SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
คาอุทาน
ความหมายของคาอุทาน
คาอุทาน คือ คาที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์ หรือความรู้สึกของ
ผู้พูด อาจเปล่งเสียงออกมาในเวลาดีใจ เสียใจ ตกใจ หรือประหลาดใจก็
ได้ โดยมากคาอุทานจะไม่มีความหมายตรงตามถ้อยคา แต่จะมี
ความหมายทางเน้นความรู้สึกและอารมณ์ของผู้พูดเป็นสาคัญ ได้แก่คา
ว่า โธ่ ! ว้าย ! ไชโย ! โอ้โฮ !ตายจริง ! ตายละวา ! อนิจจัง ! พุทโธ่
! อ้อ ! เย้ ! เฮ้ย ! เป็นต้น
ผังมโนทัศน์แสดงชนิดของคาอุทาน
คําอุทาน
คําอุทานเสริมบท
คําอุทานบอก
อาการ
๑. คาอุทานบอกอาการ
ใช้แสดงความรู้สึกต่าง ๆ ในการพูด ได้แก่คาว่า ซิ ! โธ่ ! บ๊ะ !
เหม่ ! แหม ! อ๊ะ ! อือ ! อุบ๊ะ ! เอ ! เอ๊ะ ! เอ๊ว ! เอ้อเฮอ ! โอ !
โอย ! โอ๊ย ! ฮะ ! ฮ้า ! ฮึ ! เฮ้ ! เฮ้ว ! ไฮ้ ! อ้า ! โอ้ ! โอ้ว่า !
เป็นต้น
คาเหล่านี้ใช้แสดงความรู้สึกต่าง ๆ กัน คือ
- ทักท้วง ใช้คาว่า ไฮ้ ! ฮ้า ! ฯลฯ
- โล่งใจ ใช้คาว่า เฮอ ! เฮ้อ ! ฯลฯ
- เจ็บปวด ใช้คาว่า อุ๊ย ! โอย ! โอ๊ย ! ฯลฯ
- ประหม่า เก้อเขิน ใช้คาว่า เอ้อ ! อ้อ ! ฯลฯ
- ชักชวน หรือเตือน ใช้คาว่า นะ ! น่า ! น่านะ ! ฯลฯ
- โกรธเคือง ใช้คาว่า ชะ ๆ ! เหม่ ! ดูดู๋ ! ชิชะ ! ฯลฯ
- สงสัย หรือไต่ถาม ใช้คาว่า เอ๊ะ ! หือ ! หา ! ฮะ ! เหรอ !
ฯลฯ
- ร้องเรียก หรือบอกให้รู้ตัว ใช้คาว่า เฮ้ย ! แน่ะ ! นี่แน่ะ ! เฮ้ ! โว้ย !
ฯลฯ
- ขุ่นเคือง อาฆาต ใช้คาว่า ฮึ่ม ! ดีละ ! บ๊ะ ! แล้วกัน !
วะ ! อุวะ ! อุบ๊ะ ! ฯลฯ
- ดูถูกเหยียดหยาม เยาะเย้ย ใช้คาว่า เชอะ ! ชะ ! หนอยแน่ !
หนอย ! เฮ้อ ! ฯลฯ
- เข้าใจ หรือรับรู้ ใช้คาว่า อ้อ ! หื้อ ! เออ ! เออน่ะ ! เอาละ
! อ๋อ ! จริง ! เออว่ะ ! ฯลฯ
- สงสาร หรือปลอบโยน ใช้คาว่า โถ ! โธ่ ! พุทโธ่ ! พุทโธ่เอ๊ย !
อนิจจา ! น้องเอ๋ย ! ฯลฯ
ตัวอย่างคาอุทาน และการใช้
- ตกใจ ใช้คาว่า อุ๊ย ว้าย แหม ตายจริง เช่น
- แหม นึกว่าใครเสียอีก
- อุ๊ย กระเป๋ าเงินฉันหายไปไหน
- ประหลาดใจ ใช้คาว่า เอ๊ะ หือ หา เช่น
- หา ว่ายังไงนะ
- เอ๊ะ ก็เห็นบอกว่าจะมานี่นา
- รับรู้ เข้าใจ ใช้คาว่า เออ อ้อ อ๋อ เช่น
- อ๋อ เข้าใจแล้ว
- อ้อ เป็นอย่างนี้นี่เอง
- เจ็บปวด ใช้คาว่า โอ๊ย โอย เช่น
- โอ๊ย เจ็บจัง
- สงสาร เห็นใจ ใช้คาว่า โธ่ อนิจจา เช่น
- โธ่ ไม่น่าต้องมารับเคราะห์เลย
- อนิจจา ทาไมถึงเป็นไปได้ถึงขนาดนี้
- ร้องเรียก ใช้คาว่า เฮ้ย เฮ้ นี่ เช่น
- เฮ้ย มาดูอะไรนี่เร็ว
- นี่ พวกเธอกาลังจะไปไหนกัน
- โล่งใจ ใช้คาว่า เฮ้อ เฮอ เช่น
- เฮ้อ โล่งอกไปที
- เฮ้อ สอบเสร็จแล้ว ดีใจจัง
๒. คาอุทานเสริมบท
เป็นคาอุทานที่ผู้พูดกล่าวถ้อยคาเพิ่มเติมเสริมขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจให้
มีความหมายแต่อย่างใด คําอุทานเสริมบทนิยมนํามาเติมข้างหน้า
ต่อท้าย หรือแทรกตรงกลางคําที่พูดเพื่อเน้นความหมายของคําที่จะพูด
ให้ชัดเจนขึ้น
ตัวอย่างคาอุทานเสริมบท และการใช้
- มือไม้ เช่น เดี๋ยวนี้มือไม้ฉันมันสั่นไปหมด
- ผมเผ้า เช่น ไปอยู่ที่ไหนมาผมเผ้ารุงรังจังเลย
- ตํารับตํารา เช่น เด็กสมัยนี้ไม่ชอบอ่านตารับตาราเอา
เสียเลย
- ได้ดิบได้ดี เช่น เดี๋ยวนี้เขาได้ดิบได้ดีมีฐานะแล้ว
