SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน ผลกระทบจากการอดนอน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 นายกษิดิศ ธิป้อ เลขที่ 19 ชั้น 6 ห้อง 2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 99
1นายกษิดิศ ธิป้อ เลขที่19
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ผลกระทบจากการอดนอน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
The effect of sleep deprivation.
ประเภทโครงงาน การศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายกษิดิศ ธิป้อ
ระยะเวลาดาเนินงาน 1 ภาคเรียน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
หลายๆคนคงเคยมีประสบการณ์อดหลับอดนอนทั้งตอนเรียนและตอนทางานกันมาบ้าง เราถูกสอนกันมา
นานแล้วว่าคนเราต้องนอนอย่างน้อยวันละ 8 ชั่วโมงเพื่อให้ร่างกายได้ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ แต่ข้อมูลปัจจุบันพบว่า
คนส่วนใหญ่มีจานวนน้อยกว่านั้นเนื่องจากแต่ละคนก็มีเวลานอนแตกต่างกันออกไป โดยการศึกษาเปรียบเทียบจานวน
ชั่วโมงนอนของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย อายุ 17 ปขึ้นไปจาก 24ประเทศพบวา นักศึกษาไทยนอนนอยติดอันดับ 21
จาก24ประเทศ ผูชาย 6.95 ชม. ผูหญิง 7.08 ชม.นักศึกษาญี่ปุนนอนนอยที่สุด ผูชาย 6.20 ชม.ผูหญิง 6.09 ชม.
(Steptoe A, Peacey V, Wardle J. Sleep duration and healthin young adults. Arch Intern Med
2006;166:1689-1692.) และในสหรัฐอเมริกามีการประมาณถึงตัวเลขเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า30%ของผู้ใหญ่และ66%ของ
วัยรุ่นมีการนอนหลับพักผ่อนอย่างไม่เพียงพอ จากเหตุผลที่กล่าวมาดังนั้นผู้จัดทาจึงได้ศึกษาถึงผลกระทบการนอน
หลับไม่เพียงพอนี้สามารถส่งผลต่อร่างกายได้อย่างไรและเมื่อเราขาดการนอนหลับจะส่งผลต่อร่างกายเราอย่างไร
เพราะการนอนหลับนั้นมีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์คนเราอย่างมาก
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาผลกระทบจากการอดนอน
2. เรียนรู้การนอนอย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถนาความรู้ไปปรับปรุ่งและปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. ข้อดี-ข้อเสียของการอดนอน
2. ผลกระทบจากการอดนอน
3. ปัจจัยในการอดนอน
4. การนอนอย่างมีประสิทธิภาพ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การอดนอนส่งผลกระทบทั้งต่อร่างกายและอารมณ์พร้อมกัน ดังนี้
 ทาให้ร่างกายอ่อนเพลียเพราะไม่มีการสารองพลังงานมาใช้ในวันรุ่งขึ้น มีผู้กล่าวว่าถ้าร่างกายเรามีพลังงานอยู่
เท่ากับ 100% เราจะหมุนเวียนพลังงานใช้จริงอยู่เพียง 70% ที่เหลืออีก 30% จะเป็นพลังงานสารองของชีวิต
เอาไว้ใช้ในยามป่วยไข้ไม่สบายหรือใช้ในภาวะฉุกเฉินต่างๆรวมถึงภาวะอดนอนนี้ด้วย ดังนั้นจึงพบว่าถ้าอด
นอนสั้นๆ เราจึงไม่เป็นอะไรมาก แต่ถ้านานไปพลังงานที่เหลือ 30% นี้ก็จะร่อยหรอลงและเมื่อนั้นเราก็จะมี
อาการไม่สบายชัดเจนขึ้น
 การอดนอนทาให้เกิดโรคอ้วนตามมาได้ เนื่องจากเกิดความผิดปกติของกระบวนการเผาผลาญน้าตาลในเลือด
ทาให้น้าตาลในเลือดมีไม่เพียงพอ ส่งผลให้เราต้องรับประทานมากยิ่งขึ้น อาการจะคล้ายกับผู้ป่วย
โรคเบาหวานแบบที่ 2 (Diabetes type 2) การที่เราตื่นอยู่นานแบบอดนอนทาให้ร่างกายเผาผลาญพลังงาน
มากขึ้น เราจึงรู้สึกอยากรับประทานอาหารมากยิ่งขึ้นไปอีก จากหลักฐานการศึกษาพบว่าความอ้วนที่เกิดจาก
การอดนอนพบได้บ่อยขึ้นในคนอายุน้อย หรือในวัยกลางคนมากกว่ากลุ่มผู้สูงอายุ ปัจจัยเสริมอย่างอื่นก็เช่น
