SlideShare a Scribd company logo
1
1. อิเล็กตรอนที่อยู่ในอะตอมใดๆ จะเคลื่อนที่ในตำแหน่งที่
แน่นอนรอบนิวเคลียสเป็นวงโคจรคล้ำยระบบสุริยจักรวำล
ระยะระหว่ำงอิเล็กตรอนกับนิวเคลียสมีค่ำคงที่
2. อิเล็กตรอนที่อยู่ในตำแหน่งคงที่ จะไม่แผ่รังสี
พลังงำน แต่ถ้ำอิเล็กรอนเคลื่อนที่จำกระดับพลังงำน
สูงมำยังที่ระดับพลังงำนต่ำ จะแผ่รังสีพลังงำน ซึ่งมี
ค่ำเท่ำกับผลต่ำงระหว่ำงระดับพลังงำนทั้งสอง
3. อิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงำนสูงกว่ำ จะอยู่ห่ำงจำก
นิวเคลียสมำกกว่ำอิเล็กตรอนที่มีระดับพลังงำนต่ำ
4. สิ่งที่ทำให้อิเล็กตรอนหมุนรอบนิวเคลียส คือ
ค่ำโมเมนตัมเชิงมุม ( mvr)**ของอิเล็กตรอน
ใช้อธิบำยพฤติกรรมอะตอมที่มีอิเล็กตรอนหนึ่ง
อิเล็กตรอน เช่น H He+ Li2+ ได้ดี
ข้อบกพร่องของแบบจำลองอะตอมของโบร์
ไม่สำมำรถใช้อธิบำยพฤติกรรมอะตอมที่มีอิเล็กตรอนหลำย
อิเล็กตรอนได้
ข้อเท็จจริงไม่สำมำรถระบุตำแหน่งทำงเดินของอะตอมที่แน่นอนได้
อธิบำยกำรเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในระดับ 2 มิติเท่ำนั้น
สมมุติฐำนของ เดอ บรอยล์(de Broglie)
สสารทุกชนิด ไม่ว่าขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่มีสมบัติ
เป็ นทั้งคลื่นและอนุภาคตัวเอง เช่นเดียวกับแสง ที่มี
สมบัติทั้งสองอย่างนี้
สำรสำมำรถแสดงสมบัติเป็นคลื่นที่มีระดับพลังงำนเป็นช่วงๆ
สำมำรถเกิดกำรสั่นด้วยควำมถี่บำงค่ำเท่ำนั้นในลักษณะคลื่นนิ่ง
แนวควำมคิดของเดอ บรอยล์ นำไปอธิบำยสมบัติของอิเล็กตรอนใน
ทฤษฎีของโบร์ด้วยว่ำ กำรที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสในวง
โคจรที่เสถียรนั้น ถ้ำพิจำรณำแง่ควำมเป็นคลื่นแล้ว หมำยควำมว่ำ
อิเล็กตรอนมีสมบัติเป็นคลื่นนิ่งเท่ำนั้น
เปรียบเทียบการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในลักษณะคลื่นนิ่ง
อิเล็กตรอนเป็นอนุภำคที่มีขนำดเล็กมำกและเคลื่อนที่ด้วย
ควำมเร็วสูง ดังนั้นกำรหำตำแหน่งและควำมเร็วที่แน่นอน
ของอิเล็กตรอน จึงกระทำได้ยำกหรือหำควำมถูกต้อง
แน่นอนไม่ได้ จึงสรุปเป็นหลักควำมไม่แน่นอนไว้ว่ำ
“เรำไม่สำมำรถที่จะทรำบตำแหน่งหรือควำมเร็วหรือ
โมเมนตัมของอิเล็กตรอนที่แน่นอนทั้งสองอย่ำงในเวลำ
เดียวกันได้”
• ค.ศ. 1900 พลังค์ ( Max Planck) เสนอควำมคิดว่ำ
