SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บทที่ 1
การจัดกิจกรรมบูรณาการ
ดวยงานประดิษฐ
การจัดกิจกรรมบูรณาการดวยงานประดิษฐจัดเปนสิ่งสําคัญชวย
ใหนักเรียนเกิดการเรียนรูที่ดี การสอนแบบบูรณาการตองยึดหลักสําคัญที่
ความสนใจและความตองการของผูเรียน ประสบการณในการเรียนรูควร
เปนหนวย (Unit) ที่มีความสมบูรณในตัวเอง ครูผูสอนตองใชเทคนิคในการ
ผสมผสานเนื้อหาวิชา และกิจกรรมการเรียนการสอนตาง ๆ ใหสัมพันธกัน
ภายในขอบขายเรื่องที่ศึกษา ดังนั้น ในบทนี้จะขอกลาวถึงประเด็นที่สําคัญ
ที่เกี่ยวของสัมพันธกัน 2 ประเด็นหลัก คือ 1) การบูรณาการ และ 2) งาน
ประดิษฐ โดยแตละประเด็นมีรายละเอียดดังนี้
2 กิจกรรมบูรณาการงานประดิษฐ สูความคิดสรางสรรค
1.1 การบูรณาการ
การจัดกิจกรรมบูรณาการดวยงานประดิษฐในสวนของการบูรณา-
การนั้นมีหัวขอที่จะนําเสนอประกอบดวย 3 ประเด็น คือ 1) ความหมาย
ของการบูรณาการ 2) ความสําคัญของการบูรณาการ 3) กิจกรรมที่นํามา
ใชในการสอนแบบบูรณาการ โดยแตละประเด็นมีรายละเอียดดังตอไปนี้
1.1.1 ความหมายและที่มาของการบูรณาการ
สํานักงานราชบัณฑิตยสภา (พ.ศ. 2554) ไดนิยามคําวา “บูรณาการ”
หมายถึง กระบวนการผสมผสานเชื่อมโยงองคความรูตั้งแต 2 องคความรู
ขึ้นไปเขาดวยกันอยางสอดคลองเปนระบบ และยังไดอางถึงจากบทวิทยุ
รายการ “รู รัก ภาษาไทย”วา ไดใหความหมายของคํา “บูรณาการ” ไว
2 ความหมาย คือ 1) ทําใหเปนเนื้อเดียวกันโดยรวมหรือผสมผสานสวน
ตาง ๆ เขาดวยกัน และ 2) เชื่อมหรือประสานกับสิ่งอื่นหรือหนวยงานอื่น
New World Encyclopedia Contributors, (2008) สื่อออนไลน ได
รายงานประวัติและผลงานของโยฮัน ฟริดริค แฮรบาร (Johann Friedrich
Herbart) นักจิตวิทยาและนักการศึกษา ชาวเยอรมัน ในชวงป ค.ศ. 1814 ถึง
ป ค.ศ. 1829 ไดเขียนหนังสือดานจิตวิทยาและการศึกษาไวหลายเลม และ
ไดนําหลักทฤษฎีการเชื่อมตอหนวยและคิดรวบยอดในวิชาแคลลูลัส (dif-
ferential and integral calculus) ซึ่งเปนแนวคิดของไลบนิซ (Leibniz’s
notion) นักคณิตศาสตร ชาวเยอรมัน ในระหวางป ค.ศ. 1646-1716 นั้น มา
บูรณาการเปนสวนหนึ่งในสาขาดานจิตวิทยาจนนําไปสู หลักการหรือทฤษฎี
การสรางความเขาใจการรับรูโดยผานประสบการณ (The Apperceptive
Masses) ซึ่งเปนกระบวนการสรางความคิดความเขาใจโดยอาศัยความ
สัมพันธเชื่อมโยงระหวางความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยูกับความรูหรือ
3บทที่ 1 การจัดกิจกรรมบูรณาการดวยงานประดิษฐ
ประสบการณใหมที่ไดรับของนักเรียนอันนําไปสูความคิดรวบยอดหรือความ
คิดใหม จนสามารถนําไปประยุกตใชประโยชนไดเปนผลสําเร็จ หลักการที่
ไดรับความนิยมนํามาใชในวิธีการสอนจนถึงปจจุบัน ดังนั้น อาจกลาวไดวา
“การบูรณาการ” นั้น อาจมีจุดเริ่มตนมาจากหลักทฤษฎีของวิชาแคลคูลัส
ซึ่งมีมากวา 300 ป
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เรื่องการจัดการ
เรียนรู โดยสวนหนึ่งไดกําหนดใหมีการจัดการเรียนรูดวยวิธีการที่หลากหลาย
ควรมีการนํากระบวนการจัดการ กระบวนการอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอม
กระบวนการคิดและวิทยาศาสตรไปสอดแทรกในการเรียนการสอนของทุก
กลุมสาระ และยังกําหนดใหชวงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ถึง 3 ควร
จัดใหมีภาษาไทยและคณิตศาสตรถูกบูรณาการในทุกกลุมสาระอีกดวย การ
จัดการเรียนรูแบบบูรณาการกันระหวางภายในวิชาเดียวกัน หรือภายในกลุม
สาระเดียวกัน หรือขามกลุมสาระการเรียนรูนั้น สามารถจัดไดหลายลักษณะ
เชน 1) การบูรณาการแบบผูสอนคนเดียว 2) การบูรณาการแบบคูขนาน 3)
การบูรณาการแบบสหวิทยาการ 4) การบูรณาการแบบโครงการ เปนตน
1. การบูรณาการแบบสอนคนเดียว ครูผูสอนสามารถจัดการเรียน
รูโดยเชื่อมโยงกับสาระการเรียนรูตาง ๆ กับหัวขอเรื่อง มโนทัศน ปญหา
ที่สอดคลองกับชีวิตจริง หรือสาระที่กําหนดขึ้นมา เชน ครูการงานอาชีพ
และเทคโนโลยีสอนเรื่องการประกอบอาหารประเภทตมยําปลากระปอง
ครูสามารถเชื่อมโยงความรูเรื่องการเลือกซื้อปลากระปองในกลุมสาระการ
เรียนรูสุขศึกษา เชื่อมโยงความรูเรื่องเกลือชนิดตาง ๆ แหลงที่ผลิตเกลือ
เชื่อมโยงความรูในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร และยังเชื่อมโยงเรื่อง
