SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ คือตาราที่ว่าด้วยวิธีร้อยกรองถ้อยคาหรือเรียบเรียงถ้อยคาให้เป็นระเบียบตามลักษณะ
บังคับและบัญญัติที่นักปราชญ์ได้วางเป็นแบบไว้ถ้อยคาที่ร้อยกรองขึ้นตามลักษณะบัญญัติแห่ง
ฉันทลักษณ์ เรียกว่า 'คาประพันธ์'
คาประพันธ์ คือถ้อยคาที่ได้ร้อยกรอง หรือเรียบเรียงขึ้น โดยมีข้อบังคับ จากัดคา และวรรคตอน ให้รับ
สัมผัสกัน ไพเราะ ตามกฎเกณฑ์ ที่ได้วางไว้ในฉันทลักษณ์
คาประพันธ์ จาแนกออกเป็น ๗ ชนิด คือ โคลง ร่าย ลิลิต กลอน กาพย์ฉันท์ กล
คาประพันธ์ที่ดี จะต้องประกอบด้วยลักษณะ ๓ ประการ คือ
๑.มีข้อความดี
๒.มีสัมผัสดี
๓.แต่งถูกต้องตาม 'ลักษณะบังคับ'
ลักษณะบังคับ หรือบัญญัติ ในการเรียบเรียงคาประพันธ์ทั้งปวง มีอยู่ ๙ อย่าง คือ
๑. ครุ ลหุ ๒. เอก โท ๓. คณะ ๔. พยางค์ ๕. สัมผัส ๖. คาเป็นคาตาย ๗. คานา ๘. คาสร้อย
๙. คาลงท้าย
ครุ คือพยางค์ที่มีเสียงหนัก ได้แก่ พยางค์ที่ประกอบด้วย สระเสียงยาว (ทีฆสระ) และ สระเกินทั้ง
๔ คือ สระ อา ใอ ไอ เอา และพยางค์ที่มีตัวสะกดทั้งสิ้น เช่นตา ดา หัด เรียน ฯลฯ
ลหุ คือพยางค์ที่มีเสียงเบา ได้แก่พยางค์ที่ประกอบด้วย สระสั้น(รัสสระ) ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น พระ
จะ มิ ดุ แกะ ฯลฯ
เอก คือพยางค์ หรือคาที่มีรูปวรรณยุกต์เอก และบรรดาคาตายทั้งสิ้น ซึ่งในโคลง และร่าย ใช้เอก
แทนได้เช่น พ่อ แม่ พี่ ปู่ ชิ ชะ มัก มาก ฯลฯ
โท คือพยางค์หรือคาที่มีรูปวรรณยุกต์โท เช่น น้า ป้ า ช้าง นี้น้อง ต้อง เลี้ยว ฯลฯ
คณะ คือแบบบังคับที่วางเป็นกาหนดกฎเกณฑ์ไว้ว่า คาประพันธ์ชนิดนั้น จะต้องมีเท่านั้น
วรรค เท่านั้นคา และต้องมีเอกโท ครุลหุตรงนั้นๆ ตรงนี้ กล่าวโดยทั่วๆ ไป แต่สาหรับใน "ฉันท์" คาว่า
คณะ มีความหมายแคบ คือหมายถึง ลักษณะที่วางคาเสียงหนัก เสียงเบา ที่เรียกว่า ครุ ลหุ และแบ่ง
ออกเป็น ๘ คณะ คณะหนึ่งมีคาอยู่ ๓ คา เรียง ครุ ลหุ ไว้ต่างๆ กัน
คณะทั้ง ๘ นั้น คือ ย ร ต ภ ช ส ม น
ชื่อคณะทั้ง ๘ นี้ เป็นอักษรที่ย่อมาจากคาเต็ม คือ
ย มาจาก ยชมาน แปลว่า พราหมณ์บูชายัญ
ร มาจาก รวิ แปลว่า พระอาทิตย์
ต มาจาก โตย แปลว่า น้า
ภ มาจาก ภูมิ แปลว่า ดิน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑
ช มาจาก ชลน แปลว่า ไฟ
ส มาจาก โสม แปลว่า พระจันทร์
ม มาจาก มารุต แปลว่า ลม
น มาจาก นภ แปลว่า ฟ้า
เมื่อจัดเป็นรูป ครุ ลหุ ลงในคณะทั้ง ๘
ได้แต่งคาคล้องจองไว้สาหรับจา "คณะ" ไว้ดังนี้
ย ยะยิ้มยวน
ร รวนฤดี
ส สุรภี
ภ ภัสสระ
ช ชะโลมและ
น แนะเกะกะ
ต ตาไปละ
ม มาดีดี
พยางค์ คือจังหวะเสียง ที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆ หรือหน่วยเสียง ที่ประกอบด้วยสระตัวเดียว จะมี
ความหมาย หรือไม่ก็ตาม คาที่ใช้บรรจุในบทร้อยกรองต่างๆ นั้น ล้วนหมายถึง คาพยางค์ ทั้งสิ้น คาพยางค์
นี้ ถ้ามีเสียงเป็น ลหุ จะรวม ๒ พยางค์ เป็นคาหนึ่ง หรือหน่วยหนึ่ง ในการแต่งร้อยกรองก็ได้แต่ถ้ามี เสียง
เป็น ครุ จะรวมกันไม่ได้ ต้องใช้พยางค์ละคา
สัมผัส คือลักษณะที่บังคับให้ใช้คาคล้องจองกัน คาที่คล้องจองกันนั้น หมายถึง คาที่ใช้สระ และ
มาตราสะกดอย่างเดียวกัน แต่ต้องไม่ซ้าอักษร หรือซ้าเสียงกัน (สระใอ, ไอ อนุญาตให้ใช้สัมผัสกับ อัย
ได้) มี ๒ ชนิด คือ
๑. สัมผัสนอก ได้แก่คาที่บังคับให้คล้องจองกัน ในระหว่างวรรคหนึ่ง กับอีกวรรคหนึ่ง ซึ่งมี
ตาแหน่งที่ต่างๆ กัน ตามชนิดของคาประพันธ์นั้นๆ สัมผัสนอกนี้ เป็นสัมผัสบังคับ ซึ่งจาเป็นต้องมี จะขาด
ไม่ได้ดังตัวอย่าง ที่โยงเส้นไว้ให้ดู ดังต่อไปนี้
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑
๒.สัมผัสใน ได้แก่ คาที่คล้องจองกัน และอยู่ในวรรคเดียวกัน จะเป็นสัมผัสคู่ เรียงคาไว้ติดต่อกัน