- ถนนหนทาง เช่น เมื่อก่อนถนนหนทางยังไม่สะดวกสบาย
นัก
- หนังสือหนังหา เช่น หนังสือหนังหาเดี๋ยวนี้ราคาแพงมาก
- อาบนํ้าอาบท่า เช่น เพิ่งกลับมาอาบน้าอาบท่าเสียก่อนก็แล้ว
กัน
- ละคงละคร เช่น พอตกเย็นก็มานั่งดูละคงละครกันอีกแล้ว
- รถรา เช่น เดี๋ยวนี้รถราขวักไขว่ จะข้ามถนนต้องระวัง
- หางงหางาน เช่น เดี๋ยวนี้จะหางงหางานดี ๆ ก็ไม่ใช่เรื่องง่าย
- กระดูกกระเดี้ยว เช่น เดินชนกันอย่างนั้นกระดูกกระเดี้ยวหัก
หมด
- สัญญิงสัญญา เช่น เธอไม่ต้องมาสัญญิงสัญญาอะไรกับฉัน
เลย
- โกหกพกลม เช่น เธออย่ามาโกหกพกลมฉันหน่อยเลย
ถ้าคําที่นําหน้ามาเข้าคู่กันนี้เนื้อความหมายไปในแนวเดียวกันก็ไม่
นับว่าเป็นคาอุทานเสริมบท เช่น ไม่ดูไม่แล ไม่หลับไม่นอน
ร้องรําทําเพลง หมดเรื่องหมดราว หัวหลักหัวตอ วัดวาอาราม
ลดราวาศอก เสื้อแสง ปืนผาหน้าไม้ หยูกยา ผ้าผ่อน มือไม้ เป็นต้น
คําเหล่านี้เรียกว่า คาซ้อน
วิธีใช้อุทานเสริมบท
๑. อุทานเสริมบทใช้เพื่อเสริมคา อาจจะอยู่ข้างหน้า ข้างหลัง
หรือตรงกลางก็ได้ เช่น
ลืมหูลืมตา โกหกพกลม เลขผานาที
รถผ้า ผ่อนท่อนสไบ ร่มเริ่ม
สับประดี้สีประดน ลูกเต้าเหล่าใคร เหล้ายาปลาปิ้ง
สิงห์สาราสัตว์ ปากเปิก พิธีรีตอง
๒. อุทานเสริมบทที่ใช้เป็นคาสร้อยในคาประพันธ์บางชนิด เราเรียกว่า
“คาสร้อย” เช่น
• นา แลนา แฮ เฮย เอย อ้า โอ้ว่า ฤา
- เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย
- เสริมศิลป์ส่งเกียรติก้อง กังวาน โลกแล
- เช้าครํ่าพรํ่าสั่งสอน ไปอีก หน่อยรา
- บุญเพรงพระหากสรรค์ ศาสน์รุ่ง เรืองแฮ
- อยุธยายศล่มแล้ว ลอยสวรรค์ ลงฤๅ
- รักศักดิ์สงวนสัจธรรม เทิดเกียรติ พ่อเฮย
- ฟังคิดถามขีดข้อ ควรเขียน เขียนนา
หน้าที่ของคาอุทาน
๑. ทําหน้าที่แสดงความรู้สึกของผู้พูด เช่น
- โธ่ ! เธอคงจะหนาวมากละซิ
- ตายจริง ! ฉันลืมเอากระเป๋ าสตางค์มา
- เอ๊ะ ! ใครกันที่นําดอกไม้มาวางไว้ที่โต๊ะของฉัน
๒. ทําหน้าที่เพิ่มน้าหนักของคา ซึ่งได้แก่ คําอุทานเสริมบท เช่น
- เมื่อไรเธอจะหางงหางานทําเสียที
- เธอเห็นฉันเป็นหัวหลักหัวตอหรืออย่างไร
- ทําเสร็จเสียทีจะได้หมดเรื่องหมดราวกันไป
๓. ทาหน้าที่ประกอบข้อความในคาประพันธ์ เช่น
- กอเอ๋ยกอไก่
- มดเอ๋ยมดแดง
- แมวเอ๋ยแมวเหมียว

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ Rodchana Pattha
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 

What's hot (20)

ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 

Similar to คำอุทาน

Similar to คำอุทาน (11)

Interjection
InterjectionInterjection
Interjection
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
Number 8
Number 8Number 8
Number 8
 
วรรคตอน1
วรรคตอน1วรรคตอน1
วรรคตอน1
 
วรรคตอน1
วรรคตอน1วรรคตอน1
วรรคตอน1
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
How do you feel today
How do you feel todayHow do you feel today
How do you feel today
 
000
000000
000
 

More from Nanthida Chattong

More from Nanthida Chattong (7)

สไลด์สอน
สไลด์สอนสไลด์สอน
สไลด์สอน
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 

คำอุทาน