SlideShare a Scribd company logo
1
ใบความรูที่ 2
รายวิชา เคมี รหัสวิชา ว30102 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิก สอนโดย นางสาวจิตตา สํานักนิตย
จุดประสงคการเรียนรู
- สามารถอธิบายสมบัติของสารประกอบไอออนิกได
สมบัติของสารประกอบไอออนิก
1. มีขั้ว เพราะสารประกอบไอออนิกไมไดเกิดขึ้นเปนโมเลกุลเดี่ยว แตจะเปนของแข็งซึ่งประกอบดวย
ไอออนจํานวนมาก ซึ่งยึดเหนี่ยวกันดวยแรงยึดเหนี่ยวทางไฟฟา
2. ไมนําไฟฟาเมื่ออยูในสภาพของแข็ง แตจะนําไฟฟาไดเมื่อใสสารประกอบไอออนิกลงในน้ํา
ไอออนจะแยกออกจากกัน ทําใหสารละลายนําไฟฟาในทํานองเดียวกันสารประกอบที่หลอมเหลวจะนําไฟฟา
ไดดวยเนื่องจากเมื่อหลอมเหลวไอออนจะเปนอิสระจากกัน เกิดการไหลเวียนอิเล็กตรอนทําใหอิเล็กตรอน
เคลื่อนที่จึงเกิดการนําไฟฟา
3. มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง ความรอนในการทําลายแรงดึงดูดระหวางไอออนใหกลายเปน
ของเหลวตองใชพลังงานสูง
4. สารประกอบไอออนิกทําใหเกิดปฏิกิริยาไอออนิก คือ ปฏิกิริยาระหวางไอออนกับไอออน ทั้งนี้
เพราะสารไอออนิกจะเปนไอออนอิสระในสารละลาย ปฏิกิริยาจึงเกิดทันที
5. สมบัติไมแสดงทิศทางของพันธะไอออนิก สารประกอบไอออนิกเกิดจากไอออนที่มีประจุตรงกัน
ขามรอบ ๆ ไอออนแตละไอออนจะมีสนามไฟฟาซึ่งไมมีทิศทาง จึงทําใหเกิดสมบัติไมแสดงทิศทางของพันธะไอ
ออนิก
6. เปนผลึกแข็ง แตเปราะและแตกงาย
7. การละลาย มีทั้งละลายได (ละลายไดดี ละลายไดเล็กนอย) และไมละลาย
ชื่อ........................................................
ชั้น.......................เลขที่........................
2
สมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก
สาร สูตร จุดหลอมเหลว
(°C)
จุดเดือด
(°C)
สภาพละลายไดในน้ํา
ณ อุณหภูมิ 20 °C
(g/100 cm3
)
แคลเซียมคลอไรด CaCl2 782 1600 74.5
โซเดียมคลอไรด NaCl 801 1413 35.7
โซเดียมคารบอเนต Na2CO3 851 แยกสลาย 7.1
โซเดียมไฮดรอกไซด NaOH 318.4 1390 42
แบเรียมซัลเฟต BaSO4 1580 - 0.000246 ที่ 15 °C
โพแทสเซียมออกไซด K2O
350
(แยกสลาย)
1320-1324 107.0
โพแทสเซียมไฮดรอกไซด KOH 360 1505 92.3
อะลูมิเนียมออกไซด Al2O3 2072 2980 ไมละลาย
สรุปการละลายน้ําของสารประกอบไอออนิก
1. สารประกอบไอออนิกทุกชนิดที่ละลายน้ําได จะตองมีพลังงานเปลี่ยนแปลงควบคูกันไปเสมอ อาจ
เปนแบบคายพลังงานหรือดูดพลังงาน
2. สารประกอบไอออนิกที่ละลายน้ําได เกิดในกรณีที่แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลของน้ํากับไอออนของ
ผลึกไอออนิกมากกวาแรงยึดเหนี่ยวระหวางไอออนบวกและไอออนลบของผลึกไอออนิกนั้น
3. สารประกอบไอออนิกที่ไมละลายน้ําหรือละลายน้ําไดนอยมาก เกิดในกรณีที่แรงดึงดูดระหวาง
โมเลกุลของน้ําไมสามารถแยกไอออนจากผลึกไดโดยไอออนบวก และไอออนลบของผลึกไอออนิกดึงดูดแรง
มาก
