SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
ตารางธาตุ
ความเปนมาตารางธาตุ
Dobereiner ตั้งกฎ Triad กลาววา เมื่อเรียงธาตุไปตามมวลอะตอม จะพบวา ธาตุที่ตรงกลางจะมีมวล
ใกลเคียงกับคาเฉลี่ยของมวลอะตอมทั้งสองที่อยูใกล เชน
มวลอะตอม Li = 7.0
มวลอะตอม Na = 23.05
มวลอะตอม K = 39.1
Newland ตั้งกฎ Octave กลาววา เมื่อเรียงธาตุไปตามมวลที่เพิ่มขึ้น 8 ธาตุ จะพบวาธาตุที่ 9 มีสมบัติ
เหมือนธาตุที่ 1 และธานที่ 16 มีสมบัติเหมือนธาตุที่ 8 เชน
Li Be B C N O F Ne
Na Mg Al Si P S Cl Ar
หรือกลาววาเมื่อเรียงธาตุไป 7 ธาตุ ธาตุที่ 8 จะมีสมบัติเหมือนธาตุที่ 1 ยกเวนธาตุเฉื่อย เชน
H Li Be B C N O
F Na Mg Al Si P S
Mendeleev ตั้งกฎ Periodic กลาววา เมื่อเรียงธาตุไปตามมวลอะตอมที่เพิ่มขึ้น จะพบวา มีคุณสมบัติ
คลายกัน ยกเวนบางทีตองสลับที่กัน เชน K กับ Ar นอกจากนี้ยังเวนชองวางไวสําหรับธาตุที่ยัง
ไมคนพบพรอมทั้งทํานายสมบัติและตั้งชื่อธาตุนั้นดวย
เชน Eka Silicon - Ge
Eka Aluminium - Ga
Eka Boron - Sc
Moseley ไดปรับปรุงตารางของ Mendeleev โดยเรียงธาตุตาง ๆ ตามเลขอะตอมจากนอยไปมาก จะพบวา
มีคุณสมบัติสอดคลองในแนวดิ่งมากกวามวลอะตอมและใชในปจจุบัน
การอานธาตุระบบ IUPAC
0 – nil 1 – un 2 – bi 3 – tri 4 – quad
5 – Pent 6 – hex 7 - sept 8 – oct 9 – en
103 = unt 104 =
105 = 106 =
108 = 118 = uuo = Ununoctium
www.tutorferry.com/
67
เลขออกซิเดชั่น
เปนตัวเลขที่แสดงถึงประจุไฟฟาสมมติของอนุภาคตาง ๆ อาจเปนอะตอมโมเลกุลหรืออิออนก็ได
ขอกําหนดเกี่ยวกับเลขออกซิเดชัน
1. เลขออกซิเดชันอาจเปนบวกลบหรือศูนยก็ได
2. เลขออกซิเดชันมีเครื่องหมายนําหนาตัวเลข สวนประจุจะมีตัวเลขนําหนาเครื่องหมาย
3. เลขออกซิเดชันอาจเปนจํานวนเต็มหรือเศษสวนก็ได
4. พวกอิออนิก โลหะจะมีเลขออกซิเดชันเปนบวกสวนอโลหะจะมีเลขออกซิเดชันเปนลบ
5. พวกโควาเลนต ธาตุที่มีคา EN. มากจะมีเลขออกซิเดชันเปนลบ EN นอยจะเปนบวก
6. ธาตุหมู 1,2,3 จะมีเลขออกซิเดชันเปน +1, +2, +3 ตามลําดับ
7. ธาตุอโลหะ และทรานสิชันจะมีเลขออกซิเดชันไดหลายคา
8. ธาตุในภาวะอิสระและโมเลกุลของธาตุจะมีเลขออกซิเดชันเปนศูนย
9. ผลรวมของเลขออกซิเดชันของธาตุทุกตัวในสารประกอบมีคาเปนศูนย
10. พวกอิออน หรืออนุมูลของสารจะมีเลขออกซิเดชันเทากับประจุของอนุภาคนั้น
โจทย จงหาเลขออกซิเดชันของธาตุ Mn ใน K2 MnO4 และ P ใน HPO −2
4
K2 MnO4 ⇒ Mn = HPO −2
4 ⇒ P =
โจทย จงหาเลขออกซิเดชันของธาตุตอไปนี้
NaClO3 ⇒ Cl = K2Cr2O7 ⇒ Cr =
Li3Fe(CN)6 ⇒ Fe = C6H12O6 ⇒ C =
[CoCl6] 3-
⇒ Co = C2O −2
4 ⇒ C =
Ni(CO)4 ⇒ Ni = Zn Fe (SO4)2 ⇒ Fe =
[Co(H2O)4](IO4)2 ⇒ Co = Au3(VO4)2 ⇒ V =
[Cr(H2O)2(NH3)2 NO2Cl]Cl2 ⇒ Cr =
คุณสมบัติตามหมูของธาตุ
ธาตุหมู 8 - Inert gas Rere gas Noble gas groupO
- มี 6 ธาตุ คือ He Ne Ar Kr Xe Rn
1. มีเวเลนตอิเลคตรอนเทากับ 8 ยกเวน He = 2
2. จุดหลอมเหลว จุดเดือดตํ่า
3. การแยกกาซเฉื่อยออกจากอากาศ ⇒อากาศ อากาศเหลว กาซเฉื่อย
4. ไมทําปฏิกริยากับธาตุอื่น ยกเวน Kr และ Xe กับ F และ O
5. ใสในหลอดแทนอากาศทําใหใสหลอดทนทาน
6. ใสในหลอดภายใตความดันตํ่า ด.ต.ศ. สูง
Ne – แดงสม Ar – มวง Kr – นํ้าเงิน
43
www.tutorferry.com/
68
ธาตุหมู 1 - Alkali Metal
- มี 6 ธาตุ คือ Li Na K Rb Cs Fr
1. มีเวเลนตอิเลคตรอน = 1
2. MP BP สูง
3. พบในสภาพสารประกอบ ถาตองการแยกธาตุหมู 1 ทําไดโดยผานกระแสไฟฟาลงในสารหลอมเหลว หรือ
สารละลายอิ่มตัวจะไดธาตุหมู 1 ที่ขั้วลบ
4. E° นอยเปนตัว Reduce ที่ดี
5. เปนโลหะที่แข็งแรงแตออน นําไฟฟาไดดี รอยตัดใหมเปนมันวาว ทิ้งไวในอากาศจะหมอง ทําปฏิกริยากับนํ้า
ไดดีจึงเก็บไวในนํ้ามัน
6. ทําปฏิกริยากับ O2 ได Ox ide ของโลหะซึ่งเมื่อละลายนํ้าจะไดสารละลายเบส
Na + O2 → Na2O H2O> NaOH
K + O2 → H2O>
7. ทําปฏิกิริยากับ H2O รวดเร็วและรุนแรงไดสารละลายเบสกับกาซ H2
Na + H2O → NaOH + H2
K + H2O →
8. สารประกอบหมู 1 ทุกชนิดละลายนํ้าไดดี
9. เมื่อเผาสารประกอบหมู 1 จะใหเปลวไฟสีตาง ๆ
Li – แดง Na – เหลือง K - มวง
ธาตุหมู 2 - Alkaline Earth Metal
- มี 6 ธาตุ คือ Be Mg Ca Sr Ba Ra
1. มีเวเลนตอิเลคตรอน = 2
2. Mp Bp สูง
3. การพบเชนเดียวกับธาตุ หมู 1
4. ปฏิกิริยาของธาตุหมู 2 จะคลายกับหมู 1 แตความวองไวและความรุนแรงของปฏิกริยาจะนอยกวา
Mg + O2 MgO ⎯⎯ →⎯
OH
2 Mg(OH)2
Ca + O2 ⎯⎯ →⎯
OH
2
Mg + H2O Mg(OH)2 + H2
Ca + H2O
5. การละลาย หมู 2
- พวก NO3
-
ละลายหมด
- พวก Halide ละลายหมด
- พวก SO −2
4 ไมละลายยกเวน Mg
-
พวก CO 2
3
−
, PO 3
4
−
ไมละลาย
www.tutorferry.com/
69
6. เมื่อเผาสารประกอบ หมู 2 จะไดเปลวไฟสีตาง ๆ
Ca - แดงอิฐ Sr - แดง Ba - เขียวอมเหลือง
ธาตุหมู 6 - Chalcogen
- มี 5 ธาตุ คือ O S Se Te Po
1. มีเวเลนตอิเลคตรอน = 6
2. E° มีคามาก ⇒ เปนตัว Oxidise
3. มี 2 สถานะ คือของแข็งและกาซ
4. ความเปนโลหะเพิ่มขึ้นจากบนลงลาง
5. พบทั้งสภาพอิสระและสภาพสารประกอบ
ธาตุหมู 7 - Halogen
- มี 5 ธาตุ คือ F Cl Br I At
1. มีเวเลนตอิเลคตรอน = 7
2. มี 3 สถานะ F2- กาซสีเหลืองออน Cl2– กาซสีเขียวออน
Br2 – ของเหลวสีนํ้าตาล I2– ของแข็งสีมวง
3. ละลายใน CCl4 ไดดีกวาใน H2O
Cl2 + CCl4 ไมมีสี
Br2 + CCl4 สีนํ้าตาล
I2 + CCl4 สีมวง
4. คา E° มาก ⇒ ตัว Oxidise ที่ดีมาก
5. พบทั้งสภาพอิสระและสารประกอบ
6. ทําปฏิกิริยา Redox กับสารละลาย Na2S
X2 + Na2S →2NaX + S
สมการอิออนิก คือ
7. ทําปฏิกริยาแทนที่กันได
F2 + 2 NaCl → Cl2 + 2 NaF เกิดได