หรือจะเป็นสัมผัสสลับ คือเรียงคาอื่น แทรกคั่นไว้ระหว่างคาที่สัมผัสก็ได้สุดแต่จะเหมาะ ทั้งไม่มีกฎเกณฑ์
จากัดว่า จะต้องมีอยู่ตรงนั้น ตรงนี้ เหมือนอย่างสัมผัสนอก และไม่จาเป็น จะต้องใช้สระอย่างเดียวกันด้วย
เพียงแต่ให้อักษรเหมือนกัน หรือเป็นอักษรประเภทเดียวกัน หรืออักษรที่มีเสียงคู่กัน ก็ใช้ได้
สัมผัสใน แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ
๒.๑ สัมผัสสระ ได้แก่คาคล้องจองที่มีสระและมาตราสะกดอย่างเดียวกัน เช่น
๒.๒ สัมผัสอักษร ได้แก่ คาคล้องจองที่ใช้ตัวอักษรชนิดเดียวกัน หรือตัวอักษร ประเภทเดียวกัน หรือ
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑
ใช้ตัวอักษร ที่มีเสียงคู่กัน ที่เรียกว่า "อักษรคู่" เช่น ข ค ฆ หรือ ถ ท ธ เป็นต้น เช่น
๑) ใช้ตัวอักษรชนิดเดียวกัน คือใช้อักษรตัวเดียวกันตลอดทั้งวรรค ดังนี้
แลลิงลิงเล่นล้อ ลางลิง
พาเพื่อนเพ่นพ่านพิง พวกพ้อง
ตื่นเต้นไต่ต่อติง เตี้ยต่า
ก่นกู่กันกึกก้อง เกาะเกี้ยวกวนกัน
๒) ใช้ตัวอักษรประเภทเดียวกัน คือใช้อักษรที่มีเสียงเหมือนกัน แต่รูปไม่เหมือนกัน เช่น ค ฆ ท ธ
ร ล ศ ษ ส เป็นต้น ดังนี้
ศึกษาสาเร็จรู้ ลีลา กลอนแฮ
ระลึกพระคุณครูบา บ่มไว้
อุโฆษคุณาภา หื่นซ้องสาธุการ
นิเทศธรณินให้
๓) ใช้อักษรที่มีเสียงคู่กัน คือใช้อักษรต่า ชนิดอักษรคู่ ๑๔ ตัว กับอักษรสูง ๑๑ ตัว ซึ่งมีเสียงผันเข้ากันได้
เป็นคู่ๆ ดังนี้
อักษรต่า
๑๔ ตัว
อักษรสูง
๑๑ ตัว
ค ฆ
ช ฌ
ซ (ทร-ซ)
ฑ ฒ ท ธ
พ ภ
ฟ
ฮ
เสียง
คู่
กับ
ข
ฉ
ศ ษ ส
ฐ ถ
ผ
ฝ
ห
ตัวอย่างดังนี้
คูนแคขิงข่าขึ้น เคียงคาง
แฟงฟักไฟฝ่อฝาง ฝิ่นฝ้าย
ซางไทรโศกสนสาง ซ่อนซุ่ม
ทิ้งถ่อนทุยท่อมท้าย เถื่อนท้องแถวเถิน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑
สัมผัสในดังที่กล่าวมาแล้วนี้ เป็นสัมผัสที่ไม่บังคับ จึงมิได้มีแบบกาหนดมาแต่โบราณ แต่ถ้าไม่มี ก็
ขาดรสไพเราะ ซึ่งเป็นยอดของรส ในเชิงฉันทลักษณ์ เพราะฉะนั้น คาประพันธ์ที่ดี จะขาดสัมผัสในเสียมิได้
เหมือนเกสร เป็นเครื่องเชิดชู ความสวยงามของบุปผชาติฉะนั้น
คาเป็น คือคาที่ประกอบด้วย สระเสียงยาว (ทีฆสระ) ในแม่ ก กา และคาที่มีตัวสะกด ในแม่กน กง
กม เกย (คาที่มีตัว ว สะกด จัดอยู่ในแม่เกย) รวมทั้ง สระสั้นทั้ง ๔ ตัว คือ อา ใอ ไอ เอาเช่น ตาดาชมเชยคน
หุงข้าวเหนียวในครัวไฟ
คาตาย คือคาที่ประกอบด้วย สระเสียงสั้น (รัสสระ) ในแม่ ก กา (ยกเว้น อาใอ ไอเอา) และคาที่มี
ตัวสะกด ในแม่ กก กด กบ เช่น นกกะหรอด กับนกกะปูด จิกพริก ในการแต่งโคลงทุกชนิด ใช้คาตายแทน
เอก ได้
คานา คือคาที่ใช้กล่าวขึ้นต้น สาหรับเป็นบทนา ในคาประพันธ์ เป็นคาเดียวบ้าง เป็นวลีบ้าง เช่น
เมื่อนั้น บัดนั้น โฉมเฉลา น้องเอ๋ย น้องรัก รถเอ๋ย รถทรง ครานั้น สักวา ฯลฯ บางทีก็ใช้คานามตรงๆ เหมือน
อย่าง นามอาลปนะ เช่น สุริยา พระองค์ ภมร ดวงจันทร์ ฯลฯ ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้
ปทุมา โสภาหมดจดสดสี
เกิดในใต้ตมวารี แต่ไร้ราคีเปือกตม
ภมร สุนทรมธุรสถ้อยหรรษา
กลั่นกล่าวเร้าดวงวิญญาณ์ วาจาสิ้นลมคมใน
คาสร้อย คือคาที่ใช้สาหรับลงท้ายบท หรือท้ายบาท ของคาประพันธ์ ซึ่งตามธรรมดา มีคาซึ่งมี
ความหมายอยู่ข้างหน้าแล้ว แต่ยังไม่ครบจานวนคา ตามที่บัญญัติไว้ในคาประพันธ์ จึงต้องเติมสร้อย เพื่อให้
มีคา ครบตามจานวน และเป็นการเพิ่มสาเนียงให้ไพเราะ ในการอ่านด้วย คาสร้อยนี้ จะเป็นคานาม คา
วิเศษณ์ คากริยานุเคราะห์ คาสันธาน หรือคาอุทาน ก็ได้ แต่ถ้าเป็นคาอุทาน ที่มีรูปวรรณยุกต์ต้องตัดรูป
วรรณยุกต์ออก และไม่ต้องมีเครื่องหมายอัศเจรีย์มิฉะนั้น จะขัดต่อการอ่านทานองเสนาะ และในการใช้นั้น
ควรเลือกคาที่ท่านวาง เป็นแบบฉบับไว้ดังตัวอย่างต่อไปนี้
คานาม:
คากริยานุเคราะห์:
คาสันธาน:
