลือกหัวข้อที่ต้องการให้Post แสดงได้ Poll รูปที่ 15 การสร้าง Poll - Question ในส่วนของ poll สามารถกดเพิ่มหัวข้อได้ที่ Add title เพื่อเพิ่มหัวข้อของPoll ภายใน Poll มี ฟังก์ชั่น ให้ต่างๆให้แนบ กับ Poll ดังนี้ - File สามารถแนบไฟล์ต่างๆเข้าไปในโพสได้ - Image สามารถแนบไฟล์รูปกับโพสได้ - Youtube สามารถแนบ URL Youtube กับโพสได้ - สามารถแนบ Link ต่างๆ กับโพสได้
  • 34. - Question type สามารถเลือกรูปแบบของ Question ได้หลากหลายเช่น multiple choice, true- false เป็นต้น - Question Response สามารถเลือกหัวข้อสาหรับตอบกลับเมื่อมีการตอบถูก - Visible to ในส่วนนี้สามารถเลือกหัวข้อที่ต้องการให้โพสแสดงได้ - Add a new question สามารถเพิ่มคา ถามภายใน Poll ได้ Event - Title ในส่วนนี้สามารถเพิ่มชื่อหัวข้อของ Event - Where ในส่วนนี้สามารถเพิ่มสถานที่จัด Event ได้ - Description ในส่วนนี้สามารถพิมพ์ข้อมูลของ Event กาหนดตัวอักษรไม่เกิน1500 ตัว มีฟังก์ชั่น ให้ต่างๆให้แนบด้งนี้ - File สามารถแนบไฟล์ต่างๆเข้าไปในโพสได้ - Image สามารถแนบไฟล์รูปกับโพสได้ - Youtube สามารถแนบ URL Youtube กับโพสได้ - สามารถแนบ Link ต่างๆกบัโพสได้ - Date วันที่จัด Event - Time เวลาที่จัด Event - Visible to ในส่วนนี้สามารถเลือกหัวข้อที่ต้องการให้Event แสดงได้ รูปที่ 16 การสร้าง Event
  • 35. Condition , Search , My class , Profile Condition ในส่วนของ Condition จะเป็นการจัดการข้อมูลที่จะให้แสดงบน Timeline ของคอร์ส เช่น แสดง เฉพาะPost , แสดงเฉพาะPoll , แสดงเฉพาะEvent หรือแสดงทั้งตามที่มีผู้ใช้ระบบได้สร้างไว้ผู้ใช้สามารถ Sort by ตามหัวข้อ ต่างๆที่มีให้ เลือกได้ Search ในส่วนของSearch จะเป็นการค้นหา Post ต่างๆที่มีในคอร์ส My class ในส่วนของ My class จะเป็นการกรองข้อมูลแบบ Filter เพื่อที่จะให้แสดงบน Timeline โดยมี หัวข้อ ต่างๆให้เลือกมากมายเช่น เลือกจาก Group , Class ,The world เป็นต้น Profile ในส่วนของProfile เมื่อคลิ๊กแล้วจะพาผู้ใช้ไปสู่หน้าโปรไฟล์ของตัวเอง รูปที่ 17 การเลือกเงื่อนไขการแสดงข้อมูล
  • 36. ระบบประชุมอิเล็กทรอนิกส์ เป็นระบบที่นาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารมาอานวยความสะดวกในการดาเนินการ ประชุม เริ่มตั้งแต่การจัดเตรียม ระเบียบวาระการประชุม การนาเรื่องที่เสนอ เข้าสู่วาระต่างๆ ตามระเบียบ ปฏิบัติของ หน่วยงานในการประชุมแต่ละครั้ง และการ เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชุมดูวาระการ ประชุมที่ อยู่ในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ล่วงหน้าก่อนการประชุม และในระหว่างดาเนินการประชุมผ่านทาง หน้าจอคอมพิวเตอร์ของตนเองได้ ระบบจัดการการประชุม ETDA e-meeting หัวใจสาคัญของการดาเนินงานประชุม คือ การบริหารจัดการประชุมตั้งแต่ก่อนเริ่มประชุม ระหว่าง ประชุม จนถึงการบันทึกสาระสาคัญของการประชุมได้ถูกต้องครบถ้วน ตรงประเด็น และสามารถแจ้ง รายละเอียดข้อมูลที่สาคัญของการประชุมไปยังคณะกรรมการบริหาร ผู้บริหารระดับสูง หรือผู้เกี่ยวข้องได้ ภายหลังจากสิ้นสุดการประชุม เพื่อให้มีการดาเนินงานตามมติที่ได้รับมอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น ทีมจัดการประชุมจะต้องมีการวางแผนและตระเตรียมการจัดการประชุมด้วยความมุ่งมั่น ใส่ใจ ในทุกรายละเอียด เพราะจะทาให้สามารถดาเนินการประชุมได้อย่างถูกต้อง ทันเวลาที่กาหนด ซึ่งจาก ภาระหน้าที่ดังกล่าวทีมจัดการประชุมต้องดาเนินการตามแผนงานที่กาหนด คือ การจัดเตรียมวาระการ ประชุม เอกสารประกอบการประชุม และดาเนินการจัดประชุม และการจัดทารายงานการประชุม ซึ่งจาก กระบวนการที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นแต่เดิมนั้นจาเป็นต้องใช้กระดาษจานวนไม่น้อยกว่า ๑ ลีมหรือ ๕๐๐ แผ่น จนถึง ๕ ลีมหรือ ๒,๕๐๐ แผ่น ในการผลิตเอกสารแต่ละครั้งตั้งแต่การยกร่างเอกสารจนมีการตรวจเอกสารสิ้นสุดสมบูรณ์เพื่อนาเข้าสู่ ห้องประชุมในวันประชุมจริง ซึ่งถือว่ามีความสิ้นเปลืองทรัพยากรและต้นทุนในการจัดการประชุมที่มาก จนเกินไปในการประชุมแต่ละครั้ง ดังนั้น จากสภาพปัญหาดังกล่าว สพธอ. จึงได้ตระหนักความสาคัญใน
  • 37. การนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดเตรียมเอกสารประกอบการประชุม เพื่อให้เกิดความ รวดเร็ว ลดต้นทุนและประหยัดทรัพยากร จึงได้เกิดเป็นระบบจัดการการประชุม ETDA e-meeting ขึ้นมา ระบบ ETDA e-meeting เป็ นระบบจัดการการประชุมภายในของสานักพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถพิจารณาเอกสารประกอบการประชุมผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต ด้วยมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัย โดยผู้ที่มีสิทธิ์ใช้งานระบบจะมี Username และ Password เพื่อเข้าสู่ระบบการประชุมทางออนไลน์ที่ตนเองมีสิทธิ์เข้าถึงในแต่ละการประชุมที่ผู้ดูแลระบบ เป็นผู้จัดการสิทธิ์การเข้าถึงไว้ โดยผู้ใช้งานระบบจะสามารถเรียกดูข้อมูลประกอบการประชุมที่อัพเดทได้ ตลอดเวลาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงหรือเอกสารมีการอัพเดททีมจัดการประชุมก็จะไม่ต้องมีการจัดพมพ์ เอกสารกระดาษใหม่ในทุกๆ ครั้ง เพียงกดปุ่ม Refresh ที่ Browser ก็จะสามารถพิจารณาเอกสารที่อัพเดท ล่าสุดได้แล้ว อีกทั้งหากต้องการสั่งพิมพ์เอกสารกระดาษออกจากระบบก็สามารถดาเนินการได้อย่างง่ายดาย โดยกดปุ่มพิมพ์ออก (Print) เท่านั้น ดังนั้น จะเห็นได้ว่าเมื่อมีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อพัฒนาเป็นระบบจัดการการประชุม ETDA e-meeting