อาหารอาเซียน ซึ่งอยูในกลุมสาระเดียวกัน คือกลุมสาระการเรียนรูการงาน
อาชีพและเทคโนโลยี
4 กิจกรรมบูรณาการงานประดิษฐ สูความคิดสรางสรรค
2. การบูรณาการแบบคูขนาน คือ ลักษณะการจัดการเรียนรูโดย
มีครู 2 คนขึ้นไป 2 กลุมสาระการเรียนรูขึ้นไป ที่สอนวิชาที่มีสาระใกลเคียง
กัน มาวางแผนรวมกันตามหัวเรื่อง มโนทัศน (concept) ปญหา (problem)
เดียวกัน และเชื่อมโยงเนื้อหาสาระ กระบวนการและคุณธรรม โดยตางคนตาง
สอนเนื้อหาตามกลุมสาระของตนเองโดยมีเปาหมายรวมกัน เชน ผูสอนวิชา
วิทยาศาสตรสอนเรื่องพืชสมุนไพร ผูสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
สอนเรื่องการนําสมุนไพรมาประกอบอาหารประเภทตมยํา และผูสอนวิชา
ศิลปะสอนเรื่องการวาดรูปพืชสมุนไพร
3. การบูรณาการแบบสหวิทยาการ เปนลักษณะการบูรณาการ
ระหวางกลุมสาระการเรียนรูโดยการนําเอาสาระการเรียนรูจากหลายกลุม
สาระการเรียนรูอื่น ๆ มาเชื่อมโยงใหเปนเนื้อเรื่องเดียวกัน เพื่อจัดการเรียน
รูภายใตหัวขอเรื่องเดียวกัน ซึ่งโดยทั่วไปผูสอนจัดการเรียนการสอนแยก
ตามรายวิชา หรือกลุมวิชา แตในบางเรื่องผูสอนจัดการเรียนรวมกันในเรื่อง
เดียวกัน วันขึ้นปใหม ผูสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี สอนเรื่องการ
ประดิษฐการดวันปใหม ผูสอนวิชาภาษาอังกฤษจัดใหผูเรียนรูคําศัพทวันขึ้น
ปใหม ผูสอนวิชาภาษาไทยใหผูเรียนเขียนคําอวยพรวันขึ้นปใหมใหแกพอแม
และเพื่อน ๆ ผูสอนวิชาสังคมใหผูเรียนทํากิจกรรมเกี่ยวกับวันขึ้นปใหม และ
ครูผูสอนดนตรีอาจจัดใหทํากิจกรรมรองเพลงเกี่ยวกับวันขึ้นปใหม
4. การบูรณาการแบบโครงการ มีลักษณะคลายการจัดการเรียน
การสอนแบบโครงการ ครูและนักเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมหรือเหตุการณ
ตาง ๆ ที่สนใจ ที่มีคุณคาตอการเรียนรู รวมมือกันทํางานและชวยเหลือกัน
อาจรวมจํานวนชั่วโมงของสาระการเรียนรูตาง ๆ เรียนตอเนื่องกัน โดยมี
เปาหมายเดียวกันในลักษณะการสอนเปนทีม เรียนเปนทีม ถาตองการเนน
ทักษะเปนพิเศษ ครูสามารถแยกกันสอนเปนฐานหรือคาย เชน คายอาเซียน
คายอีคิว คายดาราศาสตร คายพฤกษศาสตร
5บทที่ 1 การจัดกิจกรรมบูรณาการดวยงานประดิษฐ
ดังนั้น “การบูรณาการ” ในทางการศึกษา หมายถึง การจัดการศึกษา
หรือหลักสูตรใหมีการเชื่อมโยงกันภายในวิชาหรือกับวิชาอื่น ๆ ทั้งทางดาน
เนื้อหาสาระและวิธีการ เพื่อพัฒนาการเรียนรูดานตาง ๆ ของผูเรียนไป
พรอม ๆ กัน หรือการพัฒนาเปนองครวม
การบูรณาการเชิงเนื้อหาวิชา
การบูรณาการเชิงเนื้อหาวิชา คือ การผสมผสานเนื้อหาวิชา มีลักษณะ
ของการหลอมรวมแบบแกนหรือแบบสหวิทยาการ และการผสมผสานของ
เนื้อหาวิชาในแงของทฤษฎีกับการปฏิบัติ หรือเนื้อหาวิชาที่สอนกับชีวิตจริง
ในการจัดการบูรณาการเชิงเนื้อหาวิชานี้ แบงออกเปน 2 วิธี คือ
ก) บูรณาการสวนทั้งหมด คือ การรวมเนื้อหาประสบการณตาง ๆ
ที่ตองการจะใหเด็กเรียนรูหลักสูตรหรือโปรแกรม จัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนที่ยึดปญหาหรือแนวเรื่องเปนแกน โดยปญหาหรือแนวเรื่องนี้ จะเปนตัว
ชี้บงถึงความรูที่มาจากวิชาตาง ๆ ในโปรแกรม ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวของกับชีวิต
ประจําวันหรือปญหาสังคมทั้งหมด
ข) บูรณาการเปนบางสวน คือ การรวมประสบการณของบางสาขา
วิชาเขาดวยกันอาจจะเปนลักษณะของหมวดวิชา หรือกลุมวิชา ซึ่งภายใน
สัมพันธกันเปนอยางดี ดังนั้น การจัดบูรณาการเปนบางสวนอาจจะจัดไดทั้ง
ภายในสาขาวิชาและระหวางสาขาวิชา หรือจัดเปนบูรณาการแบบโครงการ
ซึ่งการจัดแบบโครงการนี้ แตละรายวิชาก็จะเปนรายวิชาเชนปกติ แตจะจัด
ประสบการณใหเปนบูรณาการในรูปของโครงการอาจจะเปนโครงการสําหรับ
นักเรียนรายบุคคลหรือรายกลุม
1.1.2 ความสําคัญของการบูรณาการ
การบูรณาการเปนลักษณะของการนําประสบการณตาง ๆ ที่จําเปน
6 กิจกรรมบูรณาการงานประดิษฐ สูความคิดสรางสรรค
แกชีวิตมาสัมพันธกันอยางผสมกลมกลืน ไดสัดสวนความสมดุลและสามารถ
นําไปสูการแกปญหาตาง ๆ ทําใหชีวิตมีความผาสุก
ลักษณะสําคัญของการบูรณาการ
1) เปนการบูรณาการระหวางความรูและกระบวนการเรียนรู
กระบวนการเรียนการสอนลักษณะนี้จะขึ้นอยูกับความแตกตางระหวาง
บุคคล
2) เปนการบูรณาการระหวางพัฒนาการทางความรูและพัฒนาการ