การดูทีวีรอบดึกก็มีผลให้อยากรับประทานอาหารเพิ่มอีกหนึ่งมื้อ หรืออยากรับประทานขนมขบเคี้ยวมากขึ้น
ก็จะยิ่งเป็นตัวเสริมให้อ้วนขึ้นไปเรื่อยๆ
 การอดนอนทาให้ร่างกายไม่เจริญเติบโต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มเด็กเนื่องจากฮอร์โมนเกี่ยวกับการ
เจริญเติบโตถูกสร้างน้อยลง รวมไประบบภูมิคุ้มกันของร่างกายถูกรบกวนอีกด้วย ทาให้เจ็บป่วยได้ง่าย หรือ
รุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตจากการอดนอนเลยก็มีดังที่เป็นข่าวข้างต้น
เมื่ออดนอนเรื้อรังจะส่งผลต่อการทางานของสมอง ดังนี้
 ทาให้หลอดเลือดสมองตีบ มีผลการศึกษาทางการแพทย์รายงานว่าผู้ที่มีปัญหาปวดศีรษะและความจาไม่ดี
จานวนหนึ่งเมื่อตรวจเอกซเรย์สมองแล้วพบว่ามีหลอดเลือดสมองตีบ และเมื่อสืบประวัติย้อนกลับไปพบว่า
จานวนมากที่มีประวัตินอนไม่พอร่วมด้วย หลังจากที่ผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้นอนหลับเพิ่มขึ้นก็พบว่าหลอดเลือดสมอง
ที่ตีบนั้นดีขึ้นเช่นกัน นักวิจัยกาลังศึกษาเรื่องนี้มากขึ้นและอาจมีเหตุผลอธิบายที่ชัดเจนขึ้นในอนาคต
 ทาให้กระบวนการเรียนรู้ช้าลง
 การอดนอนจะมีผลต่อการทางานของสมองในส่วนต่างๆ ให้ทางานผิดไป เช่นที่สมองส่วนหน้าสุด
(prefrontal cortex) จะทาให้การเรียนรู้จากคาพูด (verbal learning tasks) แย่ลง ส่วนกลีบสมองบริเวณ
ขมับ (Temporal lobe) จะทาให้การเรียนรู้ด้านภาษา (language processing) ช้าลง
 ทาให้เกิดอาการงีบหลับสั้นๆ หรือที่เรียกว่า “หลับกลางอากาศ” หรือ “หลับใน” เกิดจากการที่สมองส่วนธา
ลามัส (Thalamus) ของคนที่นอนไม่พอ จะหยุดทางานช่วงสั้นๆ แบบชั่วคราว อาจเป็นวินาทีหรือนานถึงครี่ง
นาที ทาให้เกิดอาการงีบหลับ ไม่ตื่นตัว ไม่ตอบสนองต่อการรับรู้ใดๆ หรือรับรู้ได้ช้า บางคนเรียกภาวะนี้ว่า
“หลับใน” ซึ่งเป็นอันตรายมากถ้าเกิดขึ้นระหว่างที่กาลังขับรถหรือระหว่างการทางานที่ต้องใช้ความเร็วหรือ
ความแม่นยาอยู่ด้วย เราคงได้ฟังเรื่องอุบัติเหตุทางรถยนต์จากการหลับในนี้อยู่บ่อยครั้งแล้วนะครับ
 ทาให้เกิดอาการทางจิตการอดนอนชนิดรุนแรงสามารถทาให้เกิดภาวะโรคทางจิต (psychosis) ได้ เช่น
อาการหูแว่ว ประสาทหลอน หลงผิด ระแวงกลัวคนมาทาร้าย หรือมีอาการคล้ายคนที่เป็นโรคอารมณ์
4
แปรปรวนหรือโรคอารมณ์สองขั้ว (Bipolar disorder) เช่นมีอารมณ์ร่าเริงสนุกสนานผิดปกติ หรือมีอารมณ์
เศร้าผิดปกติได้ นอกจากนั้นยังทาให้เกิดอาการหงุดหงิดง่าย หรืออารมณ์เสียง่ายมากน้อยตามแต่ความรุนแรง
ของการอดนอนนั้น
แนวทางการรักษาเรื่องอดนอนที่ได้ผลดีที่สุด คือ การนอนให้พอเพียง อาจจะใช้เวลานอนให้มากกว่าปกติในวันก่อนที่รู้
ว่าจะต้องอดนอน และเมื่ออดนอนมาแล้วก็ควรหาเวลานอนชดใช้ให้มากพอ ภาวะอดนอนก็จะดีขึ้นได้เองโดยที่ไม่ต้อง
ไปหาการรักษาที่ยุ่งยากอื่น
ที่มา: ศูนย์วิจัยสุขภาพกรุงเทพ เครือโรงพยาบาลกรุงเทพ
หลายๆ คนคงเคยมีประสบการณ์อดหลับอดนอนทั้งสมัยเรียนและสมัยทางานกันมาบ้าง อาจจะมีทั้งเวอร์ชั่นเด็กๆ อด
นอนแค่ 1 คืน แอดว้านซ์ขึ้นมาหน่อยก็ 2 คืนบ้าง 3 คืนบ้าง หรือไอดอลฟรีแลนซ์ห้ามป่วยห้ามตายขั้นเทพอย่าง ยุ่น
ก็ทาสถิติอยู่ที่ 5 วัน ถ้าให้ลองเดาเลขดูเล่นๆ คงไม่มีใครคิดว่าจะมีมนุษย์ที่ทาสถิติโลกอดนอนได้สูงสุดถึง 11 วัน!!! ฟัง
แล้วก็ทั้งทึ่งทั้งง่วงไปพร้อมๆกัน!
จาก Guinness Book of Records ในปี 2007 มีนักเขียนและนักวิจัยชาวอังกฤษ Tony Wright ทาสถิติอดนอนได้
นานที่สุดติดต่อกันถึง 266 ชั่วโมง หรือประมาณ 11 วัน!!! แล้วถ้าย้อนกลับไปอีกเมื่อปี 1964 เจ้าของสถิติแรกของการ
