SlideShare a Scribd company logo
(Database System Technology)
สมรรถนะวิชาชีพ
คาอธิบายรายวิชา
ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลดิบ หรือข้อเท็จจริงของบุคคล สถานที่
สิ่งของต่าง ๆ หรือเหตุการณ์ทั่ว ๆ ไป เช่น ชื่อ-นามสกุล วัน
เดือนปี เกิด หรือเงินเดือนของพนักงาน เป็ นต้น อดีตมักนิยม
เก็บข้อมูลในรูปแบบตัวอักษรหรือตัวเลข แต่ปัจจุบันสามารถ
จัดเก็บข้อมูลได้หลากหลายมากยิ่งขึ้น ได้แก่ ข้อมูลเสียงจาก
ไมโครโฟน ข้อมูลเพลงจากอินเทอร์เน็ตหรือแหล่งข้อมูลอื่น ๆ
เช่น ข้อมูลที่เป็ นภาพถ่ายจากกล้องดิจิตัล ภาพวิดีโอจากกล้อง
ถ่ายวิดีโอ เป็ นต้น
1.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หมายถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผล เปรียบเทียบหรือได้เรียงลาดับ
มาแล้ว เช่น กรณีการป้ อนข้อมูลของนักศึกษาจานวนหนึ่ง เข้าสู่
ระบบคอมพิวเตอร์ และเมื่อเขียนคาสั่งให้นับจานวนนักศึกษาทั้งหมดที่
ป้ อนว่ามีจานวนเท่าไร คาตอบที่ได้จากการประมวลผลของคาสั่งนั้น
เรียกว่า สารสนเทศ บางครั้งสารสนเทศที่ได้กลับไปใช้เป็นข้อมูล
นาเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลอื่น ๆ ได้ สารสนเทศที่ได้มักนิยมนาไปใช้
ในการตัดสินใจ การวางแผนกลยุทธ์ในระดับองค์กร
สารสนเทศ
ภาพที่ 1.1 แสดงกราฟแท่งของการเกษียณในแต่ละปี
ตัวอย่างของสารสนเทศ
1. ความมีประสิทธิภาพ
ระบบการจัดการฐานข้อมูล ช่วยให้การจัดการเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพและบรรลุผลมากขึ้น เช่น อธิการบดีต้องการทราบว่าในแต่
ละปีมีอาจารย์หรือบุคลากรเกษียณอายุราชการเป็นจานวนเท่าไร และมี
อาจารย์สาขาใดบ้างที่เกษียณ ในอนาคตมีสาขาใดขาดแคลนหรือไม่
ระบบฐานข้อมูลสามารถให้คาตอบแก่ผู้บริหารได้
1.2 ความสาคัญของระบบการจัดการฐานข้อมูล
2. การสอบถามข้อมูล
ระบบการจัดการฐานข้อมูลให้บริการการเข้าถึงข้อมูลได้เป็นอย่างดี มี
ระบบรักษาความปลอดภัยรวมทั้งการจัดการข้อมูลที่ดี เพราะระบบการ
จัดการฐานข้อมูลมีฟังก์ชันการให้สิทธิ์การเข้าถึงข้อมูลโดย
บุคคลภายนอกไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ถ้าหากไม่ได้รับสิทธิ์จาก
ผู้บริหารระบบ
3. การเข้าถึงข้อมูล
4.ลดข้อมูลที่ขัดแย้ง
อดีตข้อมูลถูกจัดเก็บเป็นเอกสารในรูปของแบบฟอร์มต่างๆ เมื่อนา
ฟอร์มเอกสารมาจัดรูปแบบใหม่เป็นรูปตารางมีจานวนหลาย ๆ แถว
และหลาย ๆ สดมภ์ ทาให้ผู้อ่านสามารถตีความได้ง่ายกว่า เรียก
รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลประเภทนี้ว่า มุมมองเชิงตรรกะ แต่ถ้านา
ข้อมูลเหล่านั้นไปจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์
รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลเหล่านั้นจะเปลี่ยนไป ทาให้บุคคลทั่วไป
เข้าใจข้อมูลเหล่านี้ได้ยากยิ่งขึ้น เรียกมุมมองข้อมูลประเภทนี้ว่า
มุมมองเชิงกายภาพ
1.3 เขตข้อมูล ระเบียนและแฟ้ มข้อมูล
วิทยาลัยอาชีวศึกษาร้อยเอ็ด
รหัสวิชา……...………..ชื่อวิชา……………………………หน่วยกิต
ภาคเรียนที่………ปี การศึกษา………….ชื่อครูผู้สอน………...สัดส่วนคะแนน……./………
รายชื่อนักศึกษาแผนกวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ พช.2/7
ลาดับ รหัสประจาตัว ชื่อ-นามสกุล เวลาเรียน (คาบ)
1 5522010033 นางสาวสร้อยทิพย์ จาลองเพ็ง
2 5522010255 นางสาวอรทัย วินทะไชย
3 5522010256 นางสาวทิพปภา นุดา