คาอุทาน:
คาวิเศษณ์:
พ่อ แม่ พี่
เทอญ นา
ฤา แล ก็ดี
ฮา แฮ เฮย เอย เวย รา อา นอ
บารนี เลย
คาสร้อยนี้ ต้องเป็นคาเป็น จะใช้คาตายไม่ได้และใช้เฉพาะบทประพันธ์ ชนิดโคลง และร่าย เท่านั้น
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑
กลอน คือลักษณะคาประพันธ์ ที่เรียบเรียงเข้าเป็นคณะ มีสัมผัสกัน ตามลักษณะบัญญัติ เป็นชนิดๆ แต่ไม่มีบังคับ
เอกโท และครุลหุ
กลอนแบ่งออกเป็น ๓ ชนิด คือ กลอนสุภาพ กลอนลานา และกลอนตลาด
กลอนสุภาพ คือกลอนที่ใช้ถ้อยคา และทานองเรียบๆ แบ่งออกเป็น ๔ ชนิด คือ
๑. กลอน ๖
๒. กลอน ๗
๓. กลอน ๘
๔. กลอน ๙
กลอนสุภาพ นับว่าเป็นกลอนหลัก เพราะเป็นหลัก ของบรรดากลอนทุกชนิด ถ้าเข้าใจกลอนสุภาพ เป็นอย่างดี
แล้ว ก็สามารถจะเข้าใจกลอนอื่นๆ ได้โดยง่าย กลอนอื่นๆ ที่มีชื่อเรียกไปต่างๆ นั้น ล้วนแต่ยักเยื้อง แบบวิธี ไปจากกลอน
สุภาพ ซึ่งเป็นกลอนหลัก ทั้งสิ้น
กลอนลานา คือกลอนที่ใช้ขับร้อง หรือสวด ให้มีทานองต่างๆ แบ่งออกเป็น ๕ ชนิด คือ
๑. กลอนบทละคร
๒. กลอนสักวา
๓. กลอนเสภา
๔. กลอนดอกสร้อย
๕. กลอนขับร้อง
กลอนตลาด คือกลอนผสม หรือกลอนคละ ไม่กาหนดคาตายตัว เหมือนกลอนสุภาพ ในกลอนบทหนึ่ง อาจมี
วรรคละ ๗ คาบ้าง ๘ คาบ้าง ๙ คาบ้าง คือเอากลอนสุภาพ หลายชนิด มาผสมกัน นั่นเอง เป็นกลอนที่ นิยมใช้ ในการขับ
ร้องแก้กัน ทั่วๆ ไป จึงเรียกว่า กลอนตลาด แบ่งออกเป็น ๔ ชนิด คือ
๑. กลอนเพลงยาว
๒. กลอนนิราศ
๓. กลอนนิยาย
๔. กลอนเพลงปฏิพากย์
กลอนเพลงปฏิพากย์ ยังแบ่งออกไปอีกหลายชนิด คือ
 เพลงฉ่อย
 เพลงโคราช หรือเพลงตะวันออก
 เพลงเรือ
 เพลงชาวไร่
 เพลงชาวนา
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑
 เพลงแห่นาค
 เพลงพิษฐาน (อธิษฐาน)
 เพลงเกี่ยวข้าว
 เพลงพวงมาลัย
 เพลงราอีแซว หรือเพลงอีแซว
 เพลงลิเก
 เพลงลาตัด
บทของกลอน
คากลอนวรรคหนึ่ง เรียกว่า กลอนหนึ่ง สองวรรค หรือสองกลอน เรียกว่า บาทหนึ่ง หรือคาหนึ่ง สองคา หรือสอง
บาท หรือสี่วรรค หรือสี่กลอน เรียกว่า บทหนี่ง วรรคทั้งสี่ของกลอน ยังมีชื่อเรียกต่างๆ กัน และนิยมใช้เสียงต่างๆ กันอีก
คือ
๑. กลอนสลับ ได้แก่ กลอนวรรคต้น คาสุดท้าย ใช้คาเต้น คือนอกจากเสียงสามัญ แต่ถ้าจะใช้ ก็ไม่ห้าม
๒. กลอนรับ ได้แก่ กลอนวรรคที่สอง คาสุดท้าย นิยมใช้ เสียงจัตวา ห้ามใช้เสียงโท, สามัญ, ตรี, และวรรณยุกต์
เอกมีรูป วรรณยุกต์เอกไม่มีรูป ไม่ห้าม แต่ต้องให้คาสุดท้าย ของกลอนรอง เป็นเสียงตรี
๓. กลอนรอง ได้แก่ กลอนวรรคที่สาม คาสุดท้าย นิยมใช้ เสียงสามัญ ห้ามใช้เสียงจัตวา หรือคาที่มีรูปวรรณยุกต์
๔. กลอนส่ง ได้แก่ กลอนวรรคที่สี่ คาสุดท้าย นิยมใช้ เสียงสามัญ ห้ามใช้คาตาย และคาที่มีรูปวรรณยุกต์ จะใช้คา
ตายเสียงตรี บ้างก็ได้
บาทของกลอน
คากลอนนั้น นับ ๒ วรรคเป็น ๑ บาท ตามธรรมดา กลอนบทหนึ่ง จะต้องมีอย่างน้อย ๒ บาท (เว้นไว้แต่กลอน
เพลงยาว หรือกลอนนิราศ ซึ่งนิยมใช้บทแรก ที่ขึ้นต้นเรื่อง เพียง ๓ วรรค) บาทแรก เรียกว่า บาทเอก บาทที่ ๒ เรียกว่า
บาทโท คากลอนจะยาวเท่าไรก็ตาม คงเรียกชื่อว่า บาทเอก บาทโท สลับกันไปจนจบ และต้องจบลง ด้วยบาทโทเสมอ
เช่น
นิราศเรื่องหัวหินก็สิ้นสุด เพราะจากบุตรภรรยามากาสรวล (บาทเอก)
เมื่ออยู่เดียวเปลี่ยวกายใจคร่าครวญ ก็ชักชวนให้คิดประดิษฐ์กลอน (บาทโท)
ใช้ชานาญการกวีเช่นศรีปราชญ์ เขียนนิราศก็เพราะรักเชิงอักษร (บาทเอก)
บันทึกเรื่องที่เห็นเป็นตอนตอน ให้สมรมิตรอ่านเป็นขวัญตา (บาทโท)
มิใช่สารคดีมีประโยชน์ จึงมีโอดมีครวญรัญจวนหา (บาทเอก)
ตามแบบแผนบรรพกาลโบราณมา เป็นสาราเรื่องพรากจากอนงค์ (บาทโท)
-จากนิราศหัวหิน-
หลักนิยมทั่วไปของกลอน
๑. คาสุดท้ายของวรรคที่ ๑ และวรรคที่ ๒ ก็ดี คาสุดท้ายของวรรคที่ ๓ และวรรคที่ ๔ ก็ดี ไม่ควรใช้คา ที่มีเสียง
