SlideShare a Scribd company logo
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
(DecisionSupportSystem)
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
คืออะไร?
Decision Support System หรือ DSS เป็นซอฟแวร์ที่
ช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการ การรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างตัวแบบที่ซับซ้อน ภายใต้
ซอฟต์แวร์เดียวกัน นอกจากนั้น DSS ยังเป็นการประสาน
การทางานระหว่างบุคลากรกับเทคโนโลยีทางด้านซอฟต์แวร์
โดยเป็นการกระทาโต้ตอบกันเพื่อแก้ปัญหาแบบไม่มี
โครงสร้างและอยู่ภายใต้การควบคุมของผู้ใช้ตั้งแต่เริ่มต้นถึง
สิ้นสุดขั้นตอน
การจัดการกับการตัดสินใจ
(Management)
ประกอบด้วย
1.การวางแผน(Planning)
2.การจัดองค์การ(Organizing)
3.การสั่งการ(Leading/Directing)
4.การควบคุม(Controlling)
ระดับการจัดการ
แบ่งออกเป็น3ระดับ
1.การจัดการระดับสูง(Upper levermanagement)
ผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้กาหนดวิสัยทัศน์ นโยบาย
เป้าหมาย วัตถุประสงค์รวมถึงวางแผนกลยุทธ์และแผน
ระยะยาวขององค์การ จึงมีความต้องการสารสนเทศที่มี
ขอบเขตกว้างและสารสนเทศเกี่ยวกับแนวโน้มต่าง ๆ
จากทั้งภายในองค์การและสิ่งแวดล้อมภายนอก
2. การจัดการระดับกลาง (Middle-level Management)
ผู้บริหารระดับกลางมีหน้าที่วางแผนยุทธวิธี (Tactical
Planning) และประสานงานระหว่างผู้บริหารระดับสูงและผู้
บริหารงานระดับต้นหรือหัวหน้างานเพื่อให้การดาเนินงาน
เป็นไปอย่างราบรื่นและสามารถปฏิบัติงานตามนโยบายหรือ
แผนงานที่กาหนดโดยผู้บริหารระดับสูง
3.การจัดการระดับต้น(Lower-levelManagement)
ผู้บริหารงานระดับต้นมีหน้าที่ควบคุม ดูแลการ
ปฏิบัติงานประจาวัน (Operational Control) ซึ่งขั้นตอนการ
ทางานมีรูปแบบที่แน่นอนและทางานใกล้ชิดกับผู้ปฏิบัติงาน
เพื่อให้การทางานเป็นไปตามแผนที่กาหนดโดยผู้บริหาร
ระดับกลาง การจัดการในระดับนี้ต้องอาศัยข้อมูลจากการ
ดาเนินงานที่เกี่ยวข้องอย่างละเอียดนามาวิเคราะห์เพื่อสามารถ
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงานและควบคุมให้
สามารถดาเนินงานตามแผนระยะสั้นที่วางไว้
การตัดสินใจ (Decision Making)
4 ขั้นตอน
1.การใช้ความคิดประกอบเหตุผล
(Intelligence) เป็นขั้นตอนที่รับรู้และตระหนักถึงปัญหา
หรือโอกาสที่เกิดขึ้น ทาการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ
ปัญหา นาข้อมูลมาวิเคราะห์และตรวจสอบเพื่อแยกแยะและ
กาหนดรายละเอียดของปัญหาหรือโอกาส
2.การออกแบบ(Design) เป็นขั้นตอนของการพัฒนา
และวิเคราะห์ทางเลือกในการปฏิบัติที่เป็นไปได้รวมถึงการ
ตรวจสอบและประเมินทางเลือกในการแก้ปัญหาซึ่งอาจใช้
ตัวแบบเพื่อสร้างทางเลือกต่างๆในการแก้ปัญหาหรือ
ออกแบบหนทางแก้ปัญหาที่ดีที่สุด
3.การคัดเลือก(Choice) ผู้ตัดสินใจจะเลือกแนว
ทางเลือกที่เมาะสมกับปัญหาและสถานการณ์มากที่สุดโดย
อาจใช้เครื่องมือมาช่วยวิเคราะห์คานวณค่าใช้จ่ายและ