ไม่หลับไม่นอนนานที่สุดคือ Toimi Soini จากฟินแลนด์ ที่อดนอนไป 276 หรือประมาณ 11 วันครึ่งเลยทีเดียว
โดย Tony Wright เจ้าของสถิติคนล่าสุด ได้ให้สัมภาษณ์หลังจากเสร็จภารกิจอดนอนอันยาวนานว่า “เขายังสบายๆ
แค่สั่นๆนิดหน่อย ไม่ได้รู้สึกเหนื่อย แต่รู้สึกว่ามีอะดรีนาลีนสูบฉีดอยู่ ณ ขณะนั้น” โดยเคล็ดลับที่ช่วยให้เขาถ่างตาอด
หลับอดนอนได้ก็คือการพูดคุย เล่นพูล กินอาหารไดเอทดิบๆ เช่น ผัก ผลไม้อย่าง กล้วย อะโวคาโด สับปะรด น้าแค
รอท ธัญพืช และถั่วต่างๆ
โดยไรท์เองยังให้ได้ข้อคิดเกี่ยวกับทฤษฎีสมองของมนุษย์ไว้ด้วยว่า การอดนอนทาให้สมองซีกซ้ายที่ควบคุมการคิดเชิง
ตรรกะและเหตุผลทางานได้ลดประสิทธิภาพลง แต่กลับกันก็ส่งผลให้สมองซีกขวาที่เป็นความคิดเชิงสร้างสรรค์ทางาน
ได้ดีขึ้นอีกด้วย
5
สมองซีกซ้ายและซีกขวา
จากสถิติการอดนอนเหล่านี้ สอดคล้องกับงานวิจัยของ J. Christian Gillin ผู้เชี่ยวชาญด้านการนอนหลับและจิตเวช
จาก University of California ในซานดิเอโก้ สหรัฐอเมริกา โดยในปี 1964 มีการทาการทดลองกับ Randy
Gardner นักเรียนมัธยมอายุ 17 ปี ซึ่งการ์ดเนอร์เองอดนอนไปทั้งสิ้น 264 ชั่วโมง (ประมาณ 11 วัน) ถึงแม้การอด
นอน 11 วันจะไม่ทาให้ถึงแก่ชีวิต แต่ในระหว่างการวิจัยการ์ดเนอร์เริ่มมีอาการเกี่ยวกับการมองเห็น การรับรู้ทาง
ความคิดเช่น ความเร็วในการตอบสนอง หรือความทรงจา รวมถึงในตอนท้ายก็เริ่มมีอาการเห็นภาพหลอนอีกด้วย
ในปี1965 เด็กนักเรียนมัธยมวัย17คนหนึ่งชื่อ Randy Gardner ใช้ชีวิตโดยไม่นอนหลับต่อกันนานถึง264
ชั่วโมง ซึ่งนั่นคือ11วันเต็มที่เขาไม่ได้นอน แต่หลายคนไม่ได้โชคดีแบบเขา ในปี2014แฟนบอลคนหนึ่งเสียชีวิตจากกา
รอดนอนติดต่อกันแค่48ชั่วโมงเพื่อที่จะดูบอลโลกซึ่งสาเหตุการเสียชีวิตของเขาเกิดจากเส้นเลือดในสมองแตก
เฉียบพลัน
ในวันที่สองตาของเขาไม่สามารถโฟกัสสิ่งต่างๆได้ วันถัดมานั้นเขาสูญเสียความสามารถในการรับรู้สิ่งของ
ต่างๆจากการสัมผัส ในวันที่3 Gardnerกลายเป็นคนอารมณ์ฉุนเฉียวและร่างกายของเขาทางานอย่างไม่ประสานกัน
ในวันสุดท้ายของการทดลองนี้เขาต้องพยายามอย่างมากในการตั้งสมาธิและเขากลายเป็นคนที่มีปัญหาความจาสั้น
หวาดกลัวสิ่งต่างๆอย่างไม่มีเหตุผลและเริ่มเห็นภาพหลอน ถึงแม้ว่าเขาสามารถฟื้นตัวโดยปราศจากอาการทางจิตใน
ระยะยาว
6
แต่โดยทั่วไปหากเราไม่ได้นอนอาจจะมีผลต่อความไม่สมดุลย์ทางฮอร์โมน,มีอาการป่วย,และในขั้นที่รุนแรงอาจจะ
ส่งผลถึงชีวิต เราเพิ่งเริ่มที่จะเข้าใจว่าทาไมเราถึงต้องนอนหลับ แต่สิ่งที่เรารู้แน่ๆคือมันสาคัญ สาหรับผู้ใหญ่นั้น
ต้องการการนอนหลับพักผ่อนประมาณ7-8ชั่วโมงต่อคืน ส่วนวัยรุ่นต้องการการนอนหลับถึง10ชั่วโมง สาเหตุที่เรารู้สึก
ง่วงนอนเนื่องจากร่างกายของเราส่งสัญญาณถึงสมองบอกว่าเราเหนื่อยล้าแล้วและต้องการการพักผ่อน ส่วนอีกสาเหตุ
คือสัญญาณจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบอกเราว่ามันเป็นเวลากลางคืนแล้ว ซึ่งสารเคมีที่ชักจูงการนอนหลับอย่างอ
เดโนซีน(Adenosine)และเมลาโทนิน(Melatonin)จะเพิ่มขึ้นทาให้ร่างกายเราทางานช้าลง อัตราการเต้นของหัวใจ
และการหายใจก็จะช้าลง กล้ามเนื้อเริ่มที่จะผ่อนคลาย การนอนหลับในช่วงนี้เรียกว่าNon-REM (Non-Rapid Eye
Movement)จะเป็นช่วงที่DNAในร่างกายจะถูกซ่อมแซมและร่างกายของเราจะเตรียมตัวของมันเพื่อการดาเนินชีวิต
ในวันต่อไป
ในสหรัฐอเมริกามีการประมาณถึงตัวเลขเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า30%ของผู้ใหญ่และ66%ของวัยรุ่นมีการนอนหลับพักผ่อน
อย่างไม่เพียงพอ ซึ่งการนอนหลับไม่เพียงพอนี้สามารถส่งผลต่อร่างกายได้อย่างน่ากลัว เมื่อเราขาดการนอนหลับจะ