ก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการประชุมอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็ น ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว และสามารถเรียกดูวาระการประชุมย้อนหลังได้เสมอๆ อีก ทั้งยังทาให้เกิดการประหยัดระยะเวลา อัตรากาลัง ทรัพยากรกระดาษ หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน ซึ่ง สานักงานจะต้องจ่ายงบประมาณจานวนไม่น้อยในการประชุมแต่ละครั้ง ทั้งนี้ ในปัจจุบัน สพธอ. ก็ได้นา ระบบการประชุม ETDA e-Meeting มาใช้กับทุกการประชุมภายใน สพธอ. แล้ว และไม่เพียงเท่านี้ยังมี หน่วยงานอื่นๆ ที่มีความสนใจในการนาระบบ ETDA e-Meeting ได้ประสานความร่วมมือกับ สพธอ. ใน การนาระบบไปใช้งาน เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการประชุมด้วยเช่นกัน ดังนั้น เมื่อทราบถึงประโยชน์ มากมายที่จะได้รับจากระบบ ETDA e-Meeting แล้ว ก็อยากจะชวนผู้อ่านมาดูกันว่าระบบมีหน้าตาและการ ทางานอย่างไร โดยสรุปการใช้งานง่ายๆ ดังนี้ การใช้งานระบบจัดการการประชุม การเข้าใช้งานระบบ สามารถเข้าได้จาก 2 ช่องทาง คือ 1. จาก web browser พิมพ์https://meeting.etda.or.th/meeting/ 2. จาก Icon ETDA Meeting ใน iPad เมื่อเข้าโปรแกรมมาจะพบหน้า Sign In 1. ใส่ User Name 2. ใส่ Password 3. กด Sign In เพื่อเข้าสู่ระบบ
  • 38. 4. ในการเข้าระบบครั้งแรก เพื่อความปลอดภัย ระบบจะบังคับให้เปลี่ยนรหัสผ่านก่อน 1 ครั้ง หน้าจอเปลี่ยนรหัสผ่าน จะปรากฎขึ้นมาเมื่อเข้าระบบครั้งแรก 1. ใส่รหัสผ่านเก่า 2. ใส่รหัสผ่านใหม่ (รหัสผ่านใหม่ต้องมีความยาวอย่างน้อย 8 ตัวอักษร) 3. ใส่รหัสผ่านใหม่อีกครั้ง 4. กด Submit เพื่อยืนยันการเปลี่ยนรหัสผ่าน Main Screen 5. ปุ่ม Sign Out 6. ปุ่ม Back สาหรับกลับไปยังหน้าที่ผ่านมา 7. ปุ่ม Home เพื่อกลับไปยังหน้าแรก 8. ปุ่ม Law ดูรายละเอียด กฎหมายทั่วไป, ระเบียบ ข้อบังคับ สพธอ. , กฎระเบียบของหน่วยงานอื่นๆ ซึ่งเป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการประชุม 9. บริเวณที่แสดงการประชุมทั้งหมด ที่ท่านเข้าร่วม ท่านสามารถคลิกที่การประชุม เพื่อเข้าดู รายละเอียด 10. แสดงรายชื่อการประชุม 11. แสดงรายการวาระการประชุมย่อยๆ ในการประชุมครั้งหนึ่ง 12. ท่านสามารถคลิกที่ Icon เพื่อเข้าดูเอกสารประกอบการประชุม
  • 39. ดังนั้นจะเห็นว่ารูปแบบและวิธีการเรียกใช้ข้อมูล ETDA e-Meeting ช่างมีความสะดวกง่ายดาย และ สามารถเข้าใจได้ง่ายไม่มีความซับซ้อน และที่สาคัญหากสังเกตกันอีกซักนิดการเรียกดูระบบการประชุมผ่าน Web Browser ก็ยังมีความมั่นคงปลอดภัยผ่าน https (Hypertext Transfer Protocol over Secure Socket Layer ) และสมทบด้วยการเข้าถึงข้อมูลด้วย Username และ Password เฉพาะบุคคลทาให้มั่นใจได้ว่าข้อมูล ประกอบการประชุมจะมีความมั่นคงปลอดภัยด้วยเช่นกัน