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑
เหมือนกัน หรือคาที่ใช้สระ และตัวสะกด ในมาตราเดียวกัน เช่น
ก. ในไพรสณฑ์พรั่งพรึบด้วยพฤกษา แนววนาน่ารักด้วยปักษา
ข. เขาเดินทุ่งมุ่งลัดตัดมรรคา มั่นหมายมาเพื่อยับยั้งเคหา
ค. เห็นนกน้อยแนบคู่คิดถึงน้อง มันจับจ้องมองตรงส่งเสียงร้อง
๒. คาที่รับสัมผัส ในวรรคที่ ๒ และที่ ๔ ควรให้ตาแหน่งสัมผัส ตกอยู่ที่พยางค์สุดท้าย ของคา ไม่ควรให้สัมผัสลง
ที่ต้นคา หรือกลางคา ยิ่งเป็นกลอนขับร้อง ยิ่งต้องระวังเป็นพิเศษ เพราะจะทาให้เสียความ ในเวลาขับร้อง เช่น
สดับถ้อยสุนทรนอนดาริ จนสุริยาแจ้งแจ่มเวหา
๓. คาสุดท้ายของวรรค ควรใช้คาเต็ม ไม่ควรใช้ครึ่งคา หรือยัติภังค์ เว้นไว้แต่ แต่งเป็น กลบทยัติภังค์ หรือเป็น
โคลง, ฉันท์ และกาพย์เช่น
อันถ้อยคาของท่านนั้นเป็นสา มานย์วาจาฟังไปไม่เกิดหรร
ษารมณ์เลยสักนิดเพราะผิดจรร ยาทั้งนั้นไร้ศีลฉันสิ้นอา(วรณ์)
การแยกคาออกใช้คนละครึ่ง ในระหว่างวรรค เช่นนี้ไม่ควรใช้
๔. ไม่ควรใช้ภาษาอื่น ที่ยังมิได้รับรอง มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง แห่งภาษาไทย เช่น
โอมายเดียรดาริ่งมิ่งสมร บิวตี้ฟูลสุนทรหฤหรรษ์
แม่ชื่นจิตสวิตฮารตจะคลาดกัน ใจป่วนปั่นหันเหเซกู๊ดบาย
ส่วนคาบาลี และสันสกฤตใช้ได้เพราะเรารับมาใช้ เป็นส่วนหนึ่ง แห่งภาษาไทย แต่ถึงกระนั้น ก็ต้องแปลงรูปคาเสียก่อน
จะนามาใช้ทั้งดุ้นไม่ได้
๕. ไม่ควรใช้ "ภาษาแสลงโสต" คือถ้อยคาที่พูดด้วยความตลกคะนอง หยาบโลน หรือเปรียบเทียบ กับของหยาบ
ซึ่งใช้กันอยู่ในกลุ่มคนส่วนน้อยและรู้กันแต่เฉพาะในวงแคบๆ เช่น คาว่า ม่องเท่ง, จาหนับ, จ้าบ๊ะ, ตั้กฉึ้ก, ถังแตก,
ยกล้อ ฯลฯ
1.กลอนสุภาพ
1.1 กลอน ๖
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑
ตัวอย่าง:
1.2 กลอน ๗
ตัวอย่าง:
1.3 กลอน ๘
ตัวอย่าง:
1.4 กลอน ๙
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑
ตัวอย่าง:
2. กลอนลานา
2.1 กลอนบทละคร
ตัวอย่าง:
2.2 กลอนสักวา
แผนผัง: เหมือนกลอนบทละคร
ตัวอย่าง:
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑
2.3 กลอนเสภา
ตัวอย่าง:
2.4 กลอนดอกสร้อย
ตัวอย่าง:
2.5 กลอนขับร้อง
กลอนขับร้อง ก็คือ กลอนสุภาพนั่นเอง แต่แต่งขึ้น สาหรับใช้ ขับรัอง หรือร้องส่ง เข้ากับ เครื่อง
ดนตรี ปี่พาทย์มีชื่อ และทานองต่างๆ เช่น สมิงทอง, สามไม้, ปีนตลิ่ง, ชมตลาด, ลีลากระทุ่ม, เชิตนอก, นาค
เกี้ยว, เทพทอง, พม่าเห่, เขมรไทรโยค เป็นต้น เหตุที่มีชื่อแตกต่างออกไป ก็เพราะมีทานองร้องแตกต่างกัน
แผนและกฎต่างๆ จงดูในตอน ที่ว่าด้วย กลอนสุภาพนั้นเถิด ส่วนทานอง ต้องฝึกหัด กับผู้รู้ เป็นพิเศษ

More Related Content

What's hot

ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองnsiritom
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยpinyada
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
เสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทยเสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทยvinvin cocokurt
 
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856Rose'zll LD
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำchatchaisukhum1
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)Tongsamut vorasan
 

What's hot (14)

ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
เสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทยเสียงและอักษรไทย
เสียงและอักษรไทย
 
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
thai Research
thai  Researchthai  Research
thai Research
 
นุกูล
นุกูลนุกูล
นุกูล