4 5522010258 นางสาวศิริพร สุโนภักดิ์
5 5522010259 นางสาวสุดารัตน์ บุตรช่วง
ตารางที่ 1.2 แสดงรายชื่อนักเรียน ระดับ พช.2/7 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัย
อาชีวศึกษาร้อยเอ็ด
บิต หมายถึง หน่วยเก็บข้อมูลที่เล็กที่สุดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เป็น
สัญญาณดิจิตัล ซึ่งประกอบด้วยสัญญาณไฟฟ้ า 2 สถานะ
ได้แก่0 กับ 1 หรือ เปิดกับปิด หรือ จริงกับเท็จ การแทนค่าบิตที่มี
สัญญาณไฟฟ้ า ให้มีค่าเป็น 1 และสัญญาณที่ไม่มีไฟฟ้ า มีค่า
เป็น 0 จานวนค่าเพียง 1 ค่านี้ เรียกว่า 1 บิต
บิต
ไบต์ หมายถึง การนาค่าบิตจานวน 8 บิต มาเรียงต่อกันตาม
มาตรฐานรหัส ASCII จะแทนค่าตัวอักขระได้1ตัวอักษร เช่น
01000001แทนตัวอักษร“A”เป็นต้น แต่ตามมาตรฐาน Unicode จะ
ใช้จานวน 16 บิต
ไบต์
เขตข้อมูล หมายถึง อักขระที่สัมพันธ์กันจานวนตั้งแต่ 1 อักขระ
เป็นต้นไป มารวมกันแล้วเกิดความหมาย แสดงลักษณะอย่างใดอย่าง
หนึ่ง จากตารางที่ 1.1 ข้อมูลในแถวที่ 1 มีลาดับที่ 1 รหัส
ประจาตัว 5522010033 ชื่อ-นามสกุล นางสาวสร้อยทิพย์
จาลองเพ็ง
เขตข้อมูล
ระเบียน หมายถึง กลุ่มของเขตข้อมูล ตั้งแต่ 1 เขตข้อมูลขึ้นไป มี
ความสัมพันธ์ประกอบขึ้นมาจากข้อมูลพื้นฐานต่างประเภทกันรวม
ขึ้นมาเป็น 1 ระเบียน ระเบียน ประกอบด้วยเขตข้อมูล ต่างประเภท
กันอยู่รวมกันเป็นชุด เช่น จากตารางที่ 1.1 ประกอบด้วยเขต
ข้อมูล ลาดับที่ รหัสประจาตัว ชื่อ-นามสกุล และเวลาเรียน (คาบ)
เป็นต้น
ระเบียน
แฟ้ มข้อมูล หมายถึง ตารางสาหรับการจัดเก็บข้อมูลหรือชุดของ
ข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน จัดอยู่รวมกันอย่างมีระเบียบ ในรูปแบบ
แถวและสดมภ์ ในแฟ้ มข้อมูลจากภาพที่ แสดงรายชื่อสมาชิกผู้บริจาค
โลหิต แฟ้ มบุคลากร แฟ้ มผู้ป่วย แฟ้ มยา แฟ้ มหอผู้ป่วย เป็นต้น
แฟ้ มข้อมูล
1.5 ปัญหาของการจัดการข้อมูลในอดีต
อดีต การจัดเก็บข้อมูล
1. ความยุ่งยากจากการประมวลผลกับระบบแฟ้ มข้อมูล
การ
วิธีการจัดแฟ้ มข้อมูล และรายละเอียดของระเบียนที่อยู่ในแฟ้ มเอาไว้ใน
โปรแกรมอย่างครบถ้วน หากกาหนดรายละเอียดผิดไปหรือกาหนดไม่ครบ
ทาให้โปรแกรมทางานผิดพลาดได้
ในระบบแฟ้ มข้อมูลถ้ามีการแก้ไขโครงสร้างข้อมูลใหม่ ย่อมส่งผล
กระทบถึงคาสั่งที่ได้เขียนเอาไว้ก่อนหน้านี้ด้วย เนื่องจากการเรียกใช้
ข้อมูลที่เก็บอยู่ในระบบแฟ้ มข้อมูล ต้องใช้โปรแกรมที่เขียนขึ้นมาเพื่อ
เรียกข้อมูลในแฟ้ มข้อมูลโดยตรง เช่น เมื่อถ้าต้องการเฉพาะรายชื่อ
นักศึกษาโปรแกรมเมอร์ต้องเขียนคาสั่งเพื่ออ่านข้อมูลจากแฟ้ มข้อมูล
นักศึกษาและพิมพ์รายงานที่แสดงเฉพาะข้อมูลที่ตรงตามเงื่อนไขที่
กาหนด กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของแฟ้ มข้อมูล เช่น เขต
ข้อมูลชื่อ-นามสกุล จากเดิมมีเป็นกลุ่มข้อมูล ถ้าแยกเขตข้อมูลใหม่
เป็น คานาหน้า ชื่อ และนามสกุล
2.แฟ้ มข้อมูลไม่มีความเป็ นอิสระ
ทาให้ชุดคาสั่งนั้นทางานผิดพลาด หรือไม่สามารถทางานได้ตามความ
ประสงค์ วิธีแก้ไขคือต้องมีการเปลี่ยนชุดคาสั่งในโปรแกรมให้เป็นไป
ตามโครงสร้างที่เปลี่ยนใหม่ ลักษณะการเกิดเหตุการณ์แบบนี้เรียกว่า
ข้อมูลและโปรแกรมไม่เป็ นอิสระต่อกัน
จุดประสงค์หลักของการออกแบบฐานข้อมูลเพื่อการลดความซ้าซ้อน
สาเหตุที่ต้องลดความซ้าซ้อน เนื่องจากถ้าเก็บข้อมูลซ้าซ้อนกันหลาย
แห่ง เมื่อมีการปรับปรุงข้อมูลแล้วปรับปรุงข้อมูลไม่ครบทาให้ข้อมูล