พลังงำนของรังสีแม่เหล็กไฟฟ้ ำที่เปล่งออกมำมีลักษณะเป็น
กลุ่มๆ เรียกกลุ่มเหล่ำนี้ว่ำ ควอนตัมพลังงำน ซึ่งเป็น
ปริมำณพลังงำนที่น้อยที่สุดค่ำหนึ่งที่อิเล็กตรอนดูดกลืน
หรือคำยออกมำ พลังงำนของแสงชนิดต่ำงๆ ขึ้นอยู่กับ
ควำมถี่ของแสงนั้น
• ทฤษฎีควอนตัมจึงสำมำรถใช้อธิบำยถึงกำรกระจำยของ
อิเล็กตรอนในอะตอมต่ำงๆได้
ค.ศ. 1905 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ( Albert Einstein) อธิบำย
ปรำกฏกำรณ์โฟโตอิเล็กตรอน (photoelectron) ได้ถูกต้อง
และเสนอว่ำ แสง ควรมีสมบัติเป็น อนุภำค ได้ด้วย เรียกว่ำ
โฟตอน (photon) และใช้ทฤษฎีของพลังค์กำหนดค่ำ
พลังงำนของโฟตอนนั้น
อนุภำคแสง 1 โฟตอน ที่มีควำมถี่  จะมีพลังงำนหำได้ดังนี้
E = h
ค่ำพลังงำนนี้คิดเป็น 1 ควอนตัม
จำกกำรยอมรับว่ำอิเล็กตรอนมีสมบัติเป็นทั้งคลื่นและอนุภำค
และกำรที่จะระบุตำแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนนั้นทำได้
ยำกมำก แต่ในทำงปฏิบัติสำมำรถคำนวณหำโอกำสที่จะพบ
อิเล็กตรอนใบริเวณใดบริเวณหนึ่งๆในลักษณะของคลื่นนิ่ง
(standing wave) หรือกล่ำวอีกนัยหนึ่งคือบริเวณที่มีควำม
หนำแน่นของอิเล็กตรอน (electron density) ได้
เออร์วิน ชโรดิงเงอร์ ( Erwin Schrodinger ) ได้ศึกษำ
พฤติกรรมองอิเล็กตรอนในลักษณะคลื่น และได้เสนอ สมกำร
คลื่น (wave function) เรียกว่ำ สมกำรชโรดิงเงอร์ เพื่อ
คำนวณหำโอกำสที่จะพบอิเล็กตรอนในระดับพลังงำนต่ำงๆ
ซึ่งสำมำรถใช้อธิบำยเส้นสเปกตรัมของธำตุได้ถูกต้องมำกกว่ำ
13
• ปัจจุบันโครงสร้ำงอะตอมแบบกลุ่มหมอกสำมำรถใช้
อธิบำยสมบัติต่ำงๆของอะตอมได้อย่ำงกว้ำงขวำง
นักเรียนคิดว่ำ
แบบจำลองอะตอมจะมี
โอกำสพัฒนำอีกต่อไป
หรือไม่ ??
Dalton
(1830) Thomson
(1904)
Rutherford
(1911)
Bohr
(1913)
Schrodinger
(1926)
• ในแง่ของกลศำสตร์ควอนตัม(Quantum mechanics)
หรือ กลศำสตร์คลื่น ( wave mechanic) เรำเรียกบริเวณที่
มีโอกำสพบอิเล็กตรอนหรือบริเวณที่มีควำมหนำแน่นของ
อิเล็กตรอน ว่ำ ออร์บิทัล( Orbital) หรือ ออร์บิทัล
อะตอม ( atomic orbital) และตำมสมมุติฐำนของโบร์นั้น
อิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังำนหนึ่งๆ ประกอบด้วย
ระดับพลังงำนย่อย (subenergy levels) ซึ่งเป็นบริเวณที่
พบอิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็นรูปต่ำงๆรอบนิวเคลียส