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 

Similar to ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน

ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองMong Chawdon
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองPairor Singwong
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองNimnoi Kamkiew
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 

Similar to ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน (20)

ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
ประมวลปัญหาเฉลยบาลี
ประมวลปัญหาเฉลยบาลีประมวลปัญหาเฉลยบาลี
ประมวลปัญหาเฉลยบาลี
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 

ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน

  • 1. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑ ฉันทลักษณ์ ฉันทลักษณ์ คือตาราที่ว่าด้วยวิธีร้อยกรองถ้อยคาหรือเรียบเรียงถ้อยคาให้เป็นระเบียบตามลักษณะ บังคับและบัญญัติที่นักปราชญ์ได้วางเป็นแบบไว้ถ้อยคาที่ร้อยกรองขึ้นตามลักษณะบัญญัติแห่ง ฉันทลักษณ์ เรียกว่า 'คาประพันธ์' คาประพันธ์ คือถ้อยคาที่ได้ร้อยกรอง หรือเรียบเรียงขึ้น โดยมีข้อบังคับ จากัดคา และวรรคตอน ให้รับ สัมผัสกัน ไพเราะ ตามกฎเกณฑ์ ที่ได้วางไว้ในฉันทลักษณ์ คาประพันธ์ จาแนกออกเป็น ๗ ชนิด คือ โคลง ร่าย ลิลิต กลอน กาพย์ฉันท์ กล คาประพันธ์ที่ดี จะต้องประกอบด้วยลักษณะ ๓ ประการ คือ ๑.มีข้อความดี ๒.มีสัมผัสดี ๓.แต่งถูกต้องตาม 'ลักษณะบังคับ' ลักษณะบังคับ หรือบัญญัติ ในการเรียบเรียงคาประพันธ์ทั้งปวง มีอยู่ ๙ อย่าง คือ ๑. ครุ ลหุ ๒. เอก โท ๓. คณะ ๔. พยางค์ ๕. สัมผัส ๖. คาเป็นคาตาย ๗. คานา ๘. คาสร้อย ๙. คาลงท้าย ครุ คือพยางค์ที่มีเสียงหนัก ได้แก่ พยางค์ที่ประกอบด้วย สระเสียงยาว (ทีฆสระ) และ สระเกินทั้ง ๔ คือ สระ อา ใอ ไอ เอา และพยางค์ที่มีตัวสะกดทั้งสิ้น เช่นตา ดา หัด เรียน ฯลฯ ลหุ คือพยางค์ที่มีเสียงเบา ได้แก่พยางค์ที่ประกอบด้วย สระสั้น(รัสสระ) ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น พระ จะ มิ ดุ แกะ ฯลฯ เอก คือพยางค์ หรือคาที่มีรูปวรรณยุกต์เอก และบรรดาคาตายทั้งสิ้น ซึ่งในโคลง และร่าย ใช้เอก แทนได้เช่น พ่อ แม่ พี่ ปู่ ชิ ชะ มัก มาก ฯลฯ โท คือพยางค์หรือคาที่มีรูปวรรณยุกต์โท เช่น น้า ป้ า ช้าง นี้น้อง ต้อง เลี้ยว ฯลฯ คณะ คือแบบบังคับที่วางเป็นกาหนดกฎเกณฑ์ไว้ว่า คาประพันธ์ชนิดนั้น จะต้องมีเท่านั้น วรรค เท่านั้นคา และต้องมีเอกโท ครุลหุตรงนั้นๆ ตรงนี้ กล่าวโดยทั่วๆ ไป แต่สาหรับใน "ฉันท์" คาว่า คณะ มีความหมายแคบ คือหมายถึง ลักษณะที่วางคาเสียงหนัก เสียงเบา ที่เรียกว่า ครุ ลหุ และแบ่ง ออกเป็น ๘ คณะ คณะหนึ่งมีคาอยู่ ๓ คา เรียง ครุ ลหุ ไว้ต่างๆ กัน คณะทั้ง ๘ นั้น คือ ย ร ต ภ ช ส ม น ชื่อคณะทั้ง ๘ นี้ เป็นอักษรที่ย่อมาจากคาเต็ม คือ ย มาจาก ยชมาน แปลว่า พราหมณ์บูชายัญ ร มาจาก รวิ แปลว่า พระอาทิตย์ ต มาจาก โตย แปลว่า น้า ภ มาจาก ภูมิ แปลว่า ดิน
  • 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑ ช มาจาก ชลน แปลว่า ไฟ ส มาจาก โสม แปลว่า พระจันทร์ ม มาจาก มารุต แปลว่า ลม น มาจาก นภ แปลว่า ฟ้า เมื่อจัดเป็นรูป ครุ ลหุ ลงในคณะทั้ง ๘ ได้แต่งคาคล้องจองไว้สาหรับจา "คณะ" ไว้ดังนี้ ย ยะยิ้มยวน ร รวนฤดี ส สุรภี ภ ภัสสระ ช ชะโลมและ น แนะเกะกะ ต ตาไปละ ม มาดีดี พยางค์ คือจังหวะเสียง ที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆ หรือหน่วยเสียง ที่ประกอบด้วยสระตัวเดียว จะมี ความหมาย หรือไม่ก็ตาม คาที่ใช้บรรจุในบทร้อยกรองต่างๆ นั้น ล้วนหมายถึง คาพยางค์ ทั้งสิ้น คาพยางค์ นี้ ถ้ามีเสียงเป็น ลหุ จะรวม ๒ พยางค์ เป็นคาหนึ่ง หรือหน่วยหนึ่ง ในการแต่งร้อยกรองก็ได้แต่ถ้ามี เสียง เป็น ครุ จะรวมกันไม่ได้ ต้องใช้พยางค์ละคา สัมผัส คือลักษณะที่บังคับให้ใช้คาคล้องจองกัน คาที่คล้องจองกันนั้น หมายถึง คาที่ใช้สระ และ มาตราสะกดอย่างเดียวกัน แต่ต้องไม่ซ้าอักษร หรือซ้าเสียงกัน (สระใอ, ไอ อนุญาตให้ใช้สัมผัสกับ อัย ได้) มี ๒ ชนิด คือ ๑. สัมผัสนอก ได้แก่คาที่บังคับให้คล้องจองกัน ในระหว่างวรรคหนึ่ง กับอีกวรรคหนึ่ง ซึ่งมี ตาแหน่งที่ต่างๆ กัน ตามชนิดของคาประพันธ์นั้นๆ สัมผัสนอกนี้ เป็นสัมผัสบังคับ ซึ่งจาเป็นต้องมี จะขาด ไม่ได้ดังตัวอย่าง ที่โยงเส้นไว้ให้ดู ดังต่อไปนี้
  • 3. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑ ๒.สัมผัสใน ได้แก่ คาที่คล้องจองกัน และอยู่ในวรรคเดียวกัน จะเป็นสัมผัสคู่ เรียงคาไว้ติดต่อกัน หรือจะเป็นสัมผัสสลับ คือเรียงคาอื่น แทรกคั่นไว้ระหว่างคาที่สัมผัสก็ได้สุดแต่จะเหมาะ ทั้งไม่มีกฎเกณฑ์ จากัดว่า จะต้องมีอยู่ตรงนั้น ตรงนี้ เหมือนอย่างสัมผัสนอก และไม่จาเป็น จะต้องใช้สระอย่างเดียวกันด้วย เพียงแต่ให้อักษรเหมือนกัน หรือเป็นอักษรประเภทเดียวกัน หรืออักษรที่มีเสียงคู่กัน ก็ใช้ได้ สัมผัสใน แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ ๒.๑ สัมผัสสระ ได้แก่คาคล้องจองที่มีสระและมาตราสะกดอย่างเดียวกัน เช่น ๒.๒ สัมผัสอักษร ได้แก่ คาคล้องจองที่ใช้ตัวอักษรชนิดเดียวกัน หรือตัวอักษร ประเภทเดียวกัน หรือ
  • 4. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑ ใช้ตัวอักษร ที่มีเสียงคู่กัน ที่เรียกว่า "อักษรคู่" เช่น ข ค ฆ หรือ ถ ท ธ เป็นต้น เช่น ๑) ใช้ตัวอักษรชนิดเดียวกัน คือใช้อักษรตัวเดียวกันตลอดทั้งวรรค ดังนี้ แลลิงลิงเล่นล้อ ลางลิง พาเพื่อนเพ่นพ่านพิง พวกพ้อง ตื่นเต้นไต่ต่อติง เตี้ยต่า ก่นกู่กันกึกก้อง เกาะเกี้ยวกวนกัน ๒) ใช้ตัวอักษรประเภทเดียวกัน คือใช้อักษรที่มีเสียงเหมือนกัน แต่รูปไม่เหมือนกัน เช่น ค ฆ ท ธ ร ล ศ ษ ส เป็นต้น ดังนี้ ศึกษาสาเร็จรู้ ลีลา กลอนแฮ ระลึกพระคุณครูบา บ่มไว้ อุโฆษคุณาภา หื่นซ้องสาธุการ นิเทศธรณินให้ ๓) ใช้อักษรที่มีเสียงคู่กัน คือใช้อักษรต่า ชนิดอักษรคู่ ๑๔ ตัว กับอักษรสูง ๑๑ ตัว ซึ่งมีเสียงผันเข้ากันได้ เป็นคู่ๆ ดังนี้ อักษรต่า ๑๔ ตัว อักษรสูง ๑๑ ตัว ค ฆ ช ฌ ซ (ทร-ซ) ฑ ฒ ท ธ พ ภ ฟ ฮ เสียง คู่ กับ ข ฉ ศ ษ ส ฐ ถ ผ ฝ ห ตัวอย่างดังนี้ คูนแคขิงข่าขึ้น เคียงคาง แฟงฟักไฟฝ่อฝาง ฝิ่นฝ้าย ซางไทรโศกสนสาง ซ่อนซุ่ม ทิ้งถ่อนทุยท่อมท้าย เถื่อนท้องแถวเถิน
  • 5. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑ สัมผัสในดังที่กล่าวมาแล้วนี้ เป็นสัมผัสที่ไม่บังคับ จึงมิได้มีแบบกาหนดมาแต่โบราณ แต่ถ้าไม่มี ก็ ขาดรสไพเราะ ซึ่งเป็นยอดของรส ในเชิงฉันทลักษณ์ เพราะฉะนั้น คาประพันธ์ที่ดี จะขาดสัมผัสในเสียมิได้ เหมือนเกสร เป็นเครื่องเชิดชู ความสวยงามของบุปผชาติฉะนั้น คาเป็น คือคาที่ประกอบด้วย สระเสียงยาว (ทีฆสระ) ในแม่ ก กา และคาที่มีตัวสะกด ในแม่กน กง กม เกย (คาที่มีตัว ว สะกด จัดอยู่ในแม่เกย) รวมทั้ง สระสั้นทั้ง ๔ ตัว คือ อา ใอ ไอ เอาเช่น ตาดาชมเชยคน หุงข้าวเหนียวในครัวไฟ คาตาย คือคาที่ประกอบด้วย สระเสียงสั้น (รัสสระ) ในแม่ ก กา (ยกเว้น อาใอ ไอเอา) และคาที่มี ตัวสะกด ในแม่ กก กด กบ เช่น นกกะหรอด กับนกกะปูด จิกพริก ในการแต่งโคลงทุกชนิด ใช้คาตายแทน เอก ได้ คานา คือคาที่ใช้กล่าวขึ้นต้น สาหรับเป็นบทนา ในคาประพันธ์ เป็นคาเดียวบ้าง เป็นวลีบ้าง เช่น เมื่อนั้น บัดนั้น โฉมเฉลา น้องเอ๋ย น้องรัก รถเอ๋ย รถทรง ครานั้น สักวา ฯลฯ บางทีก็ใช้คานามตรงๆ เหมือน อย่าง นามอาลปนะ เช่น สุริยา