ทางจิตใจ นั่นคือใหความสําคัญแกจิตนิสัย คือ เจตคติ คานิยม ความสนใจ
และสุนทรียภาพแกผูเรียนในการแสวงหาความรู
3) เปนการบูรณาการระหวางความรูและการกระทําหรือการปฏิบัติ
4) เปนการบูรณาการระหวางสิ่งที่เรียนในโรงเรียนกับสิ่งที่เปนอยู
ในชีวิตประจําวันของผูเรียน คือ การตระหนักถึงความสําคัญแหงคุณภาพ
ชีวิต
5) เปนการบูรณาการระหวางวิชาตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนเกิดความ
รู เจตคติและการกระทําที่เหมาะสมกับความตองการ และความสนใจของ
ผูเรียนอยางแทจริง
1.1.3 กิจกรรมที่นํามาใชในการสอนแบบบูรณาการ
การจัดกิจกรรมการบูรณาการดวยงานประดิษฐจะบรรลุตาม
วัตถุประสงค ถาผูสอนนําเทคนิคและวิธีสอนหลาย ๆ แบบมาใชใหเหมาะ
สมกับลักษณะเนื้อหาของกิจกรรม วัย และความสามารถของผูเรียน เพื่อ
ชวยใหผูเรียนไดคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน และนําความรูไปใชในชีวิต
ประจําวันได เทคนิควิธีสอน โดยทั่วไปจําแนกได 2 หลักการใหญ ๆ จรัสศรี
พัวจินดาเนตร (2560) คือ ก) การสอนแบบครูเปนศูนยกลาง และ ข) การ
สอนแบบยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง
7บทที่ 1 การจัดกิจกรรมบูรณาการดวยงานประดิษฐ
ก. การสอนแบบครูเปนศูนยกลาง
การสอนแบบครูเปนศูนยกลาง จําแนกออกไดหลายวิธี ดังนี้
1) การสอนแบบสาธิต (Demonstration Method) ครูผู
สอนจะตองฝกทดลองกอนการสอน จําเปนตองวางแผนการสอนไวลวงหนา
กอนที่นักเรียนจะลงมือปฏิบัติ ครูผูสอนจะสาธิตการปฏิบัติงานเปนขั้นตอน
จนเสร็จ ใหนักเรียนเขาใจกอนแลวจึงใหลงมือทํา ครูเปนผูควบคุมแนะนํา
เปนรายกลุม หรือรายบุคคลจนเสร็จสิ้นการเรียนการสอน การสาธิตชวย
ใหผูเรียนไดประสบการณตรง เรียนรูอยางเปนรูปธรรม
2) การสอนแบบกําหนดงาน (Assignment Method) คือ
การสอนที่ครูกําหนดหัวเรื่อง หรือกําหนดชิ้นงานให นักเรียนจะกําหนด
กระบวนการการทํางานดวยตนเองจนสามารถทํางานไดสําเร็จ วิธีสอนแบบ
นี้จะชวยเสริมใหนักเรียนมีความคิดเปนของตนเอง รูจักสรางสรรค และริเริ่ม
งานใหม ๆ ดวยตนเอง สิ่งที่ครูตองระวังใหมากในวิธีสอนแบบนี้ ก็คือถาให
เด็กทําอะไรตามใจตนเองบอย ๆ นักเรียนจะมีนิสัยทําตามใจตัวเอง ขาด
ความละเอียดประณีต ไมรูวาจุดที่ดีอยูตรงไหน ขอที่ดีเปนอยางไร และจะ
เพาะนิสัยความไมถือตอกฎเกณฑกลายเปนเด็กที่ไมมีระเบียบไปในที่สุด
ดังนั้น ในการสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิธีการ
สอนแบบสาธิตกับแบบกําหนดงานควรจะสอนควบคูกันไปเพราะจะชวย
เสริมในขอบกพรองของแตละวิธีใหสมบูรณขึ้น
3) การสอนแบบบรรยาย (Lecture Method) เปนวิธีการ
สอนที่อาศัยความสามารถของผูสอนในการถายทอดเนื้อหาสาระใหนาสนใจ
เปนกระบวนการสอนที่ใชในการชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงค
ที่กําหนดให โดยการพูด การบอกเลา อธิบายสิ่งที่ตองการสอนแกนักเรียน
การสอนแบบนี้ ครูเปนผูใหหรือเรียกวาสอนทางตรง (Direct Method)
8 กิจกรรมบูรณาการงานประดิษฐ สูความคิดสรางสรรค
4) การสอนโดยใชคําถาม (Questioning) เปนการสอนที่
นําการตั้งคําถามที่ชวยใหผูเรียนเกิดการคิดคนหาคําตอบ หรือทบทวน
ประสบการณเรียนรูเดิม เพื่อเชื่อมโยงไปสูความรูใหม ลักษณะของคําถาม
เปนคําถามที่นําไปสูความรูความเขาใจ นําไปสูการออกแบบ การทดลอง
ปฏิบัติ นําไปสูการวางแผน นําไปสูการอภิปราย และนําไปสูการสังเกต
ข. การสอนแบบยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง
สวนหนึ่งของสาระสําคัญในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ
พ.ศ. 2542 คือ “การจัดการเรียนการสอนตองใหความสําคัญกับผูเรียน
พัฒนาผูเรียนทุกคนตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ” ดังนั้น การสอน
แบบยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง มีเทคนิคการสอนอยูหลายวิธี ดังนี้
1) วิธีสอนแบบโครงการ (Project Method) เปนการสอนให
นักเรียนมีความคิดริเริ่มสรางสรรค รูจักออกแบบ หรือฝกความชํานาญเพิ่ม
เติมขึ้นอีก ครูเปนเพียงผูชวยเหลือเทานั้น ซิลคิเบยและคณะ (Zhylkybay,
et. al., 2014) ยังไดระบุวิธีสอนแบบโครงการนี้วาใหผลคุณภาพการสอนที่
ดี ทําใหนักเรียนมีการทํางานที่เปนระบบและมีการมุงเนนในเนื้อหา สามารถ