ส่งผลต่อหลายสิ่งไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้,ความจา,อารมณ์,และปฏิกิริยาตอบโต้ของร่ายกาย การขาดการนอนหลับ
อาจจะส่งผลถึงการเจ็บป่วย,การเห็นภาพหลอน,ความดันเลือดสูง และยังเชื่อมโยงไปถึงโรคอ้วนหรือโรคเบาหวานด้วย
จากการวิจัยพบว่าการนอนหลับน้อยกว่า6ชั่วโมงต่อคืนอย่างต่อเนื่องเพิ่มความเสี่ยงของภาวะเส้นเลือดในสมองแตกถึง
4.5เท่าเมื่อเทียบกับกลุ่มผู้ที่นอนหลับ7-8ชั่วโมงต่อคืออย่างคงที่ทุกวัน
สาหรับคนบางกลุ่มผู้ที่มียีนส์ที่ผิดปกติทาให้นอนไม่หลับ ซึ่งอาการนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อFatal Familial Insomnia ซึ่ง
มีผลราวกับฝันร้ายที่ทาให้ร่างกายนั้นอยู่ในภาวะตื่นตัวอยู่ตลอดและไม่สามารถรับรู้ถึงความสบายของการนอนหลับลึก
ได้เลย ภายในไม่กี่เดือนหรือไม่กี่ปีอาการของโรคนี้จะยิ่งแย่ลงๆและนาไปสู่อาการเป็นบ้าหรืออาจส่งผลถึงชีวิต
ทาไมการนอนหลับไม่เพียงพอสามารถส่งผลต่อร่างกายอย่างมหาศาล?
นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าคาตอบนั้นคือการเก็บสะสมของที่เสียไว้ในสมอง ในช่วงที่เราตื่นเซลล์ในร่างกายเราจะวุ่นอยู่กับ
การใช้พลังงานซึ่งพลังงานนั้นจะถูกแตกออกเป็นสารในร่างกายหลายๆตัวซึ่งรวมถึงอะเดโนซีน ในขณะที่อะเดโนซีน
เพิ่มขึ้นมันจะกระตุ้นการอยากนอนหลับหรือที่เรียกกันว่าตัวกดดันการนอนหลับ (เมื่อพูดถึงกาแฟคาเฟอีนทาหน้าที่
โดยการไปปิดกันตัวรับของอะเดโนซีนไว้ทาให้เราอาจจะรู้สึกไม่ง่วงนอน) ส่วนของเสียอื่นๆก็ถูกสร้างและเก็บไว้ใน
สมองอีกมากมาย ถ้าหากของเสียเหล่านั้นไม่ถูกกาจัดออกไปจากสมองมันจะค่อยๆล้นหรือเกินกว่าที่สมองจะสามารถ
เก็บได้ซึ่งจะเป็นผลเสียต่อร่างกายและทาให้มันไม่สามารถทางานได้เป็นระบบ
7
แล้วเกิดอะไรขึ้นในสมองของเราเมื่อเรานอนหลับ?
นักวิทยาศาสตร์พบบางสิ่งที่เรียกว่า Glymphatic System ซึ่งคือระบบทาความสะอาดที่จะมากาจัดของเสียที่ถูกเก็บ
สะสมไว้ในสมองและมันยิ่งทางานได้ดีเมื่อขณะที่เรานอนหลับ มันทางานโดยการใช้ Cerebrospinal Fluid เพื่อล้าง
ของเสียต่างๆในสมองที่ถูกเก็บสะสมไว้ระหว่างเซลล์ อย่างไรก็ตามในขณะที่นักวิยาศาสตร์กาลังพยายามศึกษา
เพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบการฟื้นฟูจากการนอนหลับ แต่เราก็มั่นใจได้ว่าการนอนหลับนั้นเป็นสิ่งที่สาคัญหากเราต้องการ
ที่จะมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- ปรึกษาเลือกหัวข้อ
- นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
- ศึกษารวบรวมข้อมูล
- จัดทารายงาน
- นาเสนอครู
- ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- อินเตอร์เน็ต
- หนังสือที่เกี่ยวข้อง
- คอมพิวเตอร์
- โทรศัพท์
งบประมาณ
- 99 บาท
8
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2. สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้
3. สามารถนาไปเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้
4. มีการนอนที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
1. ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2. ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
3. ที่บ้าน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. วิทยาศาสตร์
2. สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://www.honestdocs.co/lack-of-sleep-disease
https://www.techmoblog.com/how-sleep-deprivation-affects-you/
http://www.signorscience.com/
https://www.pobpad.com