เกิดความขัดแย้งกันของข้อมูลตามมา และยังเปลืองเนื้อที่การจัดเก็บ
ข้อมูลด้วย เนื่องจากข้อมูลชุดเดียวกันจัดเก็บซ้ากันหลายแห่งนั่นเอง
3. แฟ้ มข้อมูลมีความซ้าซ้อนมาก
4. แฟ้ มข้อมูลมีความถูกต้องของข้อมูลน้อย
เ
โดยนากฎเหล่านั้นมาไว้ที่ฐานข้อมูล ซึ่งถือเป็นหน้าที่ของระบบ
จัดการฐานข้อมูลที่จะจัดการเรื่องความถูกต้องของข้อมูลให้แทน และยังช่วยลด
ค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษาและการแก้ไขโปรแกรมด้วยเนื่องจากระบบจัดการ
ฐานข้อมูลจัดการให้เอง
ระบบการจัดการฐานข้อมูลไม่ยินยอมให้โปรแกรมใดๆ เข้าถึงข้อมูลใน
ระดับกายภาพได้ระบบการจัดการฐานข้อมูลมีการเข้ารหัสและ
ถอดรหัส เพื่อปกปิดข้อมูลแก่ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้อง เช่น มีการเข้ารหัสของ
รหัสผ่าน ซึ่งในส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ในระบบแฟ้ มข้อมูลจะไม่มีการ
เข้ารหัส ทาให้แฟ้ มข้อมูลมีความปลอดภัยน้อยกว่าระบบการจัดการ
ฐานข้อมูล
5.แฟ้ มข้อมูลมีความปลอดภัยน้อย
ระบบแฟ้ มข้อมูลจะไม่มีการควบคุมการใช้ข้อมูลจากศูนย์กลาง
เนื่องจากข้อมูลที่หน่วยงานย่อยสามารถใช้ข้อมูลได้อย่างเสรีโดยไม่มี
ศูนย์กลางในการควบคุม ทาให้ไม่ทราบว่าหน่วยงานใดใช้ข้อมูลในระดับ
ใดบ้าง ใครเป็นผู้นาข้อมูลเข้า ใครมีสิทธิ์แก้ไขข้อมูล และใครมีสิทธิ์
เรียกใช้ข้อมูลได้เพียงอย่างเดียว
6.ไม่มีการควบคุมจากศูนย์กลาง
ภาพที่ 1.3 แสดงโครงสร้างของข้อมูล
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ซึ่งมี 3 ชนิด ดังนี้
1. แบบหนึ่งต่อหนึ่ง ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง เป็น
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งหนึ่งกับสิ่งหนึ่งที่มีเพียงหนึ่งเดียวเท่านั้น เช่น
ผู้อานวยการมีหน้าที่บริหารวิทยาลัยเพียงวิทยาลัยเดียวและในวิทยาลัย
นั้น ๆ จะมีผู้อานวยการบริหารงานในขณะนั้นๆ เพียงคนเดียวเช่นกัน
สามารถเขียนเป็นไดอะแกรมได้ดังนี้
1.6 ชนิดของความสัมพันธ์
ภาพที่ 1.4 แสดงความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
บริหารผู้อานวยการ วิทยาลัย
1 1
ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เป็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งหนึ่งกับสิ่ง
หนึ่งที่มีเพียงหนึ่งกับอีกด้านหนึ่งเป็นกลุ่ม เช่น สมาชิกผู้บริจาคโลหิต
สามารถบริจาคโลหิตได้หลาย ๆ ครั้งและการบริจาคนั้นบริจาคโดย
สมาชิกคนเดียว สามารถเขียนเป็นไดอะแกรมได้ดังนี้
2. แบบหนึ่งต่อกลุ่ม
ภาพที่ 1.5 แสดงความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม
3. แบบกลุ่มต่อกลุ่ม
ภาพที่ 1.6 แสดงความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม
การจาลองข้อมูลในระบบการจัดการฐานข้อมูล มีวัตถุประสงค์เพื่อ
เป็นเครื่องมือสื่อสารระหว่างผู้ใช้ข้อมูลสนเทศกับผู้ออกแบบฐานข้อมูล
และผู้ออกแบบฐานข้อมูลกับโปรแกรมเมอร์ให้เข้าใจตรงกัน การ
จาลองข้อมูลใช้เทคนิคการใช้รูปภาพไดอะแกรม
แทน ความหมาย การจาลองข้อมูลมีหลายชนิด ได้แก่ แบบลาดับชั้น
แบบเครือข่ายและแบบเชิงสัมพันธ์ ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1.7 การจาลองข้อมูล
การจาลองข้อมูลแบบลาดับชั้น มีลักษณะโครงสร้างของข้อมูล
และระเบียนเป็นโหนด มีลักษณะเหมือนกับกิ่งก้านสาขาเช่นเดียวกับ