ประเมินความรูความสามารถ และความคิดริเริ่มสรางสรรคของนักเรียน
ไดดี
2) วิธีสอนแบบทดลอง (Experimental Method) เปนการ
สอนแบบทดลอง ทําใหนักเรียนไดพบกับความจริง มีโอกาสไดทําการทดลอง
เปนรายกลุม หรือรายบุคคลดวยตนเอง การคนควาพิสูจนหลักฐานการ
ทดลองและสรุปขอเท็จจริงดวยการลงมือปฏิบัติ นักเรียนไดรวมกันคิดรวม
กันทํา เมื่อสําเร็จแลวนักเรียนจะเขาใจ เกิดความภาคภูมิใจ สรุปผลไดถูก
ตองและจดจําไดแมนยํา
9บทที่ 1 การจัดกิจกรรมบูรณาการดวยงานประดิษฐ
3) การเรียนรูดวยการแกปญหา (Problem Solving Method)
เปนวิธีการของครูผูสอนจะสงเสริมนักเรียนไดรวมกันคิดหาทางแกปญหาและ
รูคุณคาของการแกปญหาไดดวยตนเองและคณะ ซึ่งปญหาในกลุมสาระการ
งานอาชีพและเทคโนโลยี เชน ปญหาการคัดเลือกวัสดุราคาถูกมาทดแทน
วัสดุที่มีราคาแพงในการฝกปฏิบัติงาน เปนตน
4) วิธีสอนดวยการใชแบบพิมพ (Instruction Sheet) การ
สอนดวยแบบพิมพที่มุงใหนักเรียนนักศึกษาเรียนรูจากแบบพิมพ หรือเนื้อหา
ที่ผูเรียนควรจะไดศึกษาและเรียนรูเนื้อหาสาระทางวิชาการที่ครูจะสอนใน
ภาคความรูและภาคปฏิบัติ โดยจะจัดพิมพหรือกําหนดไวอยางเรียบรอยมี
คําแนะนําเปนขั้นตอน แบบพิมพที่เปนความรูเกี่ยวกับภาคปฏิบัติจะมีแบบ
พิมพประกอบคําอธิบายวิธีทําเปนขั้นตอน เชน ใบงาน และใบแนะนําความ
รู ซึ่งมีใชกันมากในกลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี เปนตน
5) การเรียนในหองปฏิบัติการ (Laboratory Method) คือ
การเรียนในหองปฏิบัติการเปนการเปดโอกาสใหนักเรียนไดเรียนดวยการ
กระทํา หรือปฏิบัติจริงเพื่อสรางประสบการณทักษะในงานนั้นโดยตรง
เพื่อใหเกิดการเรียนรูและสามารถแกปญหาชีวิตได จึงนับวาเปนหัวใจของ
การสอนกลุมนี้ ครูควรเนนการจัดกิจกรรมการเรียนรูในหองปฏิบัติการให
สัมพันธและตอเนื่องจากการสอนทฤษฎี
6) การสอนแบบอภิปราย (Discussion Method) การสอน
แบบอภิปราย เปนการสงเสริมใหนักเรียนทุกคนไดมีโอกาสแสดงออก เพื่อ
แลกเปลี่ยนแนวคิดซึ่งกันและกัน การแสดงความคิดเห็นจะเปนการแสดงออก
ที่จะชวยกันชี้ขาดไดวา สิ่งนั้นผิดหรือถูก หรือควรปรับปรุงแกไข
7) การสอนแบบบูรณาการ (Integration Method) คือ การ
สอนที่เชื่อมโยงประสบการณการเรียนรูโดยผสมผสานเนื้อหาตาง ๆ ในสาขา
10 กิจกรรมบูรณาการงานประดิษฐ สูความคิดสรางสรรค
เดียวกันหรือตางสาขาก็ได โดยมีวิชาใดวิชาหนึ่งเปนแกนและมีวิชาอื่นที่นํา
มาเสริม เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางสมบูรณ สามารถนําไปประยุกตใช
ในชีวิตประจําวันไดอยางเหมาะสม กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและ
เทคโนโลยี มีงานบาน งานเกษตร งานชาง เปนงานพื้นฐานที่สําคัญ ซึ่งงาน
ทั้ง 3 มีความเกี่ยวของสัมพันธกันกับการดําเนินชีวิตประจําวันของมนุษย
เชน กิจกรรมตาง ๆ ภายในบาน ทั้งงานบาน งานอาหาร และการตกแตง
บานดวยงานประดิษฐ งานชางก็ผูกพันกับงานเกษตร ในการประกอบอาหาร
และจัดไมดอกไมประดับเพื่อความสวยงาม จะเห็นไดวาเนื้อหาภายในกลุม
สาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีก็สัมพันธกันอยูแลว ดังนั้น
การสอนใหเกิดบูรณาการของการเรียนจึงเปนสิ่งสําคัญในการจัดการเรียน
รู เพื่อเชื่อมโยงประสบการณการเรียนรูโดยการผสมผสานเนื้อหาวิชา
ตาง ๆ ในสาขาเดียวกันหรือตางสาขาก็ไดแลวนํามาหลอหลอมรวมกันให
ความรูเหลานั้นเปนองคความรูที่มีความหมายและความสมบูรณมากที่สุด
8) การเรียนแบบรวมมือ (Cooperative Learning) ในภาษา
ไทยมีนักการศึกษาถอดความไวหลายคําดวยกัน เชน การทํางานแบบทํางาน
รับผิดชอบรวมกัน การเรียนแบบชวยเหลือกัน การเรียนแบบรับผิดชอบรวม
กัน การเรียนแบบรวมมือ การเรียนแบบรวมมือกันเรียนรู การเรียนแบบ
รวมมือประสานใจ การเรียนแบบสหการ การเรียนแบบรวมมือ การเรียน
แบบสหกรณ เปนตน แนวคิดการเรียนแบบรวมมือนี้ นับเปนความพยายาม
ของนักการศึกษาทางตะวันตกหลายทาน ที่จะพัฒนาการเรียนแบบกลุมให
มีประสิทธิภาพตอการเรียนรูของนักเรียนมากยิ่งขึ้น เชน สลาวิน (Slavin,
1995 และ 2006) ไดพัฒนาเทคนิควิธีการเรียน โดยจัดกลุมผูเรียนเปนกลุม
เล็ก ๆ กลุมละ 4 คน ระดับความสามารถตางกัน ผูสอนกําหนดบทเรียนและ
การทํางานกลุมไวแลว ผูสอนทําการสอนบทเรียนใหผูเรียนทั้งชั้นแลวใหกลุม