Cl2 + 2 NaF → F2 + 2 NaCl ไมเกิด
สมการอิออนิก คือ
โจทย 3 เมื่อนําสารละลายตอไปนี้มาผสมกัน จงเขียนสมการแสดงการเปลี่ยนแปลงพรอมทั้งบอกสิ่งที่เกิดขึ้น
ก. BaCl2 + Na2CO3
ข. Ca(NO3)2 + K3PO4
www.tutorferry.com/
70
โจทย 4 ถาตองการตะกอน BaSO4 ควรนําสารใดมาผสมกัน
ก. Ba(NO3)2 + K2SO4
ข. Na2CO3 + BaCl2
ค. Ba3(PO4)2 + Li2SO4
ง. (NH4)2SO4 + BaBr2
โจทย 5 จงบอกสูตรของสาร A, B, C, D, E
(CaCO3)
1. A เปลวไฟสีแดงอิฐ (Ca)
(CaO) CO2
Oxide B + Oxide C
↓H2O ↓ Ca(OH)2
เบส D ตะกอน E
2. A + B C + D
↓ CCl4 ↓ ↓ AgNO3 ↓CS2
นํ้าตาล เปลวไฟ สีเหลือง ตะกอน E ละลายไดดี
3. A + B C + D
↓ CCl4 ↓ ↓ AgNO3 ↓CCl4
ไมมีสี เปลวไฟ สีมวง ตะกอน E สีมวง
(AgBr)
4. A + O2 Oxide B + Oxide C
↓ H4O ↓ H2O ↓H2O
เหม็น ไมละลาย กรด D
โจทย 6 ปฏิกิริยาขางลางนี้ ขอใดเกิดไดจริง
ก. 2NaI + Cl2 → 2NaCl + I2
ข. 2Br-
+ F2 → 2F-
+ Br2
ค. Br2 + 2I-
→ I2 + 2Br-
ง. I2 + 2KCl → 2KI + Cl2
โจทย 7 เมื่อผสม CaI2 + Cl2 จะเกิดการเปลี่ยนแปลง หรือไม ถาเกิดจะไดอะไรเมื่อเติม CCl4 3 หยด
(Br2) (Na2S) (NaBr) (S)
(AgBr)
(Ca(OH)2) (CaCO3)
www.tutorferry.com/
71
คุณสมบัติตามคาบของธาตุ
คาบ 2 Li Be B C N O F Ne
คาบ 3 Na Mg Al Si P S Cl Ar
1. มีเวเลนตอิเลคตรอนจาก 1 → 8
2. MP. BP. จะเพิ่มขึ้นถึง หมู 4 จากนั้นก็จะลดลง
3. คา E° จะเพิ่มขึ้นจากซาย → ขวา
4. ขนาดอะตอมจะลดลง
สารประกอบคลอไรด
1. โลหะคลอไรด
- สถานะเปนของแข็ง
- MP. BP สูง
- เมื่อละลายนํ้า หมู 1, 2 – กลาง
3 – กรด ยกเวน BeCl2 กรด
2. อโลหะคลอไรด
- สถานะเปนของเหลวและกาซ ยกเวน PCl5
- MP. BP ตํ่า ยกเวน PCl5
- เมื่อละลายนํ้าเปนกรด ยกเวน NCl3 CCl4 ไมละลายนํ้า
สารประกอบออกไซด
1. โลหะออกไซด
- สถานะเปนของแข็ง
- MP. BP. สูง
- เมื่อสารละลายนํ้าจะเปนเบส ยกเวน BeO Al2O3 SiO2 ไมละลายนํ้า B2O3 เปนกรด
หมายเหตุ Oxide ที่ไมละลายนํ้าอาจมีสมบัติเปนกรด หรือเบสได เชน BeO, Al2O3 เปนทั้งกรดและเบส
SiO2 เปนกรด
2. อโลหะออกไซด
- สถานะเปนของเหลวและกาซ ยกเวน P2O5
- MP. BP. ตํ่า ยกเวน P2O5
- เมื่อละลายนํ้าจะเปนกรด ยกเวน O2 เปนกลาง
www.tutorferry.com/
72
สารประกอบซัลไฟด
1. โลหะซัลไฟด
- สถานะเปนของแข็ง
- MP. BP. สูง
- เมื่อละลายนํ้าจะเปนเบส ยกเวน BeS ไมละลายนํ้า
2. อโลหะซัลไฟด
- สถานะเปนของเหลวและกาซ ยกเวน P2S5
- MP. BP. ตํ่า ยกเวน P2S5
- เมื่อละลายนํ้าจะเปนกรด ยกเวน CS2 S8 P2S5 ไมละลายนํ้า
ธาตุทรานสิชั่น
พวก d
ทรานสิชั่น
พวก f
คุณสมบัติของธาตุทรานสิชั่น
2 1Sc = 1s2
2s2
2p6
3s2
3p6
4s2
3d1
= [Ar] 4s2
3d1
= 2 8 9 2 = หมู 3B
22Ti = [Ar] 4s2
3d2
= 2 8 10 2 = หมู 4B
23V = = หมู 5B
24Cr = = หมู 6B
25Mn = = หมู 7B
26Fe = [Ar] 4s2
3d6
= 2 8 14 2 = หมู 8B
27Co = [Ar] 4s2
3d7
= 2 8 15 2 = หมู 8B
28Ni = [Ar] 4s2
3d8
= 2 8 16 2 = หมู 8B
29Cu = = หมู 1B
30Zn = = หมู 2B
1. มีเวเลนตอิเลคตรอน = 2 ยกเวน Cr กับ Cu
2. อิเลคตรอนตัวสุดทายจะลงทายดวย d – subshell
3. มีเลขออกซิเดชันหลายคา ยกเวน Sc และ Zn มีคาเดียว
4. เลขออกซิเดชันสูงสุดของทรานสิชั่นเปนของ Mn คือ +7
5. คา E° จะมีเครื่องหมายลบ ⇒ ตัว Reduce ยกเวน Cu มีเครื่องหมายบวก
(คาบ 4-7)
(คาบ 6-7)
3d
4d
5d
6d
Transition
Lanthanide
Actinide
Inner Transition
4
5 6 7
6
5
4
3
Sc Ti V Cr Mn Ee Co Ni Cu Zn
www.tutorferry.com/
73
6. เกิดสารประกอบจะมีสีตาง ๆ ยกเวน Sc และ Zn
โครเมียม Cr2O −2
7 = สม
CrO −2
4 = เหลือง
Cr3+
= เขียว
Cr2+
= นํ้าเงิน
มังกานิส MnO2 = ดํา
MnO−
4 = มวงแดง
MnO 2
4
−
= เขียว
Mn2+
= ชมพูออน(ไมมีสี)
Mn(OH)3 = นํ้าตาล
7. เปนโลหะที่มีความแข็งนําไฟฟาไดดี ความหนาแนนสูง
8. ถูกดึงดูดดวยแมเหล็ก และบางตัวยังเปนสารแมเหล็กดวย
9. สามารถเกิดสารประกอบเชิงซอนได
สารเชิงซอน = ion ⊕ + ion Θ
ion ⊕ + ion Θ เชิงซอน
ion ⊕ เชิงซอน + ion Θ
Ion เชิงซอน = Central atom + Ligand
↓ ↓
Transition ตัวจับ
Covalent หรือ Coordinate Covalent
การอานสารเชิงซอน
1. ถาเปนอิออนบวกเชิงซอน
- อานอิออนบวกกอนโดยเริ่มจาก Ligand พรอมทั้งบอกจํานวนจากนั้นอานทรานสิชั่น พรอม
ทั้งระบุคาเลขออกซิเดชัน
- อานอิออนลบ
2. ถาเปนอิออนลบเชิงซอน
- อานอิออนบวกกอน
- อานอิออนลบโดยเริ่มจาก Ligand พรอมทั้งบอกจํานวน จากนั้นอานทรานสิชันลงทายดวย
ate พรอมทั้งระบุเลขออกซิเดชั่น
Atom
moleule
ion
www.tutorferry.com/www.tutorferry.com/
74
ชื่อของลิแกนต
F-
= ฟลูออโร Cl-
= คลอโร
Br-
= โบรโม I-
= ไอโอโด
NO−
2 = ไนโตร O-2
= ออกโซ
NH3 = แอมมีน H2O = อาควอ
−2
3CO = คารบอเนโต CN-
= ไซยาโน
โจทย 8 จงอานชื่อสารหรืออิออนเชิงซอนตอไปนี้
ก. K3Fe(CN)6 Potassium hexacyano ferrate(III)
ข. Cu(NH3)4SO4 Tetramnine copper (II) sulfate
ค. [COCl6]4-
ง. [V(H2O)4]2+
จ. [Ni(NH3)4]2+
ฉ. [PtCl4]-
โจทย 9 จงเขียนสูตรของสารตอไปนี้
ก. Triaquo diammine Chloro Cobalt(V) Chloride
[Co(H2O)3(NH3)2Cl]Cl4
ข. Sodium hexacyano Ferrate ( II )
ค. Tetraquo nitro dibromo Manganese ( V ) iodide
โจทย 10 สาร A มีสูตร MCl4 6H2O เมื่อนํามาละลายนํ้าจะไดสาร B ซึ่งเมื่อเติม Ag NO3 มากเกินพอ จะเกิด
ตะกอนขาวเพียงครึ่งหนึ่งของทั้งหมด จงหาสูตรของสาร B
ก. [M(H2O)5Cl]Cl3
ข. [M(H2O)4Cl2]Cl2
ค. [M(H2O)3Cl3]Cl
ง. [M(H2O)2Cl4]H2O
โจทย 11 สารใดตอไปนี้เปนตัว Oxidise
ก. Zn(NO3)2 ข. K2MnO4
ค. Na2CrO4 ง. Sc(OH)3
โจทย 12 การศึกษาเกี่ยวกับสีของมังกานีส