ต้นไม้ ในแต่ละโหนดจะมีโหนดแม่และมีโหนดลูก ความสัมพันธ์ของ
ข้อมูลแบบลาดับชั้นมีลักษณะเป็นแบบหนึ่งต่อกลุ่ม การเข้าถึงข้อมูล
ในแต่ละเขตข้อมูลจะต้องเริ่มจากบนสุดแล้วจึงท่องไปยังโหนดต่างๆ
ลงสู่ด้านล่าง ตัวอย่างของโครงสร้างลาดับชั้น ได้แก่ ระบบการสารอง
ที่นั่งโดยสารเครื่องบินของสายการบินภายในประเทศ โหนดแม่
ได้แก่ ดอนเมือง ซึ่งเป็นศูนย์กลาง
1. แบบลาดับชั้น
บิน บินไปยัง 4 เมืองหรือโหนดลูกจานวน 4 โหนด ได้แก่ ขอนแก่น
หาดใหญ่ ภูเก็ตและเชียงใหม่ ที่โหนด ภูเก็ต เป็นโหนดหนึ่งที่มีโหนดลูก
อีก 3 โหนด
ได้แก่ DD7514 DD7503 และ DD7515 ในเที่ยวบิน
ที่ DD7514 มีโหนดลูกอีก 3 โหนด ได้แก่ ผู้โดยสาร 3 คนที่
ไปกับเที่ยวบินนี้ ปัญหาของโครงสร้างแบบลาดับชั้น คือ เมื่อมีการลบ
โหนดแม่ โหนดลูกจะถูกลบไปด้วย ในขณะเดียวกันจะไม่สามารถเพิ่ม
ข้อมูลจากโหนดลูกก่อนได้ถ้าหากยังไม่มีโหนดแม่ และโหนดลูกจะไม่
สามารถเชื่อมโยงระหว่างโหนดลูกด้วยกันได้
ภาพที่ 1.7 สายการบินใช้ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้นสาหรับ
การสารองที่นั่งโดยสาร
การจาลองข้อมูลแบบเครือข่าย พัฒนาขึ้นเพื่อแก้ปัญหาของการจาลอง
ข้อมูลแบบลาดับชั้น แต่ยังคงยึดหลักการ ความเป็นลาดับชั้นเหมือนเดิม
แต่ได้ปรับปรุงคุณสมบัติการเชื่อมโยงให้โหนดลูกสามารถติดต่อกับโหนด
แม่ได้หลายๆ โหนด ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ แบบกลุ่มต่อกลุ่ม การเชื่อมโยง
ที่เพิ่มขึ้นมานั้นเราเรียกว่า ตัวชี้ การเข้าถึงแต่ละโหนดสามารถเข้าไปได้
หลายทาง เช่น การบันทึกข้อมูลการศึกษาของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย
โดยที่นักศึกษาแต่ละคนมีอาจารย์สอนได้หลายๆ คน อาจารย์แต่ละคน
สามารถสอนได้หลายวิชา และนักศึกษาสามารถเรียนได้หลาย
วิชา ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายมีความยืดหยุ่นมากกว่าทาให้มี
ประสิทธิภาพสูงกว่าการจาลองข้อมูลแบบลาดับชั้น
2. แบบเครือข่าย
3. แบบเชิงสัมพันธ์
ตารางหลายๆ ตารางที่ประกอบด้วยแถวและคอลัมน์
รีเลชั่น
ระเบียน
1.8 ประเภทของระบบฐานข้อมูล
1.แบ่งตามจานวนของผู้ใช้
1.1 ผู้ใช้คนเดียวเป็นระบบฐานข้อมูลที่ใช้ภายในองค์กรขนาดเล็ก
1.2 ผู้ใช้หลายคน
Workgroup database
Enterprise database
ผู้ใช้เป็ นกลุ่ม
เป็นระบบฐานข้อมูลที่ใช้กับองค์กรขนาดใหญ่ที่มีสาขาหลาย
สาขา ทั้งในประเทศหรือมีสาขาในต่างประเทศ จะใช้ฐานข้อมูลขนาด
ใหญ่ มีระบบสารองการรักษาความปลอดภัยเป็นอย่างดี
องค์การขนาดใหญ่
แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ประเภทผู้ใช้คนเดียว ประเภท
ผู้ใช้เป็นกลุ่มและประเภทองค์การขนาดใหญ่
3. แบ่งตามสถานที่ตั้ง
แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ประเภทศูนย์กลาง และ
ประเภทกระจาย
2. แบ่งโดยใช้ขอบเขตของงาน
เป็นระบบฐานข้อมูลที่นาเอามาเก็บไว้ในตาแหน่งศูนย์กลาง ผู้ใช้ทุก
แผนก ทุกคนจะต้องมาใช้ข้อมูลร่วมกัน ตามสิทธิ์ของผู้ใช้แต่ละกลุ่ม
หรือแต่ละคน
3.2 ประเภทกระจาย เป็นระบบฐานข้อมูลที่เก็บฐานข้อมูล
ไว้ณ ตาแหน่งใด ๆ ของแผนก และแต่ละแผนกใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน
โดยผู้มีสิทธิ์ใช้ตามสิทธิ์ที่ได้กาหนดจากผู้มีอานาจ เช่น ฐานข้อมูลของ
ฝ่ายบุคคลเก็บไว้ที่แผนกทรัพยากรบุคคล ยอมให้ฝ่ายบัญชีนารายชื่อ
ของพนักงานไปใช้ร่วมกับฐานข้อมูลการจ่ายโบนัส