More Related Content

What's hot

การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
bamhattamanee
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
bamhattamanee
 

What's hot (18)

2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Woraprat
WorapratWoraprat
Woraprat
 
Boonyisa612
Boonyisa612Boonyisa612
Boonyisa612
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอม
 
Oh good
Oh goodOh good
Oh good
 
W.11
W.11W.11
W.11
 
Great
GreatGreat
Great
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Comdaniel
ComdanielComdaniel
Comdaniel
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
2557 โครงงาน1
2557 โครงงาน12557 โครงงาน1
2557 โครงงาน1
 
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to The effect of sleep deprivation

2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39
ssuser5d7fc5
 

Similar to The effect of sleep deprivation (20)

2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
2561 project 609
2561 project 6092561 project 609
2561 project 609
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 
2562 final-project 14
2562 final-project 142562 final-project 14
2562 final-project 14
 
2562 final-project 14......
2562 final-project 14......2562 final-project 14......
2562 final-project 14......
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1
 
Project2222
Project2222Project2222
Project2222
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
 
Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39
 
2562 final-project 14
2562 final-project 142562 final-project 14
2562 final-project 14
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat
 

The effect of sleep deprivation

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน ผลกระทบจากการอดนอน ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นายกษิดิศ ธิป้อ เลขที่ 19 ชั้น 6 ห้อง 2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 99 1นายกษิดิศ ธิป้อ เลขที่19 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ผลกระทบจากการอดนอน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) The effect of sleep deprivation. ประเภทโครงงาน การศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายกษิดิศ ธิป้อ ระยะเวลาดาเนินงาน 1 ภาคเรียน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) หลายๆคนคงเคยมีประสบการณ์อดหลับอดนอนทั้งตอนเรียนและตอนทางานกันมาบ้าง เราถูกสอนกันมา นานแล้วว่าคนเราต้องนอนอย่างน้อยวันละ 8 ชั่วโมงเพื่อให้ร่างกายได้ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ แต่ข้อมูลปัจจุบันพบว่า คนส่วนใหญ่มีจานวนน้อยกว่านั้นเนื่องจากแต่ละคนก็มีเวลานอนแตกต่างกันออกไป โดยการศึกษาเปรียบเทียบจานวน ชั่วโมงนอนของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย อายุ 17 ปขึ้นไปจาก 24ประเทศพบวา นักศึกษาไทยนอนนอยติดอันดับ 21 จาก24ประเทศ ผูชาย 6.95 ชม. ผูหญิง 7.08 ชม.นักศึกษาญี่ปุนนอนนอยที่สุด ผูชาย 6.20 ชม.ผูหญิง 6.09 ชม. (Steptoe A, Peacey V, Wardle J. Sleep duration and healthin young adults. Arch Intern Med 2006;166:1689-1692.) และในสหรัฐอเมริกามีการประมาณถึงตัวเลขเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า30%ของผู้ใหญ่และ66%ของ วัยรุ่นมีการนอนหลับพักผ่อนอย่างไม่เพียงพอ จากเหตุผลที่กล่าวมาดังนั้นผู้จัดทาจึงได้ศึกษาถึงผลกระทบการนอน หลับไม่เพียงพอนี้สามารถส่งผลต่อร่างกายได้อย่างไรและเมื่อเราขาดการนอนหลับจะส่งผลต่อร่างกายเราอย่างไร เพราะการนอนหลับนั้นมีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์คนเราอย่างมาก วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาผลกระทบจากการอดนอน 2. เรียนรู้การนอนอย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถนาความรู้ไปปรับปรุ่งและปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. ข้อดี-ข้อเสียของการอดนอน 2. ผลกระทบจากการอดนอน 3. ปัจจัยในการอดนอน 4. การนอนอย่างมีประสิทธิภาพ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การอดนอนส่งผลกระทบทั้งต่อร่างกายและอารมณ์พร้อมกัน ดังนี้  ทาให้ร่างกายอ่อนเพลียเพราะไม่มีการสารองพลังงานมาใช้ในวันรุ่งขึ้น มีผู้กล่าวว่าถ้าร่างกายเรามีพลังงานอยู่ เท่ากับ 100% เราจะหมุนเวียนพลังงานใช้จริงอยู่เพียง 70% ที่เหลืออีก 30% จะเป็นพลังงานสารองของชีวิต เอาไว้ใช้ในยามป่วยไข้ไม่สบายหรือใช้ในภาวะฉุกเฉินต่างๆรวมถึงภาวะอดนอนนี้ด้วย ดังนั้นจึงพบว่าถ้าอด นอนสั้นๆ เราจึงไม่เป็นอะไรมาก แต่ถ้านานไปพลังงานที่เหลือ 30% นี้ก็จะร่อยหรอลงและเมื่อนั้นเราก็จะมี อาการไม่สบายชัดเจนขึ้น  การอดนอนทาให้เกิดโรคอ้วนตามมาได้ เนื่องจากเกิดความผิดปกติของกระบวนการเผาผลาญน้าตาลในเลือด ทาให้น้าตาลในเลือดมีไม่เพียงพอ ส่งผลให้เราต้องรับประทานมากยิ่งขึ้น อาการจะคล้ายกับผู้ป่วย โรคเบาหวานแบบที่ 2 (Diabetes type 2) การที่เราตื่นอยู่นานแบบอดนอนทาให้ร่างกายเผาผลาญพลังงาน มากขึ้น เราจึงรู้สึกอยากรับประทานอาหารมากยิ่งขึ้นไปอีก จากหลักฐานการศึกษาพบว่าความอ้วนที่เกิดจาก การอดนอนพบได้บ่อยขึ้นในคนอายุน้อย หรือในวัยกลางคนมากกว่ากลุ่มผู้สูงอายุ ปัจจัยเสริมอย่างอื่นก็เช่น การดูทีวีรอบดึกก็มีผลให้อยากรับประทานอาหารเพิ่มอีกหนึ่งมื้อ หรืออยากรับประทานขนมขบเคี้ยวมากขึ้น ก็จะยิ่งเป็นตัวเสริมให้อ้วนขึ้นไปเรื่อยๆ  การอดนอนทาให้ร่างกายไม่เจริญเติบโต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มเด็กเนื่องจากฮอร์โมนเกี่ยวกับการ เจริญเติบโตถูกสร้างน้อยลง รวมไประบบภูมิคุ้มกันของร่างกายถูกรบกวนอีกด้วย ทาให้เจ็บป่วยได้ง่าย หรือ รุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตจากการอดนอนเลยก็มีดังที่เป็นข่าวข้างต้น เมื่ออดนอนเรื้อรังจะส่งผลต่อการทางานของสมอง ดังนี้  ทาให้หลอดเลือดสมองตีบ มีผลการศึกษาทางการแพทย์รายงานว่าผู้ที่มีปัญหาปวดศีรษะและความจาไม่ดี จานวนหนึ่งเมื่อตรวจเอกซเรย์สมองแล้วพบว่ามีหลอดเลือดสมองตีบ และเมื่อสืบประวัติย้อนกลับไปพบว่า จานวนมากที่มีประวัตินอนไม่พอร่วมด้วย หลังจากที่ผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้นอนหลับเพิ่มขึ้นก็พบว่าหลอดเลือดสมอง ที่ตีบนั้นดีขึ้นเช่นกัน นักวิจัยกาลังศึกษาเรื่องนี้มากขึ้นและอาจมีเหตุผลอธิบายที่ชัดเจนขึ้นในอนาคต  ทาให้กระบวนการเรียนรู้ช้าลง  การอดนอนจะมีผลต่อการทางานของสมองในส่วนต่างๆ ให้ทางานผิดไป เช่นที่สมองส่วนหน้าสุด (prefrontal cortex) จะทาให้การเรียนรู้จากคาพูด (verbal learning tasks) แย่ลง ส่วนกลีบสมองบริเวณ ขมับ (Temporal lobe) จะทาให้การเรียนรู้ด้านภาษา (language processing) ช้าลง  ทาให้เกิดอาการงีบหลับสั้นๆ หรือที่เรียกว่า “หลับกลางอากาศ” หรือ “หลับใน” เกิดจากการที่สมองส่วนธา ลามัส (Thalamus) ของคนที่นอนไม่พอ จะหยุดทางานช่วงสั้นๆ แบบชั่วคราว อาจเป็นวินาทีหรือนานถึงครี่ง นาที ทาให้เกิดอาการงีบหลับ ไม่ตื่นตัว ไม่ตอบสนองต่อการรับรู้ใดๆ หรือรับรู้ได้ช้า บางคนเรียกภาวะนี้ว่า “หลับใน” ซึ่งเป็นอันตรายมากถ้าเกิดขึ้นระหว่างที่กาลังขับรถหรือระหว่างการทางานที่ต้องใช้ความเร็วหรือ ความแม่นยาอยู่ด้วย เราคงได้ฟังเรื่องอุบัติเหตุทางรถยนต์จากการหลับในนี้อยู่บ่อยครั้งแล้วนะครับ  ทาให้เกิดอาการทางจิตการอดนอนชนิดรุนแรงสามารถทาให้เกิดภาวะโรคทางจิต (psychosis) ได้ เช่น อาการหูแว่ว ประสาทหลอน หลงผิด ระแวงกลัวคนมาทาร้าย หรือมีอาการคล้ายคนที่เป็นโรคอารมณ์