สีเขียว A สีมวงแดง K2S ไมมีสี
[ ]3+
3 Cl-
[ ]2+
2 Cl-[ ]+
Cl-
www.tutorferry.com/www.tutorferry.com/
75
ก. เลขออกซิเดชั่นของ Mn…………………………………………………….
ข. อนุภาคของมังกานีส ……………………………………………………….
ค. หนาที่ของสาร A และ K2S …………………………………………………
ง. ปฏิกริยาของ Mn ในสมการสอง……………………………………………
เคมีนิวเคลียร
กัมมันตรังสี (Radioactivity) คือพลังงานที่ปลอยออกมาจากนิวเคลียสของอะตอม และธาตุที่ให
กัมมันตรังสีออกจากนิวเคลียส เรียกวา ธาตุกัมตรังสี ซึ่งอะตอมของธาตุที่ใหรังสีอออกมาไดเพราะนิวเคลียสไมเสถียร
กัมมันตรังสีบางชนิดเปนอนุภาคที่เล็กมาก บางชนิดมีลักษณะเปนคลื่น
ธาตุโดยทั่วไปอาจมี Isotope ที่เสถียรและไมเสถียรก็ไดซึ่งถาไมเสถียรมักเปนธาตุกัมมันตรังสีจะมีเลข
อะตอมตั้งแต 83 ขึ้นไป แตบางชนิดเลขอะตอมนอยแตมี Isotope ที่ไมเสถียรก็ได ซึ่งจะใหรังสีออกมาเพื่อถายเทพลัง
งานสวนเกินในรูปของรังสี จากนั้นก็จะอยูในสภาพเสถียร
ชนิดของรังสี
1. รังสีอัลฟา (∝) มีลักษณะเปนอนุภาคที่มีประจุไฟฟาบวก มีอํานาจเจาะทะลุนอย เปนแกนอะตอม
ของ He ซึ่งมีประจุ + 2 มวล 4 หนวย เชน
U238
92 Th234
90 + ∝4
2
สมการทั่วไป →Αb
a +Β−
−
4
2
b
a ∝4
2
2. รังสีเบตา ( β ) มีลักษณะเปนอนุภาคคือเปนอิเลคตรอนที่ออกจากนิวเคลียส ความเร็วสูง อํานาจ
เจาะทะลุมากกวาอนุภาคอัลฟา เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของนิวตรอนในนิวเคลียส แบงเปน 2 ชนิด คือ
เบตาลบ ชื่อวา เนกาตรอน ( eο
1− ) หรือ β -
เบตาบวก ชื่อวา โพสิตรอน ( eο
1+ ) หรือ β +
n1
0 p1
1 + eο
1−
n1
0 + eο
1+
Co60
27 Ni60
28 + eο
1− ⇒ การเกิดเนกาตรอน
In116
49 Sn116
48 + eο
1+ ⇒ การเกิดโพสิตรอน
สมการทั่วไป →Αb
a +Β+
b
a 1 eo
1−
3. รังสีแกมมา (γ ) เปนพลังงานที่ออกมาจากนิวเคลียสมีลักษณะเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา มีอํานาจเจาะทะลุ
มาก มีความยาวคลื่นสั้น พลังงานสูง รังสีแกมมาไมมีประจุจึงไมเบียงเบนในสนามไฟฟา มักเกิดกับ
ธาตุที่มีการปลอยอัลฟา หรือเบตาออกมาแตยังไดอนุภาคที่ไมเสถียร จึงมีการปรับตัวโดยการปลอยรังสี
แกมมาออกมา เชน Cs137
55
B
*137
56 Ba Ba137
56 + γ
สมการทั่วไป →Αb
a +Β−
−
*4
2
b
a ∝4
2
+Β−
−
4
2
b
a γ
www.tutorferry.com/
76
การเขียนสัญลักษณของสมการนิวเคลียร
Th232
90 Ra228
88 + He4
2 ⇒ Th232
90 ⎯→⎯∝
Ra228
88
Al27
13 + He4
2 Si30
14 + H1
1 ⇒ Al27
13 ( ∝, P) Si30
14
Co59
27 + n1
0
Co60
27 + γ ⇒ Co59
27 ( n,γ ) Co60
27
ปฏิกิริยานิวเคลียร
1. Nuclear fission (ปฏิกริยานิวเคลียรฟสชั่น) เปนปฏิกริยานิวเคลียรของนิวเคลียสของธาตุหนักแตกออกเปน
สองสวนที่มีขนาดประมาณครึ่งหนึ่งของนิวเคลียสเดิม เชน การทําระเบิดปรมาณู
U235
92 + n1
0
Ba139
60 + Kr88
36 + n1
0
หลายตัว + ∆Eมาก
2. Nuclear Fusion (ปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชั่น) เปนปฏิกริยานิวเคลียรที่เกิดจากแกนของอะตอมเบาหลอมรวมกัน
เขาเปนแกนอะตอมที่หนัก แลวมีพลังงานออกมามหาศาลแตสิ่งแวดลอมจะเปนพิษนอยกวาปฏิกริยาฟสชั่น เชนการทํา
ระเบิดโฮโดรเจน
H2
1 + H2
1
He3
2 + n1
0
การตรวจสอบธาตุกัมมันตรังสี
1. ใชฟลมถายรูปหุมสารกัมมันตรังสีในที่ไมมีแสงสวาง ถาฟลมปรากฏวาเปนสีดํา แสดงวาสารนั้นมีสารแผรังสี
ออกมา ก็จะเปนสารกัมมันตรังสี
2. ใชสารเรืองแสงไปวางใกลกับสารกัมมันตรังสี ถามีการเรืองแสงเกิดขึ้น แสดงวาสารนั้นเปนสารกัมมันตรังสี
3. ใชเครื่องไกเกอรมูลเลอรเคานเตอรไปวางใกลสารกัมมันตรังสี ถามีการเบนของเข็มก็จะบอกปริมาณของรังสีที่
สารนั้นแผออกมา แสดงวาสารนั้นเปนสารกัมมันตรังสี
โจทย 13 จงบอกชนิดของรังสี หรือเติมอนุภาคที่ขาดหายไป
1. Th234
90 Pa234
91
+
2. U234
92 Th230
90
+
3. P32
15 S32
16
+
4. N15
7 + C12
6
+ ∝
5. Pt100
40 + Ag109
47
+ P1
1
6. Cr52
24 + He4
2
+ n1
0
โจทย 14 จงเขียนสมการนิวเคลียสจากสัญญลักษณ
1. As78
33 ⎯→⎯
−
B
Se78
34
⇒
2. Mn55
25 (n,γ ) Mn56
25
⇒
3. U238
92 (n, β -
) Np239
93
⇒
4. Pa233
91 ⎯→⎯
+
B
U233
92
⇒
www.tutorferry.com/www.tutorferry.com/
77
โจทย 15 จงเขียนสัญญลักษณของสมการนิวเคลียส
1. P31
15 + H2
1
P32
15 + H1
1
⇒
2. Se80
34 + H2
1
Se81
34 + H1
1
⇒
3. Co59
27 + n1
0
Mn56
25 + He4
2
⇒
4. Cu63
29 Zn53
30 +-1°e ⇒
5. Be9
4 + He4
2
C12
6 + n1
0
⇒
ครึ่งชีวิต (Half Life) คือระยะเวลาที่ธาตุกัมมันตรังสีเปลี่ยนแปลงไปจากปริมาณเดิมโดยจะลดลงครึ่งหนึ่งในชวง
เวลานั้น ๆ ใชสัญญลักษณ T 2
1
เชน Ra222
88 มีครึ่งชีวิต 40 วัน หมายถึงถามี Ra 1 กรัม เมื่อเวลาผานไป 40 วันจะเหลือ
2
1
กรัม และจะเปนเชนนี้ไปเรื่อย
การคํานวณหาปริมาณสาร
ปริมาณเหลือ = ( 2
1
)n
ปริมาณสารเดิม
เมื่อ n =
2
1
T
T
เมื่อ n = จํานวนครั้งของการสลายตัว
T = เวลาทั้งหมด
2
1T
= เวลาครึ่งชีวิต
โจทย 16 สารกัมมันตรังสีมีครึ่งชีวิต 8 วัน จะตองทิ้งสารชนิดนี้จํานวน 20 กรัม นานเทาใด จึงจะเหลือสารนี้
จํานวน 2.5 กรัม
A เหลือ = n
)(2
1
A เดิม n =
2
1T
T
3)
2
1
(
8
1
=⇒= nn
24
8
3 =→= T
T
โจทย 17 เมื่อทิ้งสารกัมมันตรังสีไว 240 วัน จะเหลือปริมาณสาร 150 กรัม ถาครึ่งชีวิตเทากับ 30 วัน จงหาวา
เริ่มตนจะมีสารกี่กรัม
โจทย 18 ธาตุกัมมันตรังสีมีการสลายไปรอยละ 60 ของปริมาณเริ่มตน จะตองใชเวลานานเทาใด เมื่อครึ่งชีวิต
เทากับ 25 วัน
โจทย 19 ถาทิ้งสารกัมมันตรังสี 10 กรัม นาน 6 ชั่วโมง ปรากฏวามีสารเหลือ 0.05 กรัม จงหาครึ่งชีวิตของสาร
2.5 = n
)(2
1
x 20
www.tutorferry.com/