อาณาเขตที่จะพบอิเล็กตรอนใน 3 มิติ มีชื่อและรูปร่างที่
แตกต่างกัน ดังนี้
1. ออร์บิทัล s ( s- orbital)
กำรกระจำยของอิเล็กตรอนไม่ขึ้นกับทิศทำง เคลื่อนที่เป็นทรง
กลมรอบนิวเคลียสผ่ำนแกนทั้งสำม ( X,Y,Z) อย่ำงเท่ำเทียมกัน
http://chem4three.blog
spot.com/
2. ออร์บิทัล p ( p- orbital)
ออร์บิทัล p มี 3 ออร์บิทัล ลักษณะเป็นพู(lobe) สองพูอยู่คนละด้ำนกับ
นิวเคลียส ตำมแนวแกน X , Y และ Z บำงครั้งเรียกว่ำมีรูปร่ำง
แบบดัมเบล(dumbbell shaped) อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่อยู่ในพูทั้ง
สองเป็นเวลำเท่ำๆกัน และตรงบริเวณนิวเคลียสโอกำสที่จะพบ
อิเล็กตรอนเป็นศูนย์
ที่ระดับพลังงำนเดียวกัน px ,py ,pz ออร์บิทัลทั้งสำมจะมีพลังงำนเท่ำกัน
3. ออร์บิทัล d ( d- orbital)
อิเล็กตรอนในออร์บิทัล d มีควำมซับซ้อนมำกขึ้น มี 5 ออร์
บิทัล แต่ละออร์บิทัลมีรูปร่ำงและกำรจัดตัวในที่ว่ำง 3 มิติใน
ทิศทำงต่ำงกัน จึงมีชื่อเรียกตำมกำรจัดตัวในที่ว่ำง 3 มิติ คือ
dxy , dyz , dxz , ซึ่งมี 4 พูอยู่ตรงกันข้ำมกันโดยมี
นิวเคลียสอยู่ตรงจุดกึ่งกลำงระหว่ำงพู และ มีพู 2 พูอยู่
บนแกน z มีวงแหวนบนระนำบ xy
22
yx
d 
2
z
d
รูปร่ำงออร์บิทัล d ( d- orbital)
4. ออร์บิทัล f ( f- orbital)
http://commons.wikimedia.org/wiki/File:F_orbitals.png
จำกกฏเกณฑ์ทำงคณิตศำสตร์ในกำรแก้สมกำรชโรดิงเงอร์
เพื่อหำพลังงำนและบริเวณที่จะพบอิเล็กตรอนในสำมมิติ
จะมีตัวเลขจำนวนเต็มสำมชนิดเข้ำมำเกี่ยวข้อง คือ n , l
และ ml ตัวเลขดังกล่ำวนี้ เรียกว่ำ เลขควอนตัม ซึ่งมี
ควำมสัมพันธ์กันอย่ำงต่อเนื่อง แต่ละชุดของเลขควอนตัม
ใช้บ่งบอกระดับพลังงำน ขนำด รูปร่ำง และทิศทำงของ
ออร์บิทัลอะตอม
1. เลขควอนตัมหลัก (The principle quantum number , n )
n เป็ นตัวเลขจานวนเต็มมีค่าตั้งแต่ 1,2,3…. ค่าของ n บอก
ให้ทราบระยะห่างของอิเล็กตรอนกับนิวเคลียส อย่างหยาบๆ
คือ ถ้า n ยิ่งสูงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนยิ่งห่างจากนิวเคลียส
มากขึ้น
ในอะตอมที่มีอิเล็กตรอนมำกกว่ำหนึ่งอิเล็กตรอน อำจมี
อิเล็กตรอนหนึ่งหรือมำกกว่ำหนึ่งตัวที่มีค่ำ n เดียวกัน
เรียกว่ำ ชั้นอิเล็กตรอน (electron sheel) โดยแต่ละชั้นมี
จำนวนอิเล็กตรอนเข้ำอยู่ได้จำนวน 2n2 ซึ่งชั้นอิเล็กตรอนก็