  • 4. 4 แปรปรวนหรือโรคอารมณ์สองขั้ว (Bipolar disorder) เช่นมีอารมณ์ร่าเริงสนุกสนานผิดปกติ หรือมีอารมณ์ เศร้าผิดปกติได้ นอกจากนั้นยังทาให้เกิดอาการหงุดหงิดง่าย หรืออารมณ์เสียง่ายมากน้อยตามแต่ความรุนแรง ของการอดนอนนั้น แนวทางการรักษาเรื่องอดนอนที่ได้ผลดีที่สุด คือ การนอนให้พอเพียง อาจจะใช้เวลานอนให้มากกว่าปกติในวันก่อนที่รู้ ว่าจะต้องอดนอน และเมื่ออดนอนมาแล้วก็ควรหาเวลานอนชดใช้ให้มากพอ ภาวะอดนอนก็จะดีขึ้นได้เองโดยที่ไม่ต้อง ไปหาการรักษาที่ยุ่งยากอื่น ที่มา: ศูนย์วิจัยสุขภาพกรุงเทพ เครือโรงพยาบาลกรุงเทพ หลายๆ คนคงเคยมีประสบการณ์อดหลับอดนอนทั้งสมัยเรียนและสมัยทางานกันมาบ้าง อาจจะมีทั้งเวอร์ชั่นเด็กๆ อด นอนแค่ 1 คืน แอดว้านซ์ขึ้นมาหน่อยก็ 2 คืนบ้าง 3 คืนบ้าง หรือไอดอลฟรีแลนซ์ห้ามป่วยห้ามตายขั้นเทพอย่าง ยุ่น ก็ทาสถิติอยู่ที่ 5 วัน ถ้าให้ลองเดาเลขดูเล่นๆ คงไม่มีใครคิดว่าจะมีมนุษย์ที่ทาสถิติโลกอดนอนได้สูงสุดถึง 11 วัน!!! ฟัง แล้วก็ทั้งทึ่งทั้งง่วงไปพร้อมๆกัน! จาก Guinness Book of Records ในปี 2007 มีนักเขียนและนักวิจัยชาวอังกฤษ Tony Wright ทาสถิติอดนอนได้ นานที่สุดติดต่อกันถึง 266 ชั่วโมง หรือประมาณ 11 วัน!!! แล้วถ้าย้อนกลับไปอีกเมื่อปี 1964 เจ้าของสถิติแรกของการ ไม่หลับไม่นอนนานที่สุดคือ Toimi Soini จากฟินแลนด์ ที่อดนอนไป 276 หรือประมาณ 11 วันครึ่งเลยทีเดียว โดย Tony Wright เจ้าของสถิติคนล่าสุด ได้ให้สัมภาษณ์หลังจากเสร็จภารกิจอดนอนอันยาวนานว่า “เขายังสบายๆ แค่สั่นๆนิดหน่อย ไม่ได้รู้สึกเหนื่อย แต่รู้สึกว่ามีอะดรีนาลีนสูบฉีดอยู่ ณ ขณะนั้น” โดยเคล็ดลับที่ช่วยให้เขาถ่างตาอด หลับอดนอนได้ก็คือการพูดคุย เล่นพูล กินอาหารไดเอทดิบๆ เช่น ผัก ผลไม้อย่าง กล้วย อะโวคาโด สับปะรด น้าแค รอท ธัญพืช และถั่วต่างๆ โดยไรท์เองยังให้ได้ข้อคิดเกี่ยวกับทฤษฎีสมองของมนุษย์ไว้ด้วยว่า การอดนอนทาให้สมองซีกซ้ายที่ควบคุมการคิดเชิง ตรรกะและเหตุผลทางานได้ลดประสิทธิภาพลง แต่กลับกันก็ส่งผลให้สมองซีกขวาที่เป็นความคิดเชิงสร้างสรรค์ทางาน ได้ดีขึ้นอีกด้วย
  • 5. 5 สมองซีกซ้ายและซีกขวา จากสถิติการอดนอนเหล่านี้ สอดคล้องกับงานวิจัยของ J. Christian Gillin ผู้เชี่ยวชาญด้านการนอนหลับและจิตเวช จาก University of California ในซานดิเอโก้ สหรัฐอเมริกา โดยในปี 1964 มีการทาการทดลองกับ Randy Gardner นักเรียนมัธยมอายุ 17 ปี ซึ่งการ์ดเนอร์เองอดนอนไปทั้งสิ้น 264 ชั่วโมง (ประมาณ 11 วัน) ถึงแม้การอด นอน 11 วันจะไม่ทาให้ถึงแก่ชีวิต แต่ในระหว่างการวิจัยการ์ดเนอร์เริ่มมีอาการเกี่ยวกับการมองเห็น การรับรู้ทาง ความคิดเช่น ความเร็วในการตอบสนอง หรือความทรงจา รวมถึงในตอนท้ายก็เริ่มมีอาการเห็นภาพหลอนอีกด้วย ในปี1965 เด็กนักเรียนมัธยมวัย17คนหนึ่งชื่อ Randy Gardner ใช้ชีวิตโดยไม่นอนหลับต่อกันนานถึง264 ชั่วโมง ซึ่งนั่นคือ11วันเต็มที่เขาไม่ได้นอน แต่หลายคนไม่ได้โชคดีแบบเขา ในปี2014แฟนบอลคนหนึ่งเสียชีวิตจากกา รอดนอนติดต่อกันแค่48ชั่วโมงเพื่อที่จะดูบอลโลกซึ่งสาเหตุการเสียชีวิตของเขาเกิดจากเส้นเลือดในสมองแตก เฉียบพลัน ในวันที่สองตาของเขาไม่สามารถโฟกัสสิ่งต่างๆได้ วันถัดมานั้นเขาสูญเสียความสามารถในการรับรู้สิ่งของ ต่างๆจากการสัมผัส ในวันที่3 Gardnerกลายเป็นคนอารมณ์ฉุนเฉียวและร่างกายของเขาทางานอย่างไม่ประสานกัน ในวันสุดท้ายของการทดลองนี้เขาต้องพยายามอย่างมากในการตั้งสมาธิและเขากลายเป็นคนที่มีปัญหาความจาสั้น หวาดกลัวสิ่งต่างๆอย่างไม่มีเหตุผลและเริ่มเห็นภาพหลอน ถึงแม้ว่าเขาสามารถฟื้นตัวโดยปราศจากอาการทางจิตใน ระยะยาว
  • 6. 6 แต่โดยทั่วไปหากเราไม่ได้นอนอาจจะมีผลต่อความไม่สมดุลย์ทางฮอร์โมน,มีอาการป่วย,และในขั้นที่รุนแรงอาจจะ ส่งผลถึงชีวิต เราเพิ่งเริ่มที่จะเข้าใจว่าทาไมเราถึงต้องนอนหลับ แต่สิ่งที่เรารู้แน่ๆคือมันสาคัญ สาหรับผู้ใหญ่นั้น ต้องการการนอนหลับพักผ่อนประมาณ7-8ชั่วโมงต่อคืน ส่วนวัยรุ่นต้องการการนอนหลับถึง10ชั่วโมง สาเหตุที่เรารู้สึก ง่วงนอนเนื่องจากร่างกายของเราส่งสัญญาณถึงสมองบอกว่าเราเหนื่อยล้าแล้วและต้องการการพักผ่อน ส่วนอีกสาเหตุ คือสัญญาณจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบอกเราว่ามันเป็นเวลากลางคืนแล้ว ซึ่งสารเคมีที่ชักจูงการนอนหลับอย่างอ เดโนซีน(Adenosine)และเมลาโทนิน(Melatonin)จะเพิ่มขึ้นทาให้ร่างกายเราทางานช้าลง อัตราการเต้นของหัวใจ และการหายใจก็จะช้าลง