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 2563กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 25639GATPAT1
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีoraneehussem
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์Pat Jitta
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกPat Jitta
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกTANIKAN KUNTAWONG
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศKatewaree Yosyingyong
 
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊Pathitta Satethakit
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซNawamin Wongchai
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 Saipanya school
 
โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41Angkana Potha
 

What's hot (20)

บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 2563กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 2563
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอมเคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
 
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลยเคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
 
โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41
 

Viewers also liked

ตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีtum17082519
 
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมTutor Ferry
 
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติTutor Ferry
 
วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงาน
วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงานวิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงาน
วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงานTutor Ferry
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่Tutor Ferry
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทTutor Ferry
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบชัยยันต์ ไม้กลาง
 
41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์
41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์
41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์Tutor Ferry
 
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 341 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3Tutor Ferry
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบสวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบสTutor Ferry
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีTutor Ferry
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์Tutor Ferry
 
Atomic structure part 2
Atomic structure part 2Atomic structure part 2
Atomic structure part 2Chris Sonntag
 
Ged reasoning through_language_arts_language_section
Ged reasoning through_language_arts_language_sectionGed reasoning through_language_arts_language_section
Ged reasoning through_language_arts_language_sectionTutor Ferry
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์Tutor Ferry
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับTutor Ferry
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 

Viewers also liked (20)

ตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรี
 
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
 
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
 
วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงาน
วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงานวิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงาน
วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงาน
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
 
41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์
41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์
41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์
 
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 341 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบสวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
Atomic structure part 2
Atomic structure part 2Atomic structure part 2
Atomic structure part 2
 
Ged reasoning through_language_arts_language_section
Ged reasoning through_language_arts_language_sectionGed reasoning through_language_arts_language_section
Ged reasoning through_language_arts_language_section
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 

Similar to วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ

โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)Ajchariya Sitthikaew
 
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 11.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1darkfoce
 
กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 25629GATPAT1
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2ครูแป้ง ครูตาว
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
Chem
ChemChem
Chemaom08
 
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอมbigger10
 
ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550Review Wlp
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุchemnpk
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 

Similar to วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ (20)

โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 11.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
 
กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
M cmu-01-10-54-p1
M cmu-01-10-54-p1M cmu-01-10-54-p1
M cmu-01-10-54-p1
 
Chem electrochemistry
Chem electrochemistryChem electrochemistry
Chem electrochemistry
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
Chem
ChemChem
Chem
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
 
ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
Que oct 47
Que oct 47Que oct 47
Que oct 47
 
Electric chem
Electric chemElectric chem
Electric chem
 
Electric chem
Electric chemElectric chem
Electric chem
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 

More from Tutor Ferry

Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)Tutor Ferry
 
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)Tutor Ferry
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์ สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์ Tutor Ferry
 
Ged reasoning through_language_arts_reading_section
Ged reasoning through_language_arts_reading_sectionGed reasoning through_language_arts_reading_section
Ged reasoning through_language_arts_reading_sectionTutor Ferry
 
Ged social studies Test
Ged social studies TestGed social studies Test
Ged social studies TestTutor Ferry
 
Ged Science Test
Ged Science TestGed Science Test
Ged Science TestTutor Ferry
 
Ged Mathematical Test
Ged Mathematical Test Ged Mathematical Test
Ged Mathematical Test Tutor Ferry
 
Ged Mathematical Test
Ged Mathematical TestGed Mathematical Test
Ged Mathematical TestTutor Ferry
 
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTSศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTSTutor Ferry
 
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFEศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFETutor Ferry
 
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT Universityศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT UniversityTutor Ferry
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมTutor Ferry
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวTutor Ferry
 
41 แนวข้อสอบเก่าสาธิต อ.รสสุคนธ์ เล่ม 2
41 แนวข้อสอบเก่าสาธิต อ.รสสุคนธ์ เล่ม 241 แนวข้อสอบเก่าสาธิต อ.รสสุคนธ์ เล่ม 2
41 แนวข้อสอบเก่าสาธิต อ.รสสุคนธ์ เล่ม 2Tutor Ferry
 

More from Tutor Ferry (15)

Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
 
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์ สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
Ged reasoning through_language_arts_reading_section
Ged reasoning through_language_arts_reading_sectionGed reasoning through_language_arts_reading_section
Ged reasoning through_language_arts_reading_section
 
Ged social studies Test
Ged social studies TestGed social studies Test
Ged social studies Test
 
Ged Science Test
Ged Science TestGed Science Test
Ged Science Test
 
Ged Mathematical Test
Ged Mathematical Test Ged Mathematical Test
Ged Mathematical Test
 
Ged Mathematical Test
Ged Mathematical TestGed Mathematical Test
Ged Mathematical Test
 
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTSศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
 
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFEศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
 
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT Universityศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
41 แนวข้อสอบเก่าสาธิต อ.รสสุคนธ์ เล่ม 2
41 แนวข้อสอบเก่าสาธิต อ.รสสุคนธ์ เล่ม 241 แนวข้อสอบเก่าสาธิต อ.รสสุคนธ์ เล่ม 2
41 แนวข้อสอบเก่าสาธิต อ.รสสุคนธ์ เล่ม 2
 

วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ

  • 1. ตารางธาตุ ความเปนมาตารางธาตุ Dobereiner ตั้งกฎ Triad กลาววา เมื่อเรียงธาตุไปตามมวลอะตอม จะพบวา ธาตุที่ตรงกลางจะมีมวล ใกลเคียงกับคาเฉลี่ยของมวลอะตอมทั้งสองที่อยูใกล เชน มวลอะตอม Li = 7.0 มวลอะตอม Na = 23.05 มวลอะตอม K = 39.1 Newland ตั้งกฎ Octave กลาววา เมื่อเรียงธาตุไปตามมวลที่เพิ่มขึ้น 8 ธาตุ จะพบวาธาตุที่ 9 มีสมบัติ เหมือนธาตุที่ 1 และธานที่ 16 มีสมบัติเหมือนธาตุที่ 8 เชน Li Be B C N O F Ne Na Mg Al Si P S Cl Ar หรือกลาววาเมื่อเรียงธาตุไป 7 ธาตุ ธาตุที่ 8 จะมีสมบัติเหมือนธาตุที่ 1 ยกเวนธาตุเฉื่อย เชน H Li Be B C N O F Na Mg Al Si P S Mendeleev ตั้งกฎ Periodic กลาววา เมื่อเรียงธาตุไปตามมวลอะตอมที่เพิ่มขึ้น จะพบวา มีคุณสมบัติ คลายกัน ยกเวนบางทีตองสลับที่กัน เชน K กับ Ar นอกจากนี้ยังเวนชองวางไวสําหรับธาตุที่ยัง ไมคนพบพรอมทั้งทํานายสมบัติและตั้งชื่อธาตุนั้นดวย เชน Eka Silicon - Ge Eka Aluminium - Ga Eka Boron - Sc Moseley ไดปรับปรุงตารางของ Mendeleev โดยเรียงธาตุตาง ๆ ตามเลขอะตอมจากนอยไปมาก จะพบวา มีคุณสมบัติสอดคลองในแนวดิ่งมากกวามวลอะตอมและใชในปจจุบัน การอานธาตุระบบ IUPAC 0 – nil 1 – un 2 – bi 3 – tri 4 – quad 5 – Pent 6 – hex 7 - sept 8 – oct 9 – en 103 = unt 104 = 105 = 106 = 108 = 118 = uuo = Ununoctium www.tutorferry.com/
  • 2. 67 เลขออกซิเดชั่น เปนตัวเลขที่แสดงถึงประจุไฟฟาสมมติของอนุภาคตาง ๆ อาจเปนอะตอมโมเลกุลหรืออิออนก็ได ขอกําหนดเกี่ยวกับเลขออกซิเดชัน 1. เลขออกซิเดชันอาจเปนบวกลบหรือศูนยก็ได 2. เลขออกซิเดชันมีเครื่องหมายนําหนาตัวเลข สวนประจุจะมีตัวเลขนําหนาเครื่องหมาย 3. เลขออกซิเดชันอาจเปนจํานวนเต็มหรือเศษสวนก็ได 4. พวกอิออนิก โลหะจะมีเลขออกซิเดชันเปนบวกสวนอโลหะจะมีเลขออกซิเดชันเปนลบ 5. พวกโควาเลนต ธาตุที่มีคา EN. มากจะมีเลขออกซิเดชันเปนลบ EN นอยจะเปนบวก 6. ธาตุหมู 1,2,3 จะมีเลขออกซิเดชันเปน +1, +2, +3 ตามลําดับ 7. ธาตุอโลหะ และทรานสิชันจะมีเลขออกซิเดชันไดหลายคา 8. ธาตุในภาวะอิสระและโมเลกุลของธาตุจะมีเลขออกซิเดชันเปนศูนย 9. ผลรวมของเลขออกซิเดชันของธาตุทุกตัวในสารประกอบมีคาเปนศูนย 10. พวกอิออน หรืออนุมูลของสารจะมีเลขออกซิเดชันเทากับประจุของอนุภาคนั้น โจทย จงหาเลขออกซิเดชันของธาตุ Mn ใน K2 MnO4 และ P ใน HPO −2 4 K2 MnO4 ⇒ Mn = HPO −2 4 ⇒ P = โจทย จงหาเลขออกซิเดชันของธาตุตอไปนี้ NaClO3 ⇒ Cl = K2Cr2O7 ⇒ Cr = Li3Fe(CN)6 ⇒ Fe = C6H12O6 ⇒ C = [CoCl6] 3- ⇒ Co = C2O −2 4 ⇒ C = Ni(CO)4 ⇒ Ni = Zn Fe (SO4)2 ⇒ Fe = [Co(H2O)4](IO4)2 ⇒ Co = Au3(VO4)2 ⇒ V = [Cr(H2O)2(NH3)2 NO2Cl]Cl2 ⇒ Cr = คุณสมบัติตามหมูของธาตุ ธาตุหมู 8 - Inert gas Rere gas Noble gas groupO - มี 6 ธาตุ คือ He Ne Ar Kr Xe Rn 1. มีเวเลนตอิเลคตรอนเทากับ 8 ยกเวน He = 2 2. จุดหลอมเหลว จุดเดือดตํ่า 3. การแยกกาซเฉื่อยออกจากอากาศ ⇒อากาศ อากาศเหลว กาซเฉื่อย 4. ไมทําปฏิกริยากับธาตุอื่น ยกเวน Kr และ Xe กับ F และ O 5. ใสในหลอดแทนอากาศทําใหใสหลอดทนทาน 6. ใสในหลอดภายใตความดันตํ่า ด.ต.ศ. สูง Ne – แดงสม Ar – มวง Kr – นํ้าเงิน 43 www.tutorferry.com/
  • 3. 68 ธาตุหมู 1 - Alkali Metal - มี 6 ธาตุ คือ Li Na K Rb Cs Fr 1. มีเวเลนตอิเลคตรอน = 1 2. MP BP สูง 3. พบในสภาพสารประกอบ ถาตองการแยกธาตุหมู 1 ทําไดโดยผานกระแสไฟฟาลงในสารหลอมเหลว หรือ สารละลายอิ่มตัวจะไดธาตุหมู 1 ที่ขั้วลบ 4. E° นอยเปนตัว Reduce ที่ดี 5. เปนโลหะที่แข็งแรงแตออน นําไฟฟาไดดี รอยตัดใหมเปนมันวาว ทิ้งไวในอากาศจะหมอง ทําปฏิกริยากับนํ้า ไดดีจึงเก็บไวในนํ้ามัน 6. ทําปฏิกริยากับ O2 ได Ox ide ของโลหะซึ่งเมื่อละลายนํ้าจะไดสารละลายเบส Na + O2 → Na2O H2O> NaOH K + O2 → H2O> 7. ทําปฏิกิริยากับ H2O รวดเร็วและรุนแรงไดสารละลายเบสกับกาซ H2 Na + H2O → NaOH + H2 K + H2O → 8. สารประกอบหมู 1 ทุกชนิดละลายนํ้าไดดี 9. เมื่อเผาสารประกอบหมู 1 จะใหเปลวไฟสีตาง ๆ Li – แดง Na – เหลือง K - มวง ธาตุหมู 2 - Alkaline Earth Metal - มี 6 ธาตุ คือ Be Mg Ca Sr Ba Ra 1. มีเวเลนตอิเลคตรอน = 2 2. Mp Bp สูง 3. การพบเชนเดียวกับธาตุ หมู 1 4. ปฏิกิริยาของธาตุหมู 2 จะคลายกับหมู 1 แตความวองไวและความรุนแรงของปฏิกริยาจะนอยกวา Mg + O2 MgO ⎯⎯ →⎯ OH 2 Mg(OH)2 Ca + O2 ⎯⎯ →⎯ OH 2 Mg + H2O Mg(OH)2 + H2 Ca + H2O 5. การละลาย หมู 2 - พวก NO3 - ละลายหมด - พวก Halide ละลายหมด - พวก SO −2 4 ไมละลายยกเวน Mg - พวก CO 2 3 − , PO 3 4 − ไมละลาย www.tutorferry.com/
  • 4. 69 6. เมื่อเผาสารประกอบ หมู 2 จะไดเปลวไฟสีตาง ๆ Ca - แดงอิฐ Sr - แดง Ba - เขียวอมเหลือง ธาตุหมู 6 - Chalcogen - มี 5 ธาตุ คือ O S Se Te Po 1. มีเวเลนตอิเลคตรอน = 6 2. E° มีคามาก ⇒ เปนตัว Oxidise 3. มี 2 สถานะ คือของแข็งและกาซ 4. ความเปนโลหะเพิ่มขึ้นจากบนลงลาง 5. พบทั้งสภาพอิสระและสภาพสารประกอบ ธาตุหมู 7 - Halogen - มี 5 ธาตุ คือ F Cl Br I At 1. มีเวเลนตอิเลคตรอน = 7 2. มี 3 สถานะ F2- กาซสีเหลืองออน Cl2– กาซสีเขียวออน Br2 – ของเหลวสีนํ้าตาล I2– ของแข็งสีมวง 3. ละลายใน CCl4 ไดดีกวาใน H2O Cl2 + CCl4 ไมมีสี Br2 + CCl4 สีนํ้าตาล I2 + CCl4 สีมวง 4. คา E° มาก ⇒ ตัว Oxidise ที่ดีมาก 5. พบทั้งสภาพอิสระและสารประกอบ 6. ทําปฏิกิริยา Redox กับสารละลาย Na2S X2 + Na2S →2NaX + S สมการอิออนิก คือ 7. ทําปฏิกริยาแทนที่กันได F2 + 2 NaCl → Cl2 + 2 NaF เกิดได Cl2 + 2 NaF → F2 + 2 NaCl ไมเกิด สมการอิออนิก คือ โจทย 3 เมื่อนําสารละลายตอไปนี้มาผสมกัน จงเขียนสมการแสดงการเปลี่ยนแปลงพรอมทั้งบอกสิ่งที่เกิดขึ้น ก. BaCl2 + Na2CO3 ข. Ca(NO3)2 + K3PO4 www.tutorferry.com/