More Related Content

What's hot

รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการcomputer1437
 
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการการจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการWeerachat Martluplao
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีPakornkrits
 
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการNum Jantaboot
 
รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2
รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2
รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2prsaowalak
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 

What's hot (9)

รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการ
 
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการการจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
 
รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2
รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2
รายงานการสังเคราะห์ กลยุทธ์ 2
 
B2
B2B2
B2
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

Similar to 9789740337096

ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานสุชาติ องค์มิ้น
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานcartoon656
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานcartoon656
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยpanggoo
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือKrumath Pawinee
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยSana T
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยMuBenny Nuamin
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2bbeammaebb
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอรรถกร ใจชาย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 

Similar to 9789740337096 (20)

Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
02
0202
02
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
2.2
2.22.2
2.2
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 
9789740336419
97897403364199789740336419
9789740336419CUPress
 
9789740336402
97897403364029789740336402
9789740336402CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 
9789740336419
97897403364199789740336419
9789740336419
 
9789740336402
97897403364029789740336402
9789740336402
 

9789740337096

  • 1. บทที่ 1 การจัดกิจกรรมบูรณาการ ดวยงานประดิษฐ การจัดกิจกรรมบูรณาการดวยงานประดิษฐจัดเปนสิ่งสําคัญชวย ใหนักเรียนเกิดการเรียนรูที่ดี การสอนแบบบูรณาการตองยึดหลักสําคัญที่ ความสนใจและความตองการของผูเรียน ประสบการณในการเรียนรูควร เปนหนวย (Unit) ที่มีความสมบูรณในตัวเอง ครูผูสอนตองใชเทคนิคในการ ผสมผสานเนื้อหาวิชา และกิจกรรมการเรียนการสอนตาง ๆ ใหสัมพันธกัน ภายในขอบขายเรื่องที่ศึกษา ดังนั้น ในบทนี้จะขอกลาวถึงประเด็นที่สําคัญ ที่เกี่ยวของสัมพันธกัน 2 ประเด็นหลัก คือ 1) การบูรณาการ และ 2) งาน ประดิษฐ โดยแตละประเด็นมีรายละเอียดดังนี้
  • 2. 2 กิจกรรมบูรณาการงานประดิษฐ สูความคิดสรางสรรค 1.1 การบูรณาการ การจัดกิจกรรมบูรณาการดวยงานประดิษฐในสวนของการบูรณา- การนั้นมีหัวขอที่จะนําเสนอประกอบดวย 3 ประเด็น คือ 1) ความหมาย ของการบูรณาการ 2) ความสําคัญของการบูรณาการ 3) กิจกรรมที่นํามา ใชในการสอนแบบบูรณาการ โดยแตละประเด็นมีรายละเอียดดังตอไปนี้ 1.1.1 ความหมายและที่มาของการบูรณาการ สํานักงานราชบัณฑิตยสภา (พ.ศ. 2554) ไดนิยามคําวา “บูรณาการ” หมายถึง กระบวนการผสมผสานเชื่อมโยงองคความรูตั้งแต 2 องคความรู ขึ้นไปเขาดวยกันอยางสอดคลองเปนระบบ และยังไดอางถึงจากบทวิทยุ รายการ “รู รัก ภาษาไทย”วา ไดใหความหมายของคํา “บูรณาการ” ไว 2 ความหมาย คือ 1) ทําใหเปนเนื้อเดียวกันโดยรวมหรือผสมผสานสวน ตาง ๆ เขาดวยกัน และ 2) เชื่อมหรือประสานกับสิ่งอื่นหรือหนวยงานอื่น New World Encyclopedia Contributors, (2008) สื่อออนไลน ได รายงานประวัติและผลงานของโยฮัน ฟริดริค แฮรบาร (Johann Friedrich Herbart) นักจิตวิทยาและนักการศึกษา ชาวเยอรมัน ในชวงป ค.ศ. 1814 ถึง ป ค.ศ. 1829 ไดเขียนหนังสือดานจิตวิทยาและการศึกษาไวหลายเลม และ ไดนําหลักทฤษฎีการเชื่อมตอหนวยและคิดรวบยอดในวิชาแคลลูลัส (dif- ferential and integral calculus) ซึ่งเปนแนวคิดของไลบนิซ (Leibniz’s notion) นักคณิตศาสตร ชาวเยอรมัน ในระหวางป ค.ศ. 1646-1716 นั้น มา บูรณาการเปนสวนหนึ่งในสาขาดานจิตวิทยาจนนําไปสู หลักการหรือทฤษฎี การสรางความเขาใจการรับรูโดยผานประสบการณ (The Apperceptive Masses) ซึ่งเปนกระบวนการสรางความคิดความเขาใจโดยอาศัยความ สัมพันธเชื่อมโยงระหวางความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยูกับความรูหรือ
  • 3. 3บทที่ 1 การจัดกิจกรรมบูรณาการดวยงานประดิษฐ ประสบการณใหมที่ไดรับของนักเรียนอันนําไปสูความคิดรวบยอดหรือความ คิดใหม จนสามารถนําไปประยุกตใชประโยชนไดเปนผลสําเร็จ หลักการที่ ไดรับความนิยมนํามาใชในวิธีการสอนจนถึงปจจุบัน ดังนั้น อาจกลาวไดวา “การบูรณาการ” นั้น อาจมีจุดเริ่มตนมาจากหลักทฤษฎีของวิชาแคลคูลัส ซึ่งมีมากวา 300 ป หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เรื่องการจัดการ เรียนรู โดยสวนหนึ่งไดกําหนดใหมีการจัดการเรียนรูดวยวิธีการที่หลากหลาย ควรมีการนํากระบวนการจัดการ กระบวนการอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอม กระบวนการคิดและวิทยาศาสตรไปสอดแทรกในการเรียนการสอนของทุก กลุมสาระ และยังกําหนดใหชวงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ถึง 3 ควร จัดใหมีภาษาไทยและคณิตศาสตรถูกบูรณาการในทุกกลุมสาระอีกดวย การ จัดการเรียนรูแบบบูรณาการกันระหวางภายในวิชาเดียวกัน หรือภายในกลุม สาระเดียวกัน หรือขามกลุมสาระการเรียนรูนั้น สามารถจัดไดหลายลักษณะ เชน 1) การบูรณาการแบบผูสอนคนเดียว 2) การบูรณาการแบบคูขนาน 3) การบูรณาการแบบสหวิทยาการ 4) การบูรณาการแบบโครงการ เปนตน 1. การบูรณาการแบบสอนคนเดียว ครูผูสอนสามารถจัดการเรียน รูโดยเชื่อมโยงกับสาระการเรียนรูตาง ๆ กับหัวขอเรื่อง มโนทัศน ปญหา ที่สอดคลองกับชีวิตจริง หรือสาระที่กําหนดขึ้นมา เชน ครูการงานอาชีพ และเทคโนโลยีสอนเรื่องการประกอบอาหารประเภทตมยําปลากระปอง ครูสามารถเชื่อมโยงความรูเรื่องการเลือกซื้อปลากระปองในกลุมสาระการ เรียนรูสุขศึกษา เชื่อมโยงความรูเรื่องเกลือชนิดตาง ๆ แหลงที่ผลิตเกลือ เชื่อมโยงความรูในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร และยังเชื่อมโยงเรื่อง อาหารอาเซียน ซึ่งอยูในกลุมสาระเดียวกัน คือกลุมสาระการเรียนรูการงาน อาชีพและเทคโนโลยี
  • 4. 4 กิจกรรมบูรณาการงานประดิษฐ สูความคิดสรางสรรค 2. การบูรณาการแบบคูขนาน คือ ลักษณะการจัดการเรียนรูโดย มีครู 2 คนขึ้นไป 2 กลุมสาระการเรียนรูขึ้นไป ที่สอนวิชาที่มีสาระใกลเคียง กัน มาวางแผนรวมกันตามหัวเรื่อง มโนทัศน (concept) ปญหา (problem) เดียวกัน และเชื่อมโยงเนื้อหาสาระ กระบวนการและคุณธรรม โดยตางคนตาง สอนเนื้อหาตามกลุมสาระของตนเองโดยมีเปาหมายรวมกัน เชน ผูสอนวิชา วิทยาศาสตรสอนเรื่องพืชสมุนไพร ผูสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี สอนเรื่องการนําสมุนไพรมาประกอบอาหารประเภทตมยํา และผูสอนวิชา ศิลปะสอนเรื่องการวาดรูปพืชสมุนไพร 3. การบูรณาการแบบสหวิทยาการ เปนลักษณะการบูรณาการ ระหวางกลุมสาระการเรียนรูโดยการนําเอาสาระการเรียนรูจากหลายกลุม สาระการเรียนรูอื่น ๆ มาเชื่อมโยงใหเปนเนื้อเรื่องเดียวกัน เพื่อจัดการเรียน รูภายใตหัวขอเรื่องเดียวกัน ซึ่งโดยทั่วไปผูสอนจัดการเรียนการสอนแยก ตามรายวิชา หรือกลุมวิชา แตในบางเรื่องผูสอนจัดการเรียนรวมกันในเรื่อง เดียวกัน วันขึ้นปใหม ผูสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี สอนเรื่องการ ประดิษฐการดวันปใหม ผูสอนวิชาภาษาอังกฤษจัดใหผูเรียนรูคําศัพทวันขึ้น ปใหม ผูสอนวิชาภาษาไทยใหผูเรียนเขียนคําอวยพรวันขึ้นปใหมใหแกพอแม และเพื่อน ๆ ผูสอนวิชาสังคมใหผูเรียนทํากิจกรรมเกี่ยวกับวันขึ้นปใหม และ ครูผูสอนดนตรีอาจจัดใหทํากิจกรรมรองเพลงเกี่ยวกับวันขึ้นปใหม 4. การบูรณาการแบบโครงการ มีลักษณะคลายการจัดการเรียน การสอนแบบโครงการ ครูและนักเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมหรือเหตุการณ ตาง ๆ ที่สนใจ ที่มีคุณคาตอการเรียนรู รวมมือกันทํางานและชวยเหลือกัน อาจรวมจํานวนชั่วโมงของสาระการเรียนรูตาง ๆ เรียนตอเนื่องกัน โดยมี เปาหมายเดียวกันในลักษณะการสอนเปนทีม เรียนเปนทีม ถาตองการเนน ทักษะเปนพิเศษ ครูสามารถแยกกันสอนเปนฐานหรือคาย เชน คายอาเซียน คายอีคิว คายดาราศาสตร คายพฤกษศาสตร
  • 5. 5บทที่ 1 การจัดกิจกรรมบูรณาการดวยงานประดิษฐ ดังนั้น “การบูรณาการ” ในทางการศึกษา หมายถึง การจัดการศึกษา หรือหลักสูตรใหมีการเชื่อมโยงกันภายในวิชาหรือกับวิชาอื่น ๆ ทั้งทางดาน เนื้อหาสาระและวิธีการ เพื่อพัฒนาการเรียนรูดานตาง ๆ ของผูเรียนไป พรอม ๆ กัน หรือการพัฒนาเปนองครวม การบูรณาการเชิงเนื้อหาวิชา การบูรณาการเชิงเนื้อหาวิชา คือ การผสมผสานเนื้อหาวิชา มีลักษณะ ของการหลอมรวมแบบแกนหรือแบบสหวิทยาการ และการผสมผสานของ เนื้อหาวิชาในแงของทฤษฎีกับการปฏิบัติ หรือเนื้อหาวิชาที่สอนกับชีวิตจริง ในการจัดการบูรณาการเชิงเนื้อหาวิชานี้ แบงออกเปน 2 วิธี คือ ก) บูรณาการสวนทั้งหมด คือ การรวมเนื้อหาประสบการณตาง ๆ ที่ตองการจะใหเด็กเรียนรูหลักสูตรหรือโปรแกรม จัดกิจกรรมการเรียนการ สอนที่ยึดปญหาหรือแนวเรื่องเปนแกน โดยปญหาหรือแนวเรื่องนี้ จะเปนตัว ชี้บงถึงความรูที่มาจากวิชาตาง ๆ ในโปรแกรม ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวของกับชีวิต ประจําวันหรือปญหาสังคมทั้งหมด ข) บูรณาการเปนบางสวน คือ การรวมประสบการณของบางสาขา วิชาเขาดวยกันอาจจะเปนลักษณะของหมวดวิชา หรือกลุมวิชา ซึ่งภายใน สัมพันธกันเปนอยางดี ดังนั้น การจัดบูรณาการเปนบางสวนอาจจะจัดไดทั้ง ภายในสาขาวิชาและระหวางสาขาวิชา หรือจัดเปนบูรณาการแบบโครงการ ซึ่งการจัดแบบโครงการนี้ แตละรายวิชาก็จะเปนรายวิชาเชนปกติ แตจะจัด ประสบการณใหเปนบูรณาการในรูปของโครงการอาจจะเปนโครงการสําหรับ นักเรียนรายบุคคลหรือรายกลุม 1.1.2 ความสําคัญของการบูรณาการ การบูรณาการเปนลักษณะของการนําประสบการณตาง ๆ ที่จําเปน
  • 6. 6 กิจกรรมบูรณาการงานประดิษฐ สูความคิดสรางสรรค แกชีวิตมาสัมพันธกันอยางผสมกลมกลืน ไดสัดสวนความสมดุลและสามารถ นําไปสูการแกปญหาตาง ๆ ทําใหชีวิตมีความผาสุก ลักษณะสําคัญของการบูรณาการ 1) เปนการบูรณาการระหวางความรูและกระบวนการเรียนรู กระบวนการเรียนการสอนลักษณะนี้จะขึ้นอยูกับความแตกตางระหวาง บุคคล 2) เปนการบูรณาการระหวางพัฒนาการทางความรูและพัฒนาการ ทางจิตใจ นั่นคือใหความสําคัญแกจิตนิสัย คือ เจตคติ คานิยม ความสนใจ และสุนทรียภาพแกผูเรียนในการแสวงหาความรู 3) เปนการบูรณาการระหวางความรูและการกระทําหรือการปฏิบัติ 4) เปนการบูรณาการระหวางสิ่งที่เรียนในโรงเรียนกับสิ่งที่เปนอยู ในชีวิตประจําวันของผูเรียน คือ การตระหนักถึงความสําคัญแหงคุณภาพ ชีวิต 5) เปนการบูรณาการระหวางวิชาตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนเกิดความ รู เจตคติและการกระทําที่เหมาะสมกับความตองการ และความสนใจของ ผูเรียนอยางแทจริง 1.1.3 กิจกรรมที่นํามาใชในการสอนแบบบูรณาการ การจัดกิจกรรมการบูรณาการดวยงานประดิษฐจะบรรลุตาม วัตถุประสงค ถาผูสอนนําเทคนิคและวิธีสอนหลาย ๆ แบบมาใชใหเหมาะ สมกับลักษณะเนื้อหาของกิจกรรม วัย และความสามารถของผูเรียน เพื่อ ชวยใหผูเรียนไดคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน และนําความรูไปใชในชีวิต ประจําวันได เทคนิควิธีสอน โดยทั่วไปจําแนกได 2 หลักการใหญ ๆ จรัสศรี พัวจินดาเนตร (2560) คือ ก) การสอนแบบครูเปนศูนยกลาง และ ข) การ สอนแบบยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง
  • 7. 7บทที่ 1 การจัดกิจกรรมบูรณาการดวยงานประดิษฐ ก. การสอนแบบครูเปนศูนยกลาง การสอนแบบครูเปนศูนยกลาง จําแนกออกไดหลายวิธี ดังนี้ 1) การสอนแบบสาธิต (Demonstration Method) ครูผู สอนจะตองฝกทดลองกอนการสอน จําเปนตองวางแผนการสอนไวลวงหนา กอนที่นักเรียนจะลงมือปฏิบัติ ครูผูสอนจะสาธิตการปฏิบัติงานเปนขั้นตอน จนเสร็จ ใหนักเรียนเขาใจกอนแลวจึงใหลงมือทํา ครูเปนผูควบคุมแนะนํา เปนรายกลุม หรือรายบุคคลจนเสร็จสิ้นการเรียนการสอน การสาธิตชวย ใหผูเรียนไดประสบการณตรง เรียนรูอยางเปนรูปธรรม 2) การสอนแบบกําหนดงาน (Assignment Method) คือ การสอนที่ครูกําหนดหัวเรื่อง หรือกําหนดชิ้นงานให นักเรียนจะกําหนด กระบวนการการทํางานดวยตนเองจนสามารถทํางานไดสําเร็จ วิธีสอนแบบ นี้จะชวยเสริมใหนักเรียนมีความคิดเปนของตนเอง รูจักสรางสรรค และริเริ่ม งานใหม ๆ ดวยตนเอง สิ่งที่ครูตองระวังใหมากในวิธีสอนแบบนี้ ก็คือถาให เด็กทําอะไรตามใจตนเองบอย ๆ นักเรียนจะมีนิสัยทําตามใจตัวเอง ขาด ความละเอียดประณีต ไมรูวาจุดที่ดีอยูตรงไหน ขอที่ดีเปนอยางไร และจะ เพาะนิสัยความไมถือตอกฎเกณฑกลายเปนเด็กที่ไมมีระเบียบไปในที่สุด ดังนั้น ในการสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิธีการ สอนแบบสาธิตกับแบบกําหนดงานควรจะสอนควบคูกันไปเพราะจะชวย เสริมในขอบกพรองของแตละวิธีใหสมบูรณขึ้น 3) การสอนแบบบรรยาย (Lecture Method) เปนวิธีการ สอนที่อาศัยความสามารถของผูสอนในการถายทอดเนื้อหาสาระใหนาสนใจ เปนกระบวนการสอนที่ใชในการชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงค ที่กําหนดให โดยการพูด การบอกเลา อธิบายสิ่งที่ตองการสอนแกนักเรียน การสอนแบบนี้ ครูเปนผูใหหรือเรียกวาสอนทางตรง (Direct Method)