3.1 ประเภทศูนย์กลาง
แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ฐานข้อมูลสาหรับงาน
ประจาวัน ฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจ และเพื่อเป็นคลังข้อมูล
4.1 ฐานข้อมูลสาหรับงานประจาวัน
เป็นระบบฐานข้อมูลที่ใช้ในงานประจาวันของพนักงานระดับ
ปฏิบัติการป้ อนข้อมูลเข้าสู่ระบบ เช่น งานสินค้าคงคลัง งานระบบ
ซื้อมาขายไป สาหรับร้านสะดวกซื้อ หรือระบบงานขายของร้านค้า
ทั่วไป เป็นต้น ฐานข้อมูลประเภทนี้มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
4.แบ่งตามการใช้งาน
ระบบฐานข้อมูลประเภทนี้มีไว้เพื่อใช้ในการสนับสนุนการตัดสินใจของ
ผู้บริหารระดับกลางขึ้นไป ไป ข้อมูลที่นาเข้ามาในระบบได้จากการ
ป้ อนข้อมูลงานประจาวันของฐานข้อมูลสาหรับงานประจาวัน ส่วน
ใหญ่ฐานข้อมูลประเภทนี้นาไปใช้ในงานวางแผนกลยุทธ์ในองค์กร
4.3 ฐานข้อมูลเพื่อเป็ นคลังข้อมูล
ฐานข้อมูลประเภทนี้เกิดจากการนาข้อมูลเข้ามาในระบบทุกๆ วัน ทา
ให้เกิดมีข้อมูลขนาดใหญ่ มีการนาข้อมูลที่มีประโยชน์มาสร้างฟังก์ชัน
หรือสมการต่างๆ เพื่อประมวลผลหาผลลัพธ์ให้เป็นประโยชน์กับ
องค์กร
4.2 ฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ
1.9 หน้าที่ของระบบการจัดการฐานข้อมูล
1.หน้าที่จัดการพจนานุกรมข้อมูล
2.หน้าที่จัดการแหล่งจัดเก็บข้อมูล
3.การเปลี่ยนรูปแบบและการแสดงผลข้อมูล
ระบบจัดการฐานข้อมูลทาหน้าที่รักษาความมั่นคง ความปลอดภัยของ
ข้อมูล การเข้าถึงข้อมูล จะอนุญาตให้เฉพาะผู้มีสิทธิ์เข้าใช้งานเท่านั้น
โดยเฉพาะอย่างยิ่งฐานข้อมูลประเภทผู้ใช้หลายคน นอกจากนี้ยัง
สามารถกาหนดสิทธิ์ให้ผู้ใช้แต่ละคนใช้คาสั่ง เพิ่ม ลบ ปรับปรุงข้อมูล
ได้เป็นรายคนหรือรายกลุ่ม
4. จัดการด้านความปลอดภัยของข้อมูล
5.ควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้
6.สารองข้อมูลและการกู้คืนข้อมูล
เป็นข้อกาหนด โดยจะให้มีข้อมูลที่ซ้าซ้อนกันให้น้อยที่สุด แต่ให้มี
ความถูกต้องตรงกันให้มากที่สุด เพราะในระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
จะมีหลายๆ ตารางที่สัมพันธ์กัน ตารางที่เกี่ยวข้องกันจะขัดแย้งกัน
ไม่ได้
7.จัดการด้านบูรณภาพของข้อมูล
8. จัดสร้างส่วนประสานกับผู้ใช้
ระบบการจัดการฐานข้อมูลสมัยใหม่จะสนับสนุนการทางานแบบ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเขียนคาสั่งด้วยโปรแกรมที่
ทางานบน www เช่น browser ของ Internet
Explorer หรือ Netscape เป็นต้น
9. เป็ นส่วนประสานกับผู้ใช้ในด้านการสื่อสารฐานข้อมูล
1.9 หน้าที่ของระบบการจัดการฐานข้อมูล
1. ภาษาสาหรับการนิยามข้อมูล (Data Definition Language: DDL)
2. ภาษาสาหรับการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language:
DML)
3. ภาษาควบคุม (Control Language)
ภาษาสาหรับการนิยามข้อมูล ประกอบด้วย คาสั่งสาหรับสร้าง
โครงสร้างตารางและกาหนดชนิดของข้อมูล ขนาดของข้อมูลที่จะเก็บ
ภาษาสาหรับการจัดการข้อมูล ประกอบด้วยคาสั่งสาหรับจัดการ
ข้อมูล เช่น เพื่อแทรกข้อมูลเข้าสู่ตาราง เพื่อต้องการเรียกข้อมูลจาก
ตารางมาแสดงผลที่จอภาพ หรือ เพื่อแก้ไข หรือลบข้อมูลที่ไม่ต้องการ
ภาษาควบคุม จะประกอบด้วยคาสั่งสาหรับการอนุญาตให้ผู้ใช้แต่ละ
คนหรือกลุ่มผู้ใช้กลุ่มใด ๆ มีสิทธิในการใช้คาสั่งใด ๆ ได้บ้าง รวมทั้ง
คาสั่งสาหรับสารองข้อมูลไม่ให้เสียหายและคาสั่งในการกู้คืนข้อมูลใน
กรณีที่ข้อมูลได้รับความเสียหายไปแล้ว เป็นต้น
องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูลหลักๆ มีอยู่ด้วยกัน 5 อย่างด้วยกัน
คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุคลากร กระบวนความ และข้อมูล
1. ฮาร์ดแวร์ หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง
ที่สามารถมองเห็นได้อาจจะเป็นเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ เครื่อง
มินิคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ก็ได้รวมทั้งอุปกรณ์
นาเข้าและอุปกรณ์แสดงผลต่าง ๆ ตลอดจนอุปกรณ์สื่อสารข้อมูลซึ่ง
ในระบบฐานข้อมูลประเภทองค์การขนาดใหญ่ที่มีสาขาในต่างประเทศ
จาเป็นต้องใช้
สิ่งที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูล
2. ซอฟต์แวร์
2.1 ระบบปฏิบัติการ
ซอฟต์แวร์ที่เป็นระบบการจัดการฐานข้อมูลจะทาหน้าที่เป็นตัวกลาง
ระหว่างผู้ใช้กับข้อมูลในกรณีที่ผู้ใช้มีความชานาญ หรือถ้าผู้ใช้ที่ไม่
ชานาญจะต้องผ่านโปรแกรมประยุกต์สั่งผ่านระบบการจัดการ
ฐานข้อมูลเพื่อจัดการข้อมูล ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ระบบการจัดการ
ฐานข้อมูล ได้แก่Microsoft Access, Microsoft SQL Server 2005,
Oracle, DB2, MySQL เป็นต้น
2.2 ระบบการจัดการฐานข้อมูล
เป็นโปรแกรมที่เกิดจากการเขียนชุดคาสั่งโดยโปรแกรมเมอร์เพื่อให้
ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลและจัดการข้อมูลตลอดจนพิมพ์รายงานผล
สารสนเทศออกมา ในส่วนของโปรแกรมอัตถประโยชน์มีไว้เพื่อให้
ผู้บริหารฐานข้อมูลใช้ในการจัดการฐานข้อมูลให้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น
2.3 โปรแกรมประยุกต์และโปรแกรมอรรถประโยชน์
3. บุคลากร
3.1 ผู้บริหารระบบ
- เพิ่มรายชื่อผู้มีสิทธิ์เป็นผู้บริหารฐานข้อมูลเข้าสู่ซอฟต์แวร์ระบบการ
จัดการฐานข้อมูลที่ได้ติดตั้งเอาไว้
- ทาหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องลูกข่าย
3.1 ผู้บริหารระบบ
- บริหารฐานข้อมูล
- กาหนดสิทธิ์การเข้าถึงข้อมูลให้ผู้ใช้แต่ละคนหรือเป็นกลุ่มก็ได้
- กาหนดสิทธิ์ให้ผู้ใช้คนใดหรือกลุ่มใดใช้คาสั่งใดได้บ้าง เช่น คาสั่ง
ลบข้อมูล คาสั่งแก้ไขข้อมูลเป็นต้น
- บารุงรักษาฐานข้อมูลให้มีเสถียรภาพ มีประสิทธิภาพสูง เช่น
กรณีที่มีข้อมูลเป็นจานวนมากจะทาให้การเข้าถึงข้อมูลช้า
ผู้บริหารฐานข้อมูลจะต้องปรับแต่งฐานข้อมูลให้ระบบฐานข้อมูล
ทางานได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น
3.2 ผู้บริหารฐานข้อมูล เป็นผู้ทาหน้าที่
เป็นผู้ทาหน้าที่ออกแบบฐานข้อมูลให้ถูกต้องตามหลักการออกแบบ
ฐานข้อมูล ผู้ออกแบบระบบจะต้องคานึงถึง ได้แก่
- การไม่ให้มีข้อมูลซ้าซ้อนกันหรือถ้ามีให้มีได้น้อยที่สุด
- ความสอดคล้องของข้อมูลจะต้องสอดคล้องกัน ข้อมูลไม่ขัดแย้ง
กัน และความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูล ถ้าหากการออกแบบมี
ข้อผิดพลาด ก็จะส่งผลให้สารสนเทศที่ได้ไม่ถูกต้องตามไปด้วย
3.3 ผู้ออกแบบฐานข้อมูล
ทาหน้าที่
- วิเคราะห์และออกแบบระบบให้สอดคล้องกับความต้องการของ
ผู้ใช้ระบบ หรือผู้ว่าจ้าง
- ประสานงานระหว่างผู้ใช้หรือผู้ว่าจ้างกับโปรแกรมเมอร์
- เขียนกระบวนการทางาน ผังงาน หรือไดอะแกรมประเภทต่างๆ
- ออกแบบการแสดงผลจอภาพ ออกแบบรายงาน และสิ่งต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องเพื่อส่งให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู้เขียนชุดคาสั่งต่อไป