คือระดับพลังงำน K ,L,M,N…..ตำมแบบจำลองอะตอมของ
โบร์ ที่มีค่ำ n = 1,2,3,4…..ตำมลำดับ
2. เลขควอนตัมโมเมนตัมเชิงมุม (The angular momentum
quantum number ,l)
l เป็นเลขจำนวนเต็มมีค่ำ = 0,1,2,3…..(n-1) เป็นตัวเลขที่ใช้
บอกจำนวนชั้นย่อยในระดับพลังงำนหลัก(n) หรือรูปร่ำงของ
ออร์บิทัลนั่นเอง
ตัวเลขค่ำ n ในชั้นหนึ่งๆ เป็นตัวจำกัดชั้นย่อยที่เป็นไป
ได้ในชั้นนั้น นั่นคือ ค่ำ l สูงสุด มีค่ำเท่ำกับ n-1
ค่ำ n = 1 ค่ำ l = 0
ค่ำ n = 2 ค่ำ l = 0 , 1
ค่ำ n = 3 ค่ำ l = 0 , 1 , 2
ค่ำ n = 4 ค่ำ l = 0 , 1 , 2 , 3
ที่ n= 1 มี l = 0 เพียงค่ำเดียว
แสดงว่ำมีรูปร่ำงออร์บิทัลที่
เป็นไปได้เพียง 1 แบบ
สำหรับค่ำ l ต่ำงๆ ใช้สัญลักษณ์แทนชั้นย่อยดังนี้
ค่ำ l ชั้นย่อย(subsheel)
0 s
1 p
2 d
3 f
ควำมหมำยของค่ำ l และตัวอักษรที่ใช้แทน
ถ้ำชั้นย่อยที่มีค่ำ l = 1 เรียกว่ำ ชั้นย่อย p ( p subshell)
และออร์บิทัลที่พบในชั้นย่อยนี้เรียกว่ำ p - orbital
สัญลักษณ์ต่ำงๆ
เหล่ำนี้ได้มำจำกชื่อ
ของเส้นสเปกตรัมที่
ปล่อยออกมำ คือ
sharp , principle ,
diffuse และ
fundamental
3. เลขควอนตัมแม่เหล็ก (Magnetic quantum number , ml)
เลขควอนตัมแม่เหล็ก ml มีค่ำ ตั้งแต่ +l , 0 , -l บอกให้ทรำบ
กำรจัดทิศทำงหรือตำแหน่งของออร์บิทัลชนิดเดียวกันในระดับ
พลังงำนย่อยเดียวกันว่ำมีได้กี่แบบ ค่ำของ ml จึงขึ้นอยู่กับค่ำของ l
คือ มีค่ำเป็น 2l+1 ค่ำ
ถ้ำ l = 0 ml = 0 แสดงว่ำ ml มีเพียงค่ำเดียว คือ 0
ถ้ำ l = 1 ml = 3 แสดงว่ำ ml มี 3 ค่ำ คือ +1,0,-1
ถ้ำ l = 2 ml = 5 แสดงว่ำ ml มี 5 ค่ำ คือ ………..
ถ้ำ l = 3 ml = …. แสดงว่ำ ml มี……ค่ำ คือ ……
s - orbital
p - orbital
d - orbital
f - orbital
4. เลขควอนตัมสปิน (Spin quantum number , s)
เนื่องจำกอิเล็กตรอนเป็นอนุภำคที่มีประจุไฟฟ้ ำมีพฤติกรรม
คล้ำยแท่งแม่เหล็กแท่งเล็กๆ มีกำรหมุนรอบนิวเคลียสและ
มีกำรหมุนรอบตัวเองด้วย กำรหมุนนี้ทำให้ประจุลบของ
อิเล็กตรอนเหนี่ยวนำให้เกิดสนำมแม่เหล็กขึ้น กำรหมุนเกิด
ได้ 2 แบบ คือ หมุนตำมเข็มนำฬิกำ( ) หรือเรียกว่ำ
หมุนขึ้น(spin up) อิเล็กตรอนอีกตัวหนึ่งจะหมุนทวนเข็ม
นำฬิกำ ( ) หรือหมุนลง (spin down) ทั้งนี้เพื่อหักล้ำง
กันทำให้ออร์บิทัลมีพลังงำนต่ำสุด
1
2
+
1
2
-
อิเล็กตรอนที่มีสปิน
ที่มา p.65 โครงการตารา สอวน.เคมี
Atom 3
Atom 3