4. สารประกอบไอออนิกใดละลายน้ําไดมาก จะอิ่มตัวชา และถาสารประกอบไอออนิกใดที่ละลายน้ํา
ไดนอยจะอิ่มตัวเร็ว
5. สภาพการละลายไดของสาร คือ ความสามารถของสารที่ละลายในตัวทําละลายจนอิ่มตัวแต
ความสามารถในการละลายของสารประกอบไอออนิกจะมากแคไหนขึ้นอยูกับอุณหภูมิและชนิดของสาร
สําหรับการบอกความสามารถในการละลายโดยมากมักจะบอกหยาบ ๆ ดังนี้
ตัวถูกละลาย < 0.1 g / H2O 100 g ที่ 25 0
C = แสดงวาไมละลาย
ตัวถูกละลาย 0.1 - 1 g / H2O 100 g ที่ 25 0
C = แสดงวาละลายไดเล็กนอยหรือละลายไดบางสวน
ตัวถูกละลาย > 1 g / H2O 100 g ที่ 25 0
C = แสดงวาละลายไดดี
3
ตารางที่ 1 ความสามารถในการละลายในน้ําของสารประกอบไอออนิกที่เกิดจากไออนบวกและ
ไอออนลบชนิดตาง ๆ
ไอออนบวก (Cations) ไอออนลบ (Anions) ความสามารถในการละลาย
ในน้ําของสารประกอบ
1. ไอออนบวกของแอลคาไล (ธาตุหมู 1A)
Li+
,Na+
, K+
, Rb+
,Cs+
, Fr+
ไอออนลบทุกชนิด ละลายได
2. ไฮโดรเจนไอออน (H+
(aq)) ไอออนลบทุกชนิด ละลายได
3. แอมโมเนียมไอออน (NH4
+
) ไอออนลบทุกชนิด ละลายได
4. ไอออนบวกทุกชนิด ไนเตรต (NO3
-
) ละลายได
5. ไอออนบวกทุกชนิด อะซิเตต (CH3COO-
) ละลายได
6. Ag+
, Pb2+
, Hg2
2+
, Cu+
ไอออนบวกชนิดอื่น ๆ
คลอไรด Cl-
โบรไมด Br-
ไอโอไดด I-
ละลายไดเล็กนอย
ละลายได
7. Ag+
, Ca2+
, Sr2+
, Ba2+
, Pb2+
ไอออนบวกชนิดอื่น
ซัลเฟต (SO4
2-
)
ซัลเฟต (SO4
2-
)
ละลายไดเล็กนอย
ละลายไดเล็กนอย
8. ไอออนแอลคาไล (ธาตุหมู 1A) H+
NH4
+
, Be2+
, Mg2+
, Sr2+
, Ba2+
ไอออนบวกชนิดอื่น
ซัลไฟด S2-
ซัลไฟด S2-
ซัลไฟด S2-
ละลายได
ละลายได
ละลายไดเล็กนอย
9. ไอออนแอลคาไล, H+
, NH4
+
, Sr2+
, Ba2+
ไอออนบวกชนิดอื่น
ไฮดรอกไซด (OH-
)
ไฮดรอกไซด (OH-
)
ละลายได
ละลายไดเล็กนอย
10. ไอออนแอลคาไล, H+
, NH4
+
ไอออนบวกชนิดอื่น
ฟอสเฟต (PO4
3-
)
คารบอเนต (CO3
2-
)
ซัลไฟต (SO3
2-
)
ละลายได
ละลายไดเล็กนอย
เพิ่มเติม
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
พัน พัน
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
oraneehussem
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกTANIKAN KUNTAWONG
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Sircom Smarnbua
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
Phanuwat Somvongs
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
Saipanya school
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
Kapom K.S.
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
Phanuwat Somvongs
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
Taweesak Poochai
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
Phanuwat Somvongs
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
Manchai
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 