  • 5. 70 โจทย 4 ถาตองการตะกอน BaSO4 ควรนําสารใดมาผสมกัน ก. Ba(NO3)2 + K2SO4 ข. Na2CO3 + BaCl2 ค. Ba3(PO4)2 + Li2SO4 ง. (NH4)2SO4 + BaBr2 โจทย 5 จงบอกสูตรของสาร A, B, C, D, E (CaCO3) 1. A เปลวไฟสีแดงอิฐ (Ca) (CaO) CO2 Oxide B + Oxide C ↓H2O ↓ Ca(OH)2 เบส D ตะกอน E 2. A + B C + D ↓ CCl4 ↓ ↓ AgNO3 ↓CS2 นํ้าตาล เปลวไฟ สีเหลือง ตะกอน E ละลายไดดี 3. A + B C + D ↓ CCl4 ↓ ↓ AgNO3 ↓CCl4 ไมมีสี เปลวไฟ สีมวง ตะกอน E สีมวง (AgBr) 4. A + O2 Oxide B + Oxide C ↓ H4O ↓ H2O ↓H2O เหม็น ไมละลาย กรด D โจทย 6 ปฏิกิริยาขางลางนี้ ขอใดเกิดไดจริง ก. 2NaI + Cl2 → 2NaCl + I2 ข. 2Br- + F2 → 2F- + Br2 ค. Br2 + 2I- → I2 + 2Br- ง. I2 + 2KCl → 2KI + Cl2 โจทย 7 เมื่อผสม CaI2 + Cl2 จะเกิดการเปลี่ยนแปลง หรือไม ถาเกิดจะไดอะไรเมื่อเติม CCl4 3 หยด (Br2) (Na2S) (NaBr) (S) (AgBr) (Ca(OH)2) (CaCO3) www.tutorferry.com/
  • 6. 71 คุณสมบัติตามคาบของธาตุ คาบ 2 Li Be B C N O F Ne คาบ 3 Na Mg Al Si P S Cl Ar 1. มีเวเลนตอิเลคตรอนจาก 1 → 8 2. MP. BP. จะเพิ่มขึ้นถึง หมู 4 จากนั้นก็จะลดลง 3. คา E° จะเพิ่มขึ้นจากซาย → ขวา 4. ขนาดอะตอมจะลดลง สารประกอบคลอไรด 1. โลหะคลอไรด - สถานะเปนของแข็ง - MP. BP สูง - เมื่อละลายนํ้า หมู 1, 2 – กลาง 3 – กรด ยกเวน BeCl2 กรด 2. อโลหะคลอไรด - สถานะเปนของเหลวและกาซ ยกเวน PCl5 - MP. BP ตํ่า ยกเวน PCl5 - เมื่อละลายนํ้าเปนกรด ยกเวน NCl3 CCl4 ไมละลายนํ้า สารประกอบออกไซด 1. โลหะออกไซด - สถานะเปนของแข็ง - MP. BP. สูง - เมื่อสารละลายนํ้าจะเปนเบส ยกเวน BeO Al2O3 SiO2 ไมละลายนํ้า B2O3 เปนกรด หมายเหตุ Oxide ที่ไมละลายนํ้าอาจมีสมบัติเปนกรด หรือเบสได เชน BeO, Al2O3 เปนทั้งกรดและเบส SiO2 เปนกรด 2. อโลหะออกไซด - สถานะเปนของเหลวและกาซ ยกเวน P2O5 - MP. BP. ตํ่า ยกเวน P2O5 - เมื่อละลายนํ้าจะเปนกรด ยกเวน O2 เปนกลาง www.tutorferry.com/
  • 7. 72 สารประกอบซัลไฟด 1. โลหะซัลไฟด - สถานะเปนของแข็ง - MP. BP. สูง - เมื่อละลายนํ้าจะเปนเบส ยกเวน BeS ไมละลายนํ้า 2. อโลหะซัลไฟด - สถานะเปนของเหลวและกาซ ยกเวน P2S5 - MP. BP. ตํ่า ยกเวน P2S5 - เมื่อละลายนํ้าจะเปนกรด ยกเวน CS2 S8 P2S5 ไมละลายนํ้า ธาตุทรานสิชั่น พวก d ทรานสิชั่น พวก f คุณสมบัติของธาตุทรานสิชั่น 2 1Sc = 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d1 = [Ar] 4s2 3d1 = 2 8 9 2 = หมู 3B 22Ti = [Ar] 4s2 3d2 = 2 8 10 2 = หมู 4B 23V = = หมู 5B 24Cr = = หมู 6B 25Mn = = หมู 7B 26Fe = [Ar] 4s2 3d6 = 2 8 14 2 = หมู 8B 27Co = [Ar] 4s2 3d7 = 2 8 15 2 = หมู 8B 28Ni = [Ar] 4s2 3d8 = 2 8 16 2 = หมู 8B 29Cu = = หมู 1B 30Zn = = หมู 2B 1. มีเวเลนตอิเลคตรอน = 2 ยกเวน Cr กับ Cu 2. อิเลคตรอนตัวสุดทายจะลงทายดวย d – subshell 3. มีเลขออกซิเดชันหลายคา ยกเวน Sc และ Zn มีคาเดียว 4. เลขออกซิเดชันสูงสุดของทรานสิชั่นเปนของ Mn คือ +7 5. คา E° จะมีเครื่องหมายลบ ⇒ ตัว Reduce ยกเวน Cu มีเครื่องหมายบวก (คาบ 4-7) (คาบ 6-7) 3d 4d 5d 6d Transition Lanthanide Actinide Inner Transition 4 5 6 7 6 5 4 3 Sc Ti V Cr Mn Ee Co Ni Cu Zn www.tutorferry.com/
  • 8. 73 6. เกิดสารประกอบจะมีสีตาง ๆ ยกเวน Sc และ Zn โครเมียม Cr2O −2 7 = สม CrO −2 4 = เหลือง Cr3+ = เขียว Cr2+ = นํ้าเงิน มังกานิส MnO2 = ดํา MnO− 4 = มวงแดง MnO 2 4 − = เขียว Mn2+ = ชมพูออน(ไมมีสี) Mn(OH)3 = นํ้าตาล 7. เปนโลหะที่มีความแข็งนําไฟฟาไดดี ความหนาแนนสูง 8. ถูกดึงดูดดวยแมเหล็ก และบางตัวยังเปนสารแมเหล็กดวย 9. สามารถเกิดสารประกอบเชิงซอนได สารเชิงซอน = ion ⊕ + ion Θ ion ⊕ + ion Θ เชิงซอน ion ⊕ เชิงซอน + ion Θ Ion เชิงซอน = Central atom + Ligand ↓ ↓ Transition ตัวจับ Covalent หรือ Coordinate Covalent การอานสารเชิงซอน 1. ถาเปนอิออนบวกเชิงซอน - อานอิออนบวกกอนโดยเริ่มจาก Ligand พรอมทั้งบอกจํานวนจากนั้นอานทรานสิชั่น พรอม ทั้งระบุคาเลขออกซิเดชัน - อานอิออนลบ 2. ถาเปนอิออนลบเชิงซอน - อานอิออนบวกกอน - อานอิออนลบโดยเริ่มจาก Ligand พรอมทั้งบอกจํานวน จากนั้นอานทรานสิชันลงทายดวย ate พรอมทั้งระบุเลขออกซิเดชั่น Atom moleule ion www.tutorferry.com/www.tutorferry.com/
  • 9. 74 ชื่อของลิแกนต F- = ฟลูออโร Cl- = คลอโร Br- = โบรโม I- = ไอโอโด NO− 2 = ไนโตร O-2 = ออกโซ NH3 = แอมมีน H2O = อาควอ −2 3CO = คารบอเนโต CN- = ไซยาโน โจทย 8 จงอานชื่อสารหรืออิออนเชิงซอนตอไปนี้ ก. K3Fe(CN)6 Potassium hexacyano ferrate(III) ข. Cu(NH3)4SO4 Tetramnine copper (II) sulfate ค. [COCl6]4- ง. [V(H2O)4]2+ จ. [Ni(NH3)4]2+ ฉ. [PtCl4]- โจทย 9 จงเขียนสูตรของสารตอไปนี้ ก. Triaquo diammine Chloro Cobalt(V) Chloride [Co(H2O)3(NH3)2Cl]Cl4 ข. Sodium hexacyano Ferrate ( II ) ค. Tetraquo nitro dibromo Manganese ( V ) iodide โจทย 10 สาร A มีสูตร MCl4 6H2O เมื่อนํามาละลายนํ้าจะไดสาร B ซึ่งเมื่อเติม Ag NO3 มากเกินพอ จะเกิด ตะกอนขาวเพียงครึ่งหนึ่งของทั้งหมด จงหาสูตรของสาร B ก. [M(H2O)5Cl]Cl3 ข. [M(H2O)4Cl2]Cl2 ค. [M(H2O)3Cl3]Cl ง. [M(H2O)2Cl4]H2O โจทย 11 สารใดตอไปนี้เปนตัว Oxidise ก. Zn(NO3)2 ข. K2MnO4 ค. Na2CrO4 ง. Sc(OH)3 โจทย 12 การศึกษาเกี่ยวกับสีของมังกานีส สีเขียว A สีมวงแดง K2S ไมมีสี [ ]3+ 3 Cl- [ ]2+ 2 Cl-[ ]+ Cl- www.tutorferry.com/www.tutorferry.com/