More Related Content

What's hot

พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
Dr.Woravith Chansuvarn
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
การค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้าการค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้าJiraporn Chaimongkol
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
kapom7
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์Somporn Laothongsarn
 
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียสโครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียสสุริยะ ไฝชัยภูมิ
 
ทฤษฏีอะตอมของโบร์
ทฤษฏีอะตอมของโบร์ทฤษฏีอะตอมของโบร์
ทฤษฏีอะตอมของโบร์
npichaaaaa
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
พัน พัน
 
012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai
Saranyu Pilai
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 

What's hot (15)

ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
การค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้าการค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้า
 
Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า) Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า)
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
 
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียสโครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
 
ทฤษฏีอะตอมของโบร์
ทฤษฏีอะตอมของโบร์ทฤษฏีอะตอมของโบร์
ทฤษฏีอะตอมของโบร์
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
 
012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 

Similar to Atom 3

Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
Wijitta DevilTeacher
 
9789740327752
97897403277529789740327752
9789740327752
CUPress
 
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เอเอ็นโอเอ็นซีเอดี ซีทีอาร์แอลเอแอลทีดีอีแอล
 
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสารสมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
พัน พัน
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
Chanthawan Suwanhitathorn
 
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BMElectro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Dechatorn Devaphalin
 
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอมแบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
เอเอ็นโอเอ็นซีเอดี ซีทีอาร์แอลเอแอลทีดีอีแอล
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนkrupatcharee
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
Wijitta DevilTeacher
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุkrupatcharee
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Thaweekoon Intharachai
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
ณรรตธร คงเจริญ
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
Wijitta DevilTeacher
 
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
GanKotchawet
 

Similar to Atom 3 (20)

มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
9789740327752
97897403277529789740327752
9789740327752
 
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสารสมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BMElectro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
 
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอมแบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอน
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
Nuclear
NuclearNuclear
Nuclear
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
 

More from Saipanya school

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
Saipanya school
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
Saipanya school
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
Saipanya school
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solution
Saipanya school
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
Saipanya school
 
Concentration ..2018
Concentration ..2018Concentration ..2018
Concentration ..2018
Saipanya school
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
Saipanya school
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
Saipanya school
 
Empirical exc. sp
Empirical exc. spEmpirical exc. sp
Empirical exc. sp
Saipanya school
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
Saipanya school
 
Stoichem 002
Stoichem 002 Stoichem 002
Stoichem 002
Saipanya school
 
Stoichem 001
Stoichem 001Stoichem 001
Stoichem 001
Saipanya school
 
Mole review
Mole review Mole review
Mole review
Saipanya school
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
Saipanya school
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะ
Saipanya school
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
Saipanya school
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
Saipanya school
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
Saipanya school
 
เฉลย โมล
เฉลย โมลเฉลย โมล
เฉลย โมล
Saipanya school
 
ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5
Saipanya school
 

More from Saipanya school (20)

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solution
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
 
Concentration ..2018
Concentration ..2018Concentration ..2018
Concentration ..2018
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
 
Empirical exc. sp
Empirical exc. spEmpirical exc. sp
Empirical exc. sp
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
Stoichem 002
Stoichem 002 Stoichem 002
Stoichem 002
 
Stoichem 001
Stoichem 001Stoichem 001
Stoichem 001
 
Mole review
Mole review Mole review
Mole review
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะ
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
 
เฉลย โมล
เฉลย โมลเฉลย โมล
เฉลย โมล
 
ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (11)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 

Atom 3