3.4 นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ
ทาหน้าที่
- เขียนชุดคาสั่งตามที่ผู้ออกแบบฐานข้อมูลและนักวิเคราะห์ระบบได้
กาหนดขึ้น โดยเลือกโปรแกรมภาษาที่สอดคล้องกับระบบฐานข้อมูลที่
ต้องการ
- ทดสอบการทางานของโปรแกรมที่เขียนไม่ให้มีข้อผิดพลาด ถ้ามี
ข้อผิดพลาดจะต้องแก้ไขให้ถูกต้องก่อนที่จะนาไปใช้จริง
3.5 โปรแกรมเมอร์
ทาหน้าที่
- ใช้ระบบฐานข้อมูล หรือระบบสารสนเทศที่ได้พัฒนา
- ป้ อนข้อมูลเข้าสู่ระบบ
- ปรับปรุง แก้ไข
- สอบถามข้อมูลสารสนเทศที่ต้องการ
- ผู้ใช้ที่มีความชานาญมาก จะสามารถใช้คาสั่งเพื่อประมวลผล
สารสนเทศได้ตามความต้องการ
3.6 ผู้ใช้ระบบสารสนเทศ (end user)
4. กระบวนการ
คาสั่งและกฎที่มีไว้สาหรับการออกแบบระบบฐานข้อมูลให้ได้ตาม
ความต้องการของผู้ใช้หรือผู้ว่าจ้าง
5. ข้อมูล
สิ่งที่จัดเก็บในระบบฐานข้อมูล ประกอบด้วย ข้อเท็จจริง ข้อมูล
ดิบ
ภาพที่ 1.8 ผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเป็นแหล่งเก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ เมื่อนาข้อมูลที่เก็บอยู่
ภายในฐานข้อมูล นามาประมวลผลโดยการนับ รวบรวม จัดกลุ่ม
จาแนก หาค่าเฉลี่ยหรือคิดเป็นร้อยละ แล้วแสดงผลลัพธ์ออกมาเป็น
กราฟจะได้เป็นสารสนเทศ และนาสารสนเทศที่ได้ไปใช้ในการ
ตัดสินใจ
บทสรุป
ระบบฐานข้อมูลที่จัดเก็บในเครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องใช้ซอฟต์แวร์ใน
การจัดการ เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล ซึ่งเมื่อเอาระบบจัดการ
ฐานข้อมูลมาใช้จะทาให้มีประสิทธิภาพการสอบถามข้อมูลได้คาตอบที่
ถูกต้อง ตรงกับความต้องการการ
ปัญหาในการจัดการข้อมูลในอดีต มีหลายปัญหา เช่น ความยุ่งยากใน
การประมวลผลแฟ้ มข้อมูล เนื่องจากต้องใช้คาสั่งของภาษาระดับสูง
จัดการข้อมูลโดยตรงข้อมูลไม่มีความเป็นอิสระ ถ้ามีการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างข้อมูล ต้องแก้ไขชุดคาสั่งด้วยแฟ้ มข้อมูลมีความซ้าซ้อนมาก
แฟ้ มข้อมูลมีความถูกต้องของข้อมูลน้อยแฟ้ มข้อมูลมีความปลอดภัย
น้อย และแฟ้ มข้อมูลขาดการควบคุมจากส่วนกลาง
ฐานข้อมูล แบ่งความสัมพันธ์ออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่ ความสัมพันธ์
แบบหนึ่งต่อหนึ่ง ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม และความสัมพันธ์
แบบกลุ่มต่อกลุ่ม นอกจากนี้ฐานข้อมูลได้มีการจาลองข้อมูลเพื่อให้
เข้าใจได้ง่าย ๆ มีการจาลองออกเป็น 3 แบบด้วยกัน ได้แก่ การ
จาลองแบบลาดับชั้น การจาลองแบบเครือข่าย และการจาลองแบบ
เชิงสัมพันธ์
ประเภทของฐานข้อมูล แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ แบ่งตาม
จานวนผู้ใช้มีแบบใช้เพียงคนเดียวและผู้ใช้หลายคน กับแบ่งตาม
ขอบเขตของงาน และแบ่งตามสถานที่ตั้ง และแบ่งตามการใช้งาน เป็น
ต้น หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล มี 7 อย่าง ได้แก่ หน้าที่ใน
การจัดการพจนานุกรมข้อมูล จัดการแหล่งจัดเก็บข้อมูลการเปลี่ยน
รูปแบบ และการแสดงผลข้อมูล จัดการด้านปลอดภัยของข้อมูล
ควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคน แต่ละกลุ่ม สารองข้อมูล
และการกู้คืนข้อมูลจัดการด้านบูรณภาพของข้อมูล
ภาษาที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล ใช้ภาษาเอสคิวแอล แบ่ง