ผลตอบแทนของแต่ละแนวทางเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าได้
เลือกแนวทางที่ดีที่สุด
4.การนาไปใช้(Implementation) เป็นขั้นตอนที่นาผล
การตัดสินใจไปปฏิบัติและคิดตามผลของการปฏิบัติเพื่อ
ตรวจสอบว่าการดาเนินงานมีประสิทธิภาพหรือมีข้อขัดข้อง
ประการใดจะต้องแก้ไข้หรือปรับปรุงให้สอดคล้องและ
เหมาะสมกับสถานการณ์อย่างไร
ระดับของการตัดสินใจภายในองค์กร
3 ระดับ
1.การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์(StrategicDecision
Making)การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์เป็นการตัดสินใจของ
ผู้บริหารระดับสูงที่ให้ความสนใจในอนาคต
2.การตัดสินใจเชิงยุทธวิธี (TacticalDecision
Making)การตัดสินใจเชิงยุทธวิธีเป็นการตัดสินใจของผู้บริหาร
ระดับกลางซึ่งจะเกี่ยวกับการจัดการเพื่อให้การดาเนินงาน
บรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ตามที่ผู้บริหารระดับสูง
กาหนดไว้การตัดสินในระดับนี้จะเกี่ยวข้องกับปัญหาใน
ลักษณะแบบกึ่งโครงสร้าง
3.การตัดสินใจเชิงปฏิบัติการ(OperationalDecision
Making) การตัดสินใจเชิงปฏิบัติการเป็นการตัดสินใจของ
ผู้บริหารระดับปฏิบัติการหรือหัวหน้างานซึ่งเกี่ยวข้องกับงาน
ประจาหรือการปฏิบัติงานเฉพาะด้านต่างๆที่เกิดขึ้นเป็น
กิจวัตรเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าสามารถปฏิบัติงานเหล่านั้นได้
ตามแผนที่วางไว้อย่างสาเร็จและมีประสิทธิภาพ
ประเภทของการตัดสินใจ
3 ประเภท
1. การตัดสินใจแบบโครงสร้าง ( Structure
Decision) บางครั้งเรียกว่าแบบกาหนดไว้ล่วงหน้า
แล้ว (programmed) เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาที่
เกิดขึ้นเป็นประจา จึงมีมาตรฐานในการตัดสินใจเพื่อ
แก้ปัญหาอยู่แล้ว โดยวิธีการในการแก้ปัญหาที่ดีที่สุดจะถูก
กาหนดไว้อย่างชัดเจน ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
2.การตัดสินใจแบบไม่เป็นโครงสร้าง(Unstructured
Decision)บางครั้งเรียกว่าแบบไม่เคยกาหนดล่วงหน้ามาก่อน
(Nonprogrammed)เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาซึ่งมี
รูปแบบไม่ชัดเจนหรือมีความซับซ้อนจึงไม่มีแนวทางในการ
แก้ปัญหาแน่นอนเป็นปัญหาที่ไม่มีการระบุวิธีแก้ไว้อย่าง
ชัดเจนว่าต้องทาอะไรบ้างการตัดสินใจกับปัญหาลักษณะนี้จะ
ไม่มีเครื่องมืออะไรมาช่วย
3.การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง(Semi-Structure
Decision)เป็นการตัดสินใจแบผสมระหว่างแบบโครงสร้างและ
แบบไม่เป็นโครงสร้างคือบางส่วนสามารถตัดสินใจแบบ
โครงสร้างได้แต่บางส่วนไม่สามารถทาได้โดยปัญหาแบบกึ่ง
โครงสร้างนี้จะใช้วิธีแก้ปัญหาแบบมาตรฐานและการพิจารณา
โดยมนุษย์รวมเข้าไว้ด้วยกัน
ส่วนประกอบของระบบ DSS
ส่วนจัดการข้อมูล (Data Management
Subsystem)
ประกอบด้วยฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูล
ส่วนสอบถามข้อมูล สารบัญข้อมูล ส่วนการดึงข้อมูล และ
ข้อมูลที่ได้รับจากแหล่งต่างๆ ทั้งจากภายในและภายนอก
องค์การ ระบบ DSS