Viewers also liked

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก kruannchem
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิกkruannchem
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
oraneehussem
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
oraneehussem
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
Saipanya school
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
kkrunuch
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
oraneehussem
 
Moghleag present
Moghleag presentMoghleag present
Moghleag presentOhzaa Oh
 
Lo que cuentan los tehuelches
Lo que cuentan los tehuelchesLo que cuentan los tehuelches
Lo que cuentan los tehuelchesluisreggiardo
 
ตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีtum17082519
 
พันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bondsพันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bonds
BELL N JOYE
 
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
Por Oraya
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบชัยยันต์ ไม้กลาง
 

Viewers also liked (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
Moghleag present
Moghleag presentMoghleag present
Moghleag present
 
Lo que cuentan los tehuelches
Lo que cuentan los tehuelchesLo que cuentan los tehuelches
Lo que cuentan los tehuelches
 
ตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรี
 
Sk7 ch
Sk7 chSk7 ch
Sk7 ch
 
กรด เบส 1
กรด เบส 1กรด เบส 1
กรด เบส 1
 
พันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bondsพันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bonds
 
Chemical bond
Chemical bondChemical bond
Chemical bond
 
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
 

ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก

  • 1. 1 ใบความรูที่ 2 รายวิชา เคมี รหัสวิชา ว30102 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิก สอนโดย นางสาวจิตตา สํานักนิตย จุดประสงคการเรียนรู - สามารถอธิบายสมบัติของสารประกอบไอออนิกได สมบัติของสารประกอบไอออนิก 1. มีขั้ว เพราะสารประกอบไอออนิกไมไดเกิดขึ้นเปนโมเลกุลเดี่ยว แตจะเปนของแข็งซึ่งประกอบดวย ไอออนจํานวนมาก ซึ่งยึดเหนี่ยวกันดวยแรงยึดเหนี่ยวทางไฟฟา 2. ไมนําไฟฟาเมื่ออยูในสภาพของแข็ง แตจะนําไฟฟาไดเมื่อใสสารประกอบไอออนิกลงในน้ํา ไอออนจะแยกออกจากกัน ทําใหสารละลายนําไฟฟาในทํานองเดียวกันสารประกอบที่หลอมเหลวจะนําไฟฟา ไดดวยเนื่องจากเมื่อหลอมเหลวไอออนจะเปนอิสระจากกัน เกิดการไหลเวียนอิเล็กตรอนทําใหอิเล็กตรอน เคลื่อนที่จึงเกิดการนําไฟฟา 3. มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง ความรอนในการทําลายแรงดึงดูดระหวางไอออนใหกลายเปน ของเหลวตองใชพลังงานสูง 4. สารประกอบไอออนิกทําใหเกิดปฏิกิริยาไอออนิก คือ ปฏิกิริยาระหวางไอออนกับไอออน ทั้งนี้ เพราะสารไอออนิกจะเปนไอออนอิสระในสารละลาย ปฏิกิริยาจึงเกิดทันที 5. สมบัติไมแสดงทิศทางของพันธะไอออนิก สารประกอบไอออนิกเกิดจากไอออนที่มีประจุตรงกัน ขามรอบ ๆ ไอออนแตละไอออนจะมีสนามไฟฟาซึ่งไมมีทิศทาง จึงทําใหเกิดสมบัติไมแสดงทิศทางของพันธะไอ ออนิก 6. เปนผลึกแข็ง แตเปราะและแตกงาย 7. การละลาย มีทั้งละลายได (ละลายไดดี ละลายไดเล็กนอย) และไมละลาย ชื่อ........................................................ ชั้น.......................เลขที่........................