กล้ามเนื้อเริ่มที่จะผ่อนคลาย การนอนหลับในช่วงนี้เรียกว่าNon-REM (Non-Rapid Eye Movement)จะเป็นช่วงที่DNAในร่างกายจะถูกซ่อมแซมและร่างกายของเราจะเตรียมตัวของมันเพื่อการดาเนินชีวิต ในวันต่อไป ในสหรัฐอเมริกามีการประมาณถึงตัวเลขเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า30%ของผู้ใหญ่และ66%ของวัยรุ่นมีการนอนหลับพักผ่อน อย่างไม่เพียงพอ ซึ่งการนอนหลับไม่เพียงพอนี้สามารถส่งผลต่อร่างกายได้อย่างน่ากลัว เมื่อเราขาดการนอนหลับจะ ส่งผลต่อหลายสิ่งไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้,ความจา,อารมณ์,และปฏิกิริยาตอบโต้ของร่ายกาย การขาดการนอนหลับ อาจจะส่งผลถึงการเจ็บป่วย,การเห็นภาพหลอน,ความดันเลือดสูง และยังเชื่อมโยงไปถึงโรคอ้วนหรือโรคเบาหวานด้วย จากการวิจัยพบว่าการนอนหลับน้อยกว่า6ชั่วโมงต่อคืนอย่างต่อเนื่องเพิ่มความเสี่ยงของภาวะเส้นเลือดในสมองแตกถึง 4.5เท่าเมื่อเทียบกับกลุ่มผู้ที่นอนหลับ7-8ชั่วโมงต่อคืออย่างคงที่ทุกวัน สาหรับคนบางกลุ่มผู้ที่มียีนส์ที่ผิดปกติทาให้นอนไม่หลับ ซึ่งอาการนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อFatal Familial Insomnia ซึ่ง มีผลราวกับฝันร้ายที่ทาให้ร่างกายนั้นอยู่ในภาวะตื่นตัวอยู่ตลอดและไม่สามารถรับรู้ถึงความสบายของการนอนหลับลึก ได้เลย ภายในไม่กี่เดือนหรือไม่กี่ปีอาการของโรคนี้จะยิ่งแย่ลงๆและนาไปสู่อาการเป็นบ้าหรืออาจส่งผลถึงชีวิต ทาไมการนอนหลับไม่เพียงพอสามารถส่งผลต่อร่างกายอย่างมหาศาล? นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าคาตอบนั้นคือการเก็บสะสมของที่เสียไว้ในสมอง ในช่วงที่เราตื่นเซลล์ในร่างกายเราจะวุ่นอยู่กับ การใช้พลังงานซึ่งพลังงานนั้นจะถูกแตกออกเป็นสารในร่างกายหลายๆตัวซึ่งรวมถึงอะเดโนซีน ในขณะที่อะเดโนซีน เพิ่มขึ้นมันจะกระตุ้นการอยากนอนหลับหรือที่เรียกกันว่าตัวกดดันการนอนหลับ (เมื่อพูดถึงกาแฟคาเฟอีนทาหน้าที่ โดยการไปปิดกันตัวรับของอะเดโนซีนไว้ทาให้เราอาจจะรู้สึกไม่ง่วงนอน) ส่วนของเสียอื่นๆก็ถูกสร้างและเก็บไว้ใน สมองอีกมากมาย ถ้าหากของเสียเหล่านั้นไม่ถูกกาจัดออกไปจากสมองมันจะค่อยๆล้นหรือเกินกว่าที่สมองจะสามารถ เก็บได้ซึ่งจะเป็นผลเสียต่อร่างกายและทาให้มันไม่สามารถทางานได้เป็นระบบ
  • 7. 7 แล้วเกิดอะไรขึ้นในสมองของเราเมื่อเรานอนหลับ? นักวิทยาศาสตร์พบบางสิ่งที่เรียกว่า Glymphatic System ซึ่งคือระบบทาความสะอาดที่จะมากาจัดของเสียที่ถูกเก็บ สะสมไว้ในสมองและมันยิ่งทางานได้ดีเมื่อขณะที่เรานอนหลับ มันทางานโดยการใช้ Cerebrospinal Fluid เพื่อล้าง ของเสียต่างๆในสมองที่ถูกเก็บสะสมไว้ระหว่างเซลล์ อย่างไรก็ตามในขณะที่นักวิยาศาสตร์กาลังพยายามศึกษา เพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบการฟื้นฟูจากการนอนหลับ แต่เราก็มั่นใจได้ว่าการนอนหลับนั้นเป็นสิ่งที่สาคัญหากเราต้องการ ที่จะมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน - ปรึกษาเลือกหัวข้อ - นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน - ศึกษารวบรวมข้อมูล - จัดทารายงาน - นาเสนอครู - ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - อินเตอร์เน็ต - หนังสือที่เกี่ยวข้อง - คอมพิวเตอร์ - โทรศัพท์ งบประมาณ - 99 บาท
  • 8. 8 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น 2. สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ 3. สามารถนาไปเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้ 4. มีการนอนที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น สถานที่ดาเนินการ 1. ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2. ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 3. ที่บ้าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. วิทยาศาสตร์ 2. สุขศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://www.honestdocs.co/lack-of-sleep-disease https://www.techmoblog.com/how-sleep-deprivation-affects-you/ http://www.signorscience.com/ https://www.pobpad.com