  • 10. 75 ก. เลขออกซิเดชั่นของ Mn……………………………………………………. ข. อนุภาคของมังกานีส ………………………………………………………. ค. หนาที่ของสาร A และ K2S ………………………………………………… ง. ปฏิกริยาของ Mn ในสมการสอง…………………………………………… เคมีนิวเคลียร กัมมันตรังสี (Radioactivity) คือพลังงานที่ปลอยออกมาจากนิวเคลียสของอะตอม และธาตุที่ให กัมมันตรังสีออกจากนิวเคลียส เรียกวา ธาตุกัมตรังสี ซึ่งอะตอมของธาตุที่ใหรังสีอออกมาไดเพราะนิวเคลียสไมเสถียร กัมมันตรังสีบางชนิดเปนอนุภาคที่เล็กมาก บางชนิดมีลักษณะเปนคลื่น ธาตุโดยทั่วไปอาจมี Isotope ที่เสถียรและไมเสถียรก็ไดซึ่งถาไมเสถียรมักเปนธาตุกัมมันตรังสีจะมีเลข อะตอมตั้งแต 83 ขึ้นไป แตบางชนิดเลขอะตอมนอยแตมี Isotope ที่ไมเสถียรก็ได ซึ่งจะใหรังสีออกมาเพื่อถายเทพลัง งานสวนเกินในรูปของรังสี จากนั้นก็จะอยูในสภาพเสถียร ชนิดของรังสี 1. รังสีอัลฟา (∝) มีลักษณะเปนอนุภาคที่มีประจุไฟฟาบวก มีอํานาจเจาะทะลุนอย เปนแกนอะตอม ของ He ซึ่งมีประจุ + 2 มวล 4 หนวย เชน U238 92 Th234 90 + ∝4 2 สมการทั่วไป →Αb a +Β− − 4 2 b a ∝4 2 2. รังสีเบตา ( β ) มีลักษณะเปนอนุภาคคือเปนอิเลคตรอนที่ออกจากนิวเคลียส ความเร็วสูง อํานาจ เจาะทะลุมากกวาอนุภาคอัลฟา เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของนิวตรอนในนิวเคลียส แบงเปน 2 ชนิด คือ เบตาลบ ชื่อวา เนกาตรอน ( eο 1− ) หรือ β - เบตาบวก ชื่อวา โพสิตรอน ( eο 1+ ) หรือ β + n1 0 p1 1 + eο 1− n1 0 + eο 1+ Co60 27 Ni60 28 + eο 1− ⇒ การเกิดเนกาตรอน In116 49 Sn116 48 + eο 1+ ⇒ การเกิดโพสิตรอน สมการทั่วไป →Αb a +Β+ b a 1 eo 1− 3. รังสีแกมมา (γ ) เปนพลังงานที่ออกมาจากนิวเคลียสมีลักษณะเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา มีอํานาจเจาะทะลุ มาก มีความยาวคลื่นสั้น พลังงานสูง รังสีแกมมาไมมีประจุจึงไมเบียงเบนในสนามไฟฟา มักเกิดกับ ธาตุที่มีการปลอยอัลฟา หรือเบตาออกมาแตยังไดอนุภาคที่ไมเสถียร จึงมีการปรับตัวโดยการปลอยรังสี แกมมาออกมา เชน Cs137 55 B *137 56 Ba Ba137 56 + γ สมการทั่วไป →Αb a +Β− − *4 2 b a ∝4 2 +Β− − 4 2 b a γ www.tutorferry.com/
  • 11. 76 การเขียนสัญลักษณของสมการนิวเคลียร Th232 90 Ra228 88 + He4 2 ⇒ Th232 90 ⎯→⎯∝ Ra228 88 Al27 13 + He4 2 Si30 14 + H1 1 ⇒ Al27 13 ( ∝, P) Si30 14 Co59 27 + n1 0 Co60 27 + γ ⇒ Co59 27 ( n,γ ) Co60 27 ปฏิกิริยานิวเคลียร 1. Nuclear fission (ปฏิกริยานิวเคลียรฟสชั่น) เปนปฏิกริยานิวเคลียรของนิวเคลียสของธาตุหนักแตกออกเปน สองสวนที่มีขนาดประมาณครึ่งหนึ่งของนิวเคลียสเดิม เชน การทําระเบิดปรมาณู U235 92 + n1 0 Ba139 60 + Kr88 36 + n1 0 หลายตัว + ∆Eมาก 2. Nuclear Fusion (ปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชั่น) เปนปฏิกริยานิวเคลียรที่เกิดจากแกนของอะตอมเบาหลอมรวมกัน เขาเปนแกนอะตอมที่หนัก แลวมีพลังงานออกมามหาศาลแตสิ่งแวดลอมจะเปนพิษนอยกวาปฏิกริยาฟสชั่น เชนการทํา ระเบิดโฮโดรเจน H2 1 + H2 1 He3 2 + n1 0 การตรวจสอบธาตุกัมมันตรังสี 1. ใชฟลมถายรูปหุมสารกัมมันตรังสีในที่ไมมีแสงสวาง ถาฟลมปรากฏวาเปนสีดํา แสดงวาสารนั้นมีสารแผรังสี ออกมา ก็จะเปนสารกัมมันตรังสี 2. ใชสารเรืองแสงไปวางใกลกับสารกัมมันตรังสี ถามีการเรืองแสงเกิดขึ้น แสดงวาสารนั้นเปนสารกัมมันตรังสี 3. ใชเครื่องไกเกอรมูลเลอรเคานเตอรไปวางใกลสารกัมมันตรังสี ถามีการเบนของเข็มก็จะบอกปริมาณของรังสีที่ สารนั้นแผออกมา แสดงวาสารนั้นเปนสารกัมมันตรังสี โจทย 13 จงบอกชนิดของรังสี หรือเติมอนุภาคที่ขาดหายไป 1. Th234 90 Pa234 91 + 2. U234 92 Th230 90 + 3. P32 15 S32 16 + 4. N15 7 + C12 6 + ∝ 5. Pt100 40 + Ag109 47 + P1 1 6. Cr52 24 + He4 2 + n1 0 โจทย 14 จงเขียนสมการนิวเคลียสจากสัญญลักษณ 1. As78 33 ⎯→⎯ − B Se78 34 ⇒ 2. Mn55 25 (n,γ ) Mn56 25 ⇒ 3. U238 92 (n, β - ) Np239 93 ⇒ 4. Pa233 91 ⎯→⎯ + B U233 92 ⇒ www.tutorferry.com/www.tutorferry.com/
  • 12. 77 โจทย 15 จงเขียนสัญญลักษณของสมการนิวเคลียส 1. P31 15 + H2 1 P32 15 + H1 1 ⇒ 2. Se80 34 + H2 1 Se81 34 + H1 1 ⇒ 3. Co59 27 + n1 0 Mn56 25 + He4 2 ⇒ 4. Cu63 29 Zn53 30 +-1°e ⇒ 5. Be9 4 + He4 2 C12 6 + n1 0 ⇒ ครึ่งชีวิต (Half Life) คือระยะเวลาที่ธาตุกัมมันตรังสีเปลี่ยนแปลงไปจากปริมาณเดิมโดยจะลดลงครึ่งหนึ่งในชวง เวลานั้น ๆ ใชสัญญลักษณ T 2 1 เชน Ra222 88 มีครึ่งชีวิต 40 วัน หมายถึงถามี Ra 1 กรัม เมื่อเวลาผานไป 40 วันจะเหลือ 2 1 กรัม และจะเปนเชนนี้ไปเรื่อย การคํานวณหาปริมาณสาร ปริมาณเหลือ = ( 2 1 )n ปริมาณสารเดิม เมื่อ n = 2 1 T T เมื่อ n = จํานวนครั้งของการสลายตัว T = เวลาทั้งหมด 2 1T = เวลาครึ่งชีวิต โจทย 16 สารกัมมันตรังสีมีครึ่งชีวิต 8 วัน จะตองทิ้งสารชนิดนี้จํานวน 20 กรัม นานเทาใด จึงจะเหลือสารนี้ จํานวน 2.5 กรัม A เหลือ = n )(2 1 A เดิม n = 2 1T T 3) 2 1 ( 8 1 =⇒= nn 24 8 3 =→= T T โจทย 17 เมื่อทิ้งสารกัมมันตรังสีไว 240 วัน จะเหลือปริมาณสาร 150 กรัม ถาครึ่งชีวิตเทากับ 30 วัน จงหาวา เริ่มตนจะมีสารกี่กรัม โจทย 18 ธาตุกัมมันตรังสีมีการสลายไปรอยละ 60 ของปริมาณเริ่มตน จะตองใชเวลานานเทาใด เมื่อครึ่งชีวิต เทากับ 25 วัน โจทย 19 ถาทิ้งสารกัมมันตรังสี 10 กรัม นาน 6 ชั่วโมง ปรากฏวามีสารเหลือ 0.05 กรัม จงหาครึ่งชีวิตของสาร 2.5 = n )(2 1 x 20 www.tutorferry.com/