  • 8. 8 กิจกรรมบูรณาการงานประดิษฐ สูความคิดสรางสรรค 4) การสอนโดยใชคําถาม (Questioning) เปนการสอนที่ นําการตั้งคําถามที่ชวยใหผูเรียนเกิดการคิดคนหาคําตอบ หรือทบทวน ประสบการณเรียนรูเดิม เพื่อเชื่อมโยงไปสูความรูใหม ลักษณะของคําถาม เปนคําถามที่นําไปสูความรูความเขาใจ นําไปสูการออกแบบ การทดลอง ปฏิบัติ นําไปสูการวางแผน นําไปสูการอภิปราย และนําไปสูการสังเกต ข. การสอนแบบยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง สวนหนึ่งของสาระสําคัญในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 คือ “การจัดการเรียนการสอนตองใหความสําคัญกับผูเรียน พัฒนาผูเรียนทุกคนตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ” ดังนั้น การสอน แบบยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง มีเทคนิคการสอนอยูหลายวิธี ดังนี้ 1) วิธีสอนแบบโครงการ (Project Method) เปนการสอนให นักเรียนมีความคิดริเริ่มสรางสรรค รูจักออกแบบ หรือฝกความชํานาญเพิ่ม เติมขึ้นอีก ครูเปนเพียงผูชวยเหลือเทานั้น ซิลคิเบยและคณะ (Zhylkybay, et. al., 2014) ยังไดระบุวิธีสอนแบบโครงการนี้วาใหผลคุณภาพการสอนที่ ดี ทําใหนักเรียนมีการทํางานที่เปนระบบและมีการมุงเนนในเนื้อหา สามารถ ประเมินความรูความสามารถ และความคิดริเริ่มสรางสรรคของนักเรียน ไดดี 2) วิธีสอนแบบทดลอง (Experimental Method) เปนการ สอนแบบทดลอง ทําใหนักเรียนไดพบกับความจริง มีโอกาสไดทําการทดลอง เปนรายกลุม หรือรายบุคคลดวยตนเอง การคนควาพิสูจนหลักฐานการ ทดลองและสรุปขอเท็จจริงดวยการลงมือปฏิบัติ นักเรียนไดรวมกันคิดรวม กันทํา เมื่อสําเร็จแลวนักเรียนจะเขาใจ เกิดความภาคภูมิใจ สรุปผลไดถูก ตองและจดจําไดแมนยํา
  • 9. 9บทที่ 1 การจัดกิจกรรมบูรณาการดวยงานประดิษฐ 3) การเรียนรูดวยการแกปญหา (Problem Solving Method) เปนวิธีการของครูผูสอนจะสงเสริมนักเรียนไดรวมกันคิดหาทางแกปญหาและ รูคุณคาของการแกปญหาไดดวยตนเองและคณะ ซึ่งปญหาในกลุมสาระการ งานอาชีพและเทคโนโลยี เชน ปญหาการคัดเลือกวัสดุราคาถูกมาทดแทน วัสดุที่มีราคาแพงในการฝกปฏิบัติงาน เปนตน 4) วิธีสอนดวยการใชแบบพิมพ (Instruction Sheet) การ สอนดวยแบบพิมพที่มุงใหนักเรียนนักศึกษาเรียนรูจากแบบพิมพ หรือเนื้อหา ที่ผูเรียนควรจะไดศึกษาและเรียนรูเนื้อหาสาระทางวิชาการที่ครูจะสอนใน ภาคความรูและภาคปฏิบัติ โดยจะจัดพิมพหรือกําหนดไวอยางเรียบรอยมี คําแนะนําเปนขั้นตอน แบบพิมพที่เปนความรูเกี่ยวกับภาคปฏิบัติจะมีแบบ พิมพประกอบคําอธิบายวิธีทําเปนขั้นตอน เชน ใบงาน และใบแนะนําความ รู ซึ่งมีใชกันมากในกลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี เปนตน 5) การเรียนในหองปฏิบัติการ (Laboratory Method) คือ การเรียนในหองปฏิบัติการเปนการเปดโอกาสใหนักเรียนไดเรียนดวยการ กระทํา หรือปฏิบัติจริงเพื่อสรางประสบการณทักษะในงานนั้นโดยตรง เพื่อใหเกิดการเรียนรูและสามารถแกปญหาชีวิตได จึงนับวาเปนหัวใจของ การสอนกลุมนี้ ครูควรเนนการจัดกิจกรรมการเรียนรูในหองปฏิบัติการให สัมพันธและตอเนื่องจากการสอนทฤษฎี 6) การสอนแบบอภิปราย (Discussion Method) การสอน แบบอภิปราย เปนการสงเสริมใหนักเรียนทุกคนไดมีโอกาสแสดงออก เพื่อ แลกเปลี่ยนแนวคิดซึ่งกันและกัน การแสดงความคิดเห็นจะเปนการแสดงออก ที่จะชวยกันชี้ขาดไดวา สิ่งนั้นผิดหรือถูก หรือควรปรับปรุงแกไข 7) การสอนแบบบูรณาการ (Integration Method) คือ การ สอนที่เชื่อมโยงประสบการณการเรียนรูโดยผสมผสานเนื้อหาตาง ๆ ในสาขา
  • 10. 10 กิจกรรมบูรณาการงานประดิษฐ สูความคิดสรางสรรค เดียวกันหรือตางสาขาก็ได โดยมีวิชาใดวิชาหนึ่งเปนแกนและมีวิชาอื่นที่นํา มาเสริม เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางสมบูรณ สามารถนําไปประยุกตใช ในชีวิตประจําวันไดอยางเหมาะสม กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและ เทคโนโลยี มีงานบาน งานเกษตร งานชาง เปนงานพื้นฐานที่สําคัญ ซึ่งงาน ทั้ง 3 มีความเกี่ยวของสัมพันธกันกับการดําเนินชีวิตประจําวันของมนุษย เชน กิจกรรมตาง ๆ ภายในบาน ทั้งงานบาน งานอาหาร และการตกแตง บานดวยงานประดิษฐ งานชางก็ผูกพันกับงานเกษตร ในการประกอบอาหาร และจัดไมดอกไมประดับเพื่อความสวยงาม จะเห็นไดวาเนื้อหาภายในกลุม สาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีก็สัมพันธกันอยูแลว ดังนั้น การสอนใหเกิดบูรณาการของการเรียนจึงเปนสิ่งสําคัญในการจัดการเรียน รู เพื่อเชื่อมโยงประสบการณการเรียนรูโดยการผสมผสานเนื้อหาวิชา ตาง ๆ ในสาขาเดียวกันหรือตางสาขาก็ไดแลวนํามาหลอหลอมรวมกันให ความรูเหลานั้นเปนองคความรูที่มีความหมายและความสมบูรณมากที่สุด 8) การเรียนแบบรวมมือ (Cooperative Learning) ในภาษา ไทยมีนักการศึกษาถอดความไวหลายคําดวยกัน เชน การทํางานแบบทํางาน รับผิดชอบรวมกัน การเรียนแบบชวยเหลือกัน การเรียนแบบรับผิดชอบรวม กัน การเรียนแบบรวมมือ การเรียนแบบรวมมือกันเรียนรู การเรียนแบบ รวมมือประสานใจ การเรียนแบบสหการ การเรียนแบบรวมมือ การเรียน แบบสหกรณ เปนตน แนวคิดการเรียนแบบรวมมือนี้ นับเปนความพยายาม ของนักการศึกษาทางตะวันตกหลายทาน ที่จะพัฒนาการเรียนแบบกลุมให มีประสิทธิภาพตอการเรียนรูของนักเรียนมากยิ่งขึ้น เชน สลาวิน (Slavin, 1995 และ 2006) ไดพัฒนาเทคนิควิธีการเรียน โดยจัดกลุมผูเรียนเปนกลุม เล็ก ๆ กลุมละ 4 คน ระดับความสามารถตางกัน ผูสอนกําหนดบทเรียนและ การทํางานกลุมไวแลว ผูสอนทําการสอนบทเรียนใหผูเรียนทั้งชั้นแลวใหกลุม