ส่วนจัดการโมเดลหรือส่วนจัดการแบบ(Model
ManagementSubsystem)
1.แบบจาลอง(Model Base)
ระบบจัดการฐานแบบจาลอง (Model Base Management Systerm
: MBMS)
2.ภาษาแบบจาลอง (Model Language)
3.สารบัญแบบจาลอง(Model Directory)
4.ส่วนดาเนินการแบบจาลอง(Model Execution)
5.ฐานแบบจาลอง(ModelBase)จัดเก็บแบบจาลองต่างๆที่มี
ความสามารถในการวิเคราะห์
–สร้างแบบจาลองของระบบสนับสนุนการตัดสินใจได้อย่างง่าย
และรวดเร็ว
–ให้ผู้ตัดสินใจสามารถจัดการหรือใช้แบบจาลองสาหรับการ
ทดลองหรือวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงตัวแปรด้านปัจจัยนาเข้าว่า
จะส่งผลต่อตัวแปรด้านผลผลิตอย่างไร(SensitivityAalysis)
–สามารถจัดเก็บและจัดการแบบจาลองต่างชนิดกัน
–สามารถเข้าถึงและทางานร่วมกับแบบจาลองสาเร็จรูปอื่นได้
–สามารถจัดกลุ่มและแสดงสารบัญของแบบจาลอง
–สามารถติดตามการใช้แบบจาลองและข้อมูล
ตัวอย่างของแบบจาลองมีดังนี้
– แบบจาลองทางสถิติStatistic Model) ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลรูปแบบ
ต่างๆ เช่น การวิเคราะห์ความถดถอย หรือการหาความสัมพันธ์ระหว่าง
ตัวแปรต่างๆ
– แบบจาลองทางการเงิน (Financial Model) ใช้แสดงรายได้รายจ่าย
และกระแสการไหลของเงินสด ฯลฯ เพื่อนามาใช้เป็นข้อมูลในการ
วางแผนทางการเงิน
–แบบจาลองเพื่อหาจุดเหมาะสมที่สุด(Optimization
Model)เป็นการหาค่าเหมาะสมที่สุดของตัวแปรตามเงื่อนไข
ที่กาหนดเช่นการหาผลตอบแทนที่สูงที่สุดโดยคานึงถึง
ค่าใช้จ่ายต่าสุด
–แบบจาลองสถานการณ์(SimulationModel)เป็นตัวแบบ
คณิตศาสตร์ที่ใช้การสร้างชุดของสมการเพื่อแทนสภาพของ
ระบบที่จะทาการศึกษาแล้วทาการทดลองจากตัวแบบเพื่อ
ศึกษาสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับระบบ
ส่วนการจัดการโต้ตอบ(Dialogue
ManagementSubsystem)
ส่วนจัดการโต้ตอบหรืออาจเรียกว่าส่วนจัดการ
ประสานผู้ใช้(User Interface Management) ทาหน้าที่เป็น
ตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับระบบ เพื่อให้การติดต่อสื่อสาร
ระหว่างผู้ใช้กับระบบเป็นไปด้วยความสะดวกและง่ายต่อ
การใช้งาน ผู้ใช้สามารถควบคุมข้อมูล
ประเภทของระบบDSS
1. DSS แบบให้ความสาคัญกับข้อมูล (Data-
Oriented DSS)เป็น DSS ที่ให้ความสาคัญกับเครื่องมือ
ในการจัดการและการวิเคราะห์ข้อมูล การทดสอบทาง
สถิติ ตลอดจนการจัดข้อมูลในลักษณะต่างๆ เพื่อให้ผู้ใช้
ทาความเข้าใจสารสนเทศ และสามารถตัดสินใจอย่างมี
ประสิทธิภาพ
2.DSSแบบให้ความสาคัญกับแบบจาลอง(Model-
BasedDSS)เป็นDSSที่ให้ความสาคัญกับแบบจาลองการ
ประมวลปัญหาโดยเฉพาะแบบจาลองพื้นฐานทาง
คณิตศาสตร์ (MathematicalModel)และแบบจาลองการวิจัยขั้น
ดาเนินงาน(OperationResearchModel)ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถ
วิเคราะห์ปัญหาและปรับตัวแปรที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาเลือก
ทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด
ตัวอย่างการใช้โปรแกรม DSS
แบบจาลองการพยากรณ์อากาศ