พระองค์ ภมร ดวงจันทร์ ฯลฯ ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้ ปทุมา โสภาหมดจดสดสี เกิดในใต้ตมวารี แต่ไร้ราคีเปือกตม ภมร สุนทรมธุรสถ้อยหรรษา กลั่นกล่าวเร้าดวงวิญญาณ์ วาจาสิ้นลมคมใน คาสร้อย คือคาที่ใช้สาหรับลงท้ายบท หรือท้ายบาท ของคาประพันธ์ ซึ่งตามธรรมดา มีคาซึ่งมี ความหมายอยู่ข้างหน้าแล้ว แต่ยังไม่ครบจานวนคา ตามที่บัญญัติไว้ในคาประพันธ์ จึงต้องเติมสร้อย เพื่อให้ มีคา ครบตามจานวน และเป็นการเพิ่มสาเนียงให้ไพเราะ ในการอ่านด้วย คาสร้อยนี้ จะเป็นคานาม คา วิเศษณ์ คากริยานุเคราะห์ คาสันธาน หรือคาอุทาน ก็ได้ แต่ถ้าเป็นคาอุทาน ที่มีรูปวรรณยุกต์ต้องตัดรูป วรรณยุกต์ออก และไม่ต้องมีเครื่องหมายอัศเจรีย์มิฉะนั้น จะขัดต่อการอ่านทานองเสนาะ และในการใช้นั้น ควรเลือกคาที่ท่านวาง เป็นแบบฉบับไว้ดังตัวอย่างต่อไปนี้ คานาม: คากริยานุเคราะห์: คาสันธาน: คาอุทาน: คาวิเศษณ์: พ่อ แม่ พี่ เทอญ นา ฤา แล ก็ดี ฮา แฮ เฮย เอย เวย รา อา นอ บารนี เลย คาสร้อยนี้ ต้องเป็นคาเป็น จะใช้คาตายไม่ได้และใช้เฉพาะบทประพันธ์ ชนิดโคลง และร่าย เท่านั้น
  • 6. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑ กลอน คือลักษณะคาประพันธ์ ที่เรียบเรียงเข้าเป็นคณะ มีสัมผัสกัน ตามลักษณะบัญญัติ เป็นชนิดๆ แต่ไม่มีบังคับ เอกโท และครุลหุ กลอนแบ่งออกเป็น ๓ ชนิด คือ กลอนสุภาพ กลอนลานา และกลอนตลาด กลอนสุภาพ คือกลอนที่ใช้ถ้อยคา และทานองเรียบๆ แบ่งออกเป็น ๔ ชนิด คือ ๑. กลอน ๖ ๒. กลอน ๗ ๓. กลอน ๘ ๔. กลอน ๙ กลอนสุภาพ นับว่าเป็นกลอนหลัก เพราะเป็นหลัก ของบรรดากลอนทุกชนิด ถ้าเข้าใจกลอนสุภาพ เป็นอย่างดี แล้ว ก็สามารถจะเข้าใจกลอนอื่นๆ ได้โดยง่าย กลอนอื่นๆ ที่มีชื่อเรียกไปต่างๆ นั้น ล้วนแต่ยักเยื้อง แบบวิธี ไปจากกลอน สุภาพ ซึ่งเป็นกลอนหลัก ทั้งสิ้น กลอนลานา คือกลอนที่ใช้ขับร้อง หรือสวด ให้มีทานองต่างๆ แบ่งออกเป็น ๕ ชนิด คือ ๑. กลอนบทละคร ๒. กลอนสักวา ๓. กลอนเสภา ๔. กลอนดอกสร้อย ๕. กลอนขับร้อง กลอนตลาด คือกลอนผสม หรือกลอนคละ ไม่กาหนดคาตายตัว เหมือนกลอนสุภาพ ในกลอนบทหนึ่ง อาจมี วรรคละ ๗ คาบ้าง ๘ คาบ้าง ๙ คาบ้าง คือเอากลอนสุภาพ หลายชนิด มาผสมกัน นั่นเอง เป็นกลอนที่ นิยมใช้ ในการขับ ร้องแก้กัน ทั่วๆ ไป จึงเรียกว่า กลอนตลาด แบ่งออกเป็น ๔ ชนิด คือ ๑. กลอนเพลงยาว ๒. กลอนนิราศ ๓. กลอนนิยาย ๔. กลอนเพลงปฏิพากย์ กลอนเพลงปฏิพากย์ ยังแบ่งออกไปอีกหลายชนิด คือ  เพลงฉ่อย  เพลงโคราช หรือเพลงตะวันออก  เพลงเรือ  เพลงชาวไร่  เพลงชาวนา
  • 7. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑  เพลงแห่นาค  เพลงพิษฐาน (อธิษฐาน)  เพลงเกี่ยวข้าว  เพลงพวงมาลัย  เพลงราอีแซว หรือเพลงอีแซว  เพลงลิเก  เพลงลาตัด บทของกลอน คากลอนวรรคหนึ่ง เรียกว่า กลอนหนึ่ง สองวรรค หรือสองกลอน เรียกว่า บาทหนึ่ง หรือคาหนึ่ง สองคา หรือสอง บาท หรือสี่วรรค หรือสี่กลอน เรียกว่า บทหนี่ง วรรคทั้งสี่ของกลอน ยังมีชื่อเรียกต่างๆ กัน และนิยมใช้เสียงต่างๆ กันอีก คือ ๑. กลอนสลับ ได้แก่ กลอนวรรคต้น คาสุดท้าย ใช้คาเต้น คือนอกจากเสียงสามัญ แต่ถ้าจะใช้ ก็ไม่ห้าม ๒. กลอนรับ ได้แก่ กลอนวรรคที่สอง คาสุดท้าย นิยมใช้ เสียงจัตวา ห้ามใช้เสียงโท, สามัญ, ตรี, และวรรณยุกต์ เอกมีรูป วรรณยุกต์เอกไม่มีรูป ไม่ห้าม แต่ต้องให้คาสุดท้าย ของกลอนรอง เป็นเสียงตรี ๓. กลอนรอง ได้แก่ กลอนวรรคที่สาม คาสุดท้าย นิยมใช้ เสียงสามัญ ห้ามใช้เสียงจัตวา หรือคาที่มีรูปวรรณยุกต์ ๔. กลอนส่ง ได้แก่ กลอนวรรคที่สี่ คาสุดท้าย นิยมใช้ เสียงสามัญ ห้ามใช้คาตาย และคาที่มีรูปวรรณยุกต์ จะใช้คา ตายเสียงตรี บ้างก็ได้ บาทของกลอน คากลอนนั้น นับ ๒ วรรคเป็น ๑ บาท ตามธรรมดา กลอนบทหนึ่ง