  • 2. 2 สมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก สาร สูตร จุดหลอมเหลว (°C) จุดเดือด (°C) สภาพละลายไดในน้ํา ณ อุณหภูมิ 20 °C (g/100 cm3 ) แคลเซียมคลอไรด CaCl2 782 1600 74.5 โซเดียมคลอไรด NaCl 801 1413 35.7 โซเดียมคารบอเนต Na2CO3 851 แยกสลาย 7.1 โซเดียมไฮดรอกไซด NaOH 318.4 1390 42 แบเรียมซัลเฟต BaSO4 1580 - 0.000246 ที่ 15 °C โพแทสเซียมออกไซด K2O 350 (แยกสลาย) 1320-1324 107.0 โพแทสเซียมไฮดรอกไซด KOH 360 1505 92.3 อะลูมิเนียมออกไซด Al2O3 2072 2980 ไมละลาย สรุปการละลายน้ําของสารประกอบไอออนิก 1. สารประกอบไอออนิกทุกชนิดที่ละลายน้ําได จะตองมีพลังงานเปลี่ยนแปลงควบคูกันไปเสมอ อาจ เปนแบบคายพลังงานหรือดูดพลังงาน 2. สารประกอบไอออนิกที่ละลายน้ําได เกิดในกรณีที่แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลของน้ํากับไอออนของ ผลึกไอออนิกมากกวาแรงยึดเหนี่ยวระหวางไอออนบวกและไอออนลบของผลึกไอออนิกนั้น 3. สารประกอบไอออนิกที่ไมละลายน้ําหรือละลายน้ําไดนอยมาก เกิดในกรณีที่แรงดึงดูดระหวาง โมเลกุลของน้ําไมสามารถแยกไอออนจากผลึกไดโดยไอออนบวก และไอออนลบของผลึกไอออนิกดึงดูดแรง มาก 4. สารประกอบไอออนิกใดละลายน้ําไดมาก จะอิ่มตัวชา และถาสารประกอบไอออนิกใดที่ละลายน้ํา ไดนอยจะอิ่มตัวเร็ว 5. สภาพการละลายไดของสาร คือ ความสามารถของสารที่ละลายในตัวทําละลายจนอิ่มตัวแต ความสามารถในการละลายของสารประกอบไอออนิกจะมากแคไหนขึ้นอยูกับอุณหภูมิและชนิดของสาร สําหรับการบอกความสามารถในการละลายโดยมากมักจะบอกหยาบ ๆ ดังนี้ ตัวถูกละลาย < 0.1 g / H2O 100 g ที่ 25 0 C = แสดงวาไมละลาย ตัวถูกละลาย 0.1 - 1 g / H2O 100 g ที่ 25 0 C = แสดงวาละลายไดเล็กนอยหรือละลายไดบางสวน ตัวถูกละลาย > 1 g / H2O 100 g ที่ 25 0 C = แสดงวาละลายไดดี
  • 3. 3 ตารางที่ 1 ความสามารถในการละลายในน้ําของสารประกอบไอออนิกที่เกิดจากไออนบวกและ ไอออนลบชนิดตาง ๆ ไอออนบวก (Cations) ไอออนลบ (Anions) ความสามารถในการละลาย ในน้ําของสารประกอบ 1. ไอออนบวกของแอลคาไล (ธาตุหมู 1A) Li+ ,Na+ , K+ , Rb+ ,Cs+ , Fr+ ไอออนลบทุกชนิด ละลายได 2. ไฮโดรเจนไอออน (H+ (aq)) ไอออนลบทุกชนิด ละลายได 3. แอมโมเนียมไอออน (NH4 + ) ไอออนลบทุกชนิด ละลายได 4. ไอออนบวกทุกชนิด ไนเตรต (NO3 - ) ละลายได 5. ไอออนบวกทุกชนิด อะซิเตต (CH3COO- ) ละลายได 6. Ag+ , Pb2+ , Hg2 2+ , Cu+ ไอออนบวกชนิดอื่น ๆ คลอไรด Cl- โบรไมด Br- ไอโอไดด I- ละลายไดเล็กนอย ละลายได 7. Ag+ , Ca2+ , Sr2+ , Ba2+ , Pb2+ ไอออนบวกชนิดอื่น ซัลเฟต (SO4 2- ) ซัลเฟต (SO4 2- ) ละลายไดเล็กนอย ละลายไดเล็กนอย 8. ไอออนแอลคาไล (ธาตุหมู 1A) H+ NH4 + , Be2+ , Mg2+ , Sr2+ , Ba2+ ไอออนบวกชนิดอื่น ซัลไฟด S2- ซัลไฟด S2- ซัลไฟด S2- ละลายได ละลายได ละลายไดเล็กนอย 9. ไอออนแอลคาไล, H+ , NH4 + , Sr2+ , Ba2+ ไอออนบวกชนิดอื่น ไฮดรอกไซด (OH- ) ไฮดรอกไซด (OH- ) ละลายได ละลายไดเล็กนอย 10. ไอออนแอลคาไล, H+ , NH4 + ไอออนบวกชนิดอื่น ฟอสเฟต (PO4 3- ) คารบอเนต (CO3 2- ) ซัลไฟต (SO3 2- ) ละลายได ละลายไดเล็กนอย เพิ่มเติม ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................