ออกเป็น 3 ประเภทด้วยกัน ได้แก่ ภาษาสาหรับการนิยามข้อมูล
ภาษาสาหรับการจัดการข้อมูล และภาษาในการควบคุม
ในระบบฐานข้อมูลจะต้องสิ่งที่ต้องเกี่ยวข้องด้วยมีทั้งหมด 5 อย่าง
ด้วยกัน ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุคลากร กระบวนการ และข้อมูล
ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้มีความสาคัญทั้งนั้น ขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดไม่ได้เลย จะ
ทาให้ระบบฐานข้อมูลไม่สามารถทางานได้อย่างสมบูรณ์

More Related Content

What's hot

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
kruthanyaporn
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Kaii Eiei
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
nattarikaii
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1
chaiing
 
ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4
Anisra Roya
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
Hitsuji12
 
ซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสม
ซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสมซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสม
ซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสม
อยู่ไหน เหงา
 
Database
DatabaseDatabase
Database
paween
 

What's hot (18)

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1
 
ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4
 
การจัดการข้อมูลสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลสารสนเทศการจัดการข้อมูลสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสม
ซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสมซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสม
ซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสม
 
Amonrat
AmonratAmonrat
Amonrat
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 

Similar to หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
พัน พัน
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
lovelovejung
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
Luckfon Fonew
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
lovelovejung
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
palmyZommanow
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
สิรินยา ปาโจด
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
สิรินยา ปาโจด
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
sa
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
skiats
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
hattayagif
 

Similar to หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ (20)

ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
01 ข้อมูลและสารสนเทศ
01 ข้อมูลและสารสนเทศ01 ข้อมูลและสารสนเทศ
01 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
Slide Chapter1
 
บทที่่ 1
บทที่่ 1บทที่่ 1
บทที่่ 1
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
 

หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