จะต้องมีอย่างน้อย ๒ บาท (เว้นไว้แต่กลอน เพลงยาว หรือกลอนนิราศ ซึ่งนิยมใช้บทแรก ที่ขึ้นต้นเรื่อง เพียง ๓ วรรค) บาทแรก เรียกว่า บาทเอก บาทที่ ๒ เรียกว่า บาทโท คากลอนจะยาวเท่าไรก็ตาม คงเรียกชื่อว่า บาทเอก บาทโท สลับกันไปจนจบ และต้องจบลง ด้วยบาทโทเสมอ เช่น นิราศเรื่องหัวหินก็สิ้นสุด เพราะจากบุตรภรรยามากาสรวล (บาทเอก) เมื่ออยู่เดียวเปลี่ยวกายใจคร่าครวญ ก็ชักชวนให้คิดประดิษฐ์กลอน (บาทโท) ใช้ชานาญการกวีเช่นศรีปราชญ์ เขียนนิราศก็เพราะรักเชิงอักษร (บาทเอก) บันทึกเรื่องที่เห็นเป็นตอนตอน ให้สมรมิตรอ่านเป็นขวัญตา (บาทโท) มิใช่สารคดีมีประโยชน์ จึงมีโอดมีครวญรัญจวนหา (บาทเอก) ตามแบบแผนบรรพกาลโบราณมา เป็นสาราเรื่องพรากจากอนงค์ (บาทโท) -จากนิราศหัวหิน- หลักนิยมทั่วไปของกลอน ๑. คาสุดท้ายของวรรคที่ ๑ และวรรคที่ ๒ ก็ดี คาสุดท้ายของวรรคที่ ๓ และวรรคที่ ๔ ก็ดี ไม่ควรใช้คา ที่มีเสียง
  • 8. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑ เหมือนกัน หรือคาที่ใช้สระ และตัวสะกด ในมาตราเดียวกัน เช่น ก. ในไพรสณฑ์พรั่งพรึบด้วยพฤกษา แนววนาน่ารักด้วยปักษา ข. เขาเดินทุ่งมุ่งลัดตัดมรรคา มั่นหมายมาเพื่อยับยั้งเคหา ค. เห็นนกน้อยแนบคู่คิดถึงน้อง มันจับจ้องมองตรงส่งเสียงร้อง ๒. คาที่รับสัมผัส ในวรรคที่ ๒ และที่ ๔ ควรให้ตาแหน่งสัมผัส ตกอยู่ที่พยางค์สุดท้าย ของคา ไม่ควรให้สัมผัสลง ที่ต้นคา หรือกลางคา ยิ่งเป็นกลอนขับร้อง ยิ่งต้องระวังเป็นพิเศษ เพราะจะทาให้เสียความ ในเวลาขับร้อง เช่น สดับถ้อยสุนทรนอนดาริ จนสุริยาแจ้งแจ่มเวหา ๓. คาสุดท้ายของวรรค ควรใช้คาเต็ม ไม่ควรใช้ครึ่งคา หรือยัติภังค์ เว้นไว้แต่ แต่งเป็น กลบทยัติภังค์ หรือเป็น โคลง, ฉันท์ และกาพย์เช่น อันถ้อยคาของท่านนั้นเป็นสา มานย์วาจาฟังไปไม่เกิดหรร ษารมณ์เลยสักนิดเพราะผิดจรร ยาทั้งนั้นไร้ศีลฉันสิ้นอา(วรณ์) การแยกคาออกใช้คนละครึ่ง ในระหว่างวรรค เช่นนี้ไม่ควรใช้ ๔. ไม่ควรใช้ภาษาอื่น ที่ยังมิได้รับรอง มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง แห่งภาษาไทย เช่น โอมายเดียรดาริ่งมิ่งสมร บิวตี้ฟูลสุนทรหฤหรรษ์ แม่ชื่นจิตสวิตฮารตจะคลาดกัน ใจป่วนปั่นหันเหเซกู๊ดบาย ส่วนคาบาลี และสันสกฤตใช้ได้เพราะเรารับมาใช้ เป็นส่วนหนึ่ง แห่งภาษาไทย แต่ถึงกระนั้น ก็ต้องแปลงรูปคาเสียก่อน จะนามาใช้ทั้งดุ้นไม่ได้ ๕. ไม่ควรใช้ "ภาษาแสลงโสต" คือถ้อยคาที่พูดด้วยความตลกคะนอง หยาบโลน หรือเปรียบเทียบ กับของหยาบ ซึ่งใช้กันอยู่ในกลุ่มคนส่วนน้อยและรู้กันแต่เฉพาะในวงแคบๆ เช่น คาว่า ม่องเท่ง, จาหนับ, จ้าบ๊ะ, ตั้กฉึ้ก, ถังแตก, ยกล้อ ฯลฯ 1.กลอนสุภาพ 1.1 กลอน ๖
  • 9. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑ ตัวอย่าง: 1.2 กลอน ๗ ตัวอย่าง: 1.3 กลอน ๘ ตัวอย่าง: 1.4 กลอน ๙
  • 10. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑ ตัวอย่าง: 2. กลอนลานา 2.1 กลอนบทละคร ตัวอย่าง: 2.2 กลอนสักวา แผนผัง: เหมือนกลอนบทละคร ตัวอย่าง:
  • 11. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ชั้น ม.๓ เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภท กลอน หน้าที่ ๑ 2.3 กลอนเสภา ตัวอย่าง: 2.4 กลอนดอกสร้อย ตัวอย่าง: 2.5 กลอนขับร้อง กลอนขับร้อง ก็คือ กลอนสุภาพนั่นเอง แต่แต่งขึ้น สาหรับใช้ ขับรัอง หรือร้องส่ง เข้ากับ เครื่อง ดนตรี ปี่พาทย์มีชื่อ และทานองต่างๆ เช่น สมิงทอง, สามไม้, ปีนตลิ่ง, ชมตลาด, ลีลากระทุ่ม, เชิตนอก, นาค เกี้ยว, เทพทอง, พม่าเห่, เขมรไทรโยค เป็นต้น เหตุที่มีชื่อแตกต่างออกไป ก็เพราะมีทานองร้องแตกต่างกัน แผนและกฎต่างๆ จงดูในตอน ที่ว่าด้วย กลอนสุภาพนั้นเถิด ส่วนทานอง ต้องฝึกหัด กับผู้รู้ เป็นพิเศษ