More Related Content

What's hot

เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
พจีกานต์ หว่านพืช
 
โครงงานพัดลม
โครงงานพัดลมโครงงานพัดลม
โครงงานพัดลม
mingcloud
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
Green Greenz
 
บทบาทสหวิชาชีพ
บทบาทสหวิชาชีพบทบาทสหวิชาชีพ
บทบาทสหวิชาชีพtrafcord
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
Weerachat Martluplao
 
อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57
อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57
อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57
นางสาวอัมพร แสงมณี
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
Thunyalak Thumphila
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
 
Worldheritages asean
Worldheritages aseanWorldheritages asean
Worldheritages asean
arphakornphetsamrit
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
Ariyaporn Suaekong
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
Drsek Sai
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
Coco Tan
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
Mint NutniCha
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
หรร 'ษๅ
 

What's hot (20)

เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
โครงงานพัดลม
โครงงานพัดลมโครงงานพัดลม
โครงงานพัดลม
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
 
บทบาทสหวิชาชีพ
บทบาทสหวิชาชีพบทบาทสหวิชาชีพ
บทบาทสหวิชาชีพ
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57
อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57
อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
Worldheritages asean
Worldheritages aseanWorldheritages asean
Worldheritages asean
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
 
มารยาทไทย1
มารยาทไทย1มารยาทไทย1
มารยาทไทย1
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 

Similar to ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)

กฤษฏิ์ แก้ววิมล 7-5-6
กฤษฏิ์ แก้ววิมล 7-5-6กฤษฏิ์ แก้ววิมล 7-5-6
กฤษฏิ์ แก้ววิมล 7-5-6
กฤษฏิ์ แก้ววิมล
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Pisit Khamkaew
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
khwankamonn
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Achiraya Chomckam
 
ความหมายและความสำคัญของ Decision support system
ความหมายและความสำคัญของ Decision support systemความหมายและความสำคัญของ Decision support system
ความหมายและความสำคัญของ Decision support system
I'Tay Tanawin
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Tang Pruedsapol
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Krit Krit
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ (12
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ (12ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ (12
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ (12
Supanan Fom
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
james jameson
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ
Supanan Fom
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
nutty_npk
 
เมลิสา
เมลิสาเมลิสา
เมลิสา
sataporn kesornsiri
 
เมลิสา
เมลิสาเมลิสา
เมลิสา
sataporn kesornsiri
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Look-wa Airin
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Look-wa Airin
 
ใบงานสารสนเทศ
ใบงานสารสนเทศใบงานสารสนเทศ
ใบงานสารสนเทศ
Pert Nattanon Krailop
 
ใบงาน วิชา คอมพิวเตอร์
ใบงาน วิชา คอมพิวเตอร์ใบงาน วิชา คอมพิวเตอร์
ใบงาน วิชา คอมพิวเตอร์
Otorito
 

Similar to ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System) (20)

กฤษฏิ์ แก้ววิมล 7-5-6
กฤษฏิ์ แก้ววิมล 7-5-6กฤษฏิ์ แก้ววิมล 7-5-6
กฤษฏิ์ แก้ววิมล 7-5-6
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ความหมายและความสำคัญของ Decision support system
ความหมายและความสำคัญของ Decision support systemความหมายและความสำคัญของ Decision support system
ความหมายและความสำคัญของ Decision support system
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ (12
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ (12ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ (12
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ (12
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
Word 1
Word 1Word 1
Word 1
 
เมลิสา
เมลิสาเมลิสา
เมลิสา
 
เมลิสา
เมลิสาเมลิสา
เมลิสา
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ใบงานสารสนเทศ
ใบงานสารสนเทศใบงานสารสนเทศ
ใบงานสารสนเทศ
 
ใบงาน วิชา คอมพิวเตอร์
ใบงาน วิชา คอมพิวเตอร์ใบงาน วิชา คอมพิวเตอร์
ใบงาน วิชา คอมพิวเตอร์
 
555
555555
555
 

ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)