SlideShare a Scribd company logo
บรรยายโดย
สังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม (ส30214)
พระครูปลัดไกรสอน ธมฺมรํสี
(พระอาจารย์ไกรสอน)
วัดมหาธาตุฯ
การศึกษา
ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต
(ปริญญาโท)
สาขาวิชา บริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
เรื่องพุทธศาสนสุภาษิต
ความหมายของพุทธศาสนสุภาษิต
 - ปฏิรูปการี ธุรวา อุฎฺ าตา วินฺทเต ธนํ
 คนขยันเอาการเอางาน กระทํา เหมาะสม ย่อมหา
ทรัพย์ได้
 คำว่ำ คนที่จะหำทรัพย์มีเงินทองได้ต้องมีพฤติกรรม
คือ
ขยัน เอำกำรเอำงำน กระทำเหมำะสม
คาว่า กระทําเหมาะสมนั้น ตรงกับ
สัมมาอาชีวะ
 คําว่า "สัมมาอาชีวะ หรือ สัมมาชีพ" แปลว่า การเลี้ยงชีวิตในทางที่
ชอบ คือการทํามาหากิน หรือหน้าที่การงาน การทํางานของมนุษย์
เราเพื่อหารายได้มาประทังชีวิตหรือเลี้ยงชีวิตของตนและครอบครัว
นั่นเอง. การเลี้ยงชีวิต ไม่ว่าจะเป็ นอาชีพอะไรก็แล้วแต่ จะเป็ น
พ่อค้า แม่ค้า ชาวไร่ ชาวนา เกษตรกรรม ปศุสัตว์ หรือจะเป็ น
ข้าราชการ นักธุรกิจ อย่างใดอย่างหนึ่งก็แล้วแต่ สรูปการกระทํานั้น
ๆ ออกมาเป็ น 2 ทาง คือ
 1. ทางกาย คือ การงานหรืออาชีพ ที่ต้องใช้กาลังแรงกาย หรือการกระทาทาง
กายเข้าประกอบ
2. ทางวาจา คือ การงานหรืออาชีพ ที่ต้องใช้วาจาเข้าประกอบในการทางาน
 สัมมาอาชีวะ หรือ สัมมาชีพ มี 2 อย่าง เช่นเดียวกัน คือ
1. สัมมาอาชีพที่เป็น ธัมมิกะ เป็นสัมมาอาชีพด้วย ถูกกฏหมาย
บ้านเมืองด้วย (เรียกได้ว่าถูกทั้งทางโลกทางธรรม) คือ อาชีพทั่ว ๆ ที่เป็นกาย
สุจริต 3 วจีสุจริต 4 ฯ
2. สัมมาอาชีวะที่เป็น อธัมมิกะ เป็นสัมมาอาชีวะ แต่ผิดกฏหมาย
บ้านเมือง. (ถูกทางธรรมแต่ผิดในทางโลก) มีด้วยหรือ ? มี เช่น อาชีพ
ขอทาน ขอด้วยจิตที่บริสุทธิ์ เพื่อประทังชีวิต ...
คนขยันเอาการเอางาน ตรงกับหลักทิฏฐธัมมิกัตถะ ข้อที่ว่า
 อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น เช่นขยันหมั่นเพียร เลี้ยงชีพ
ด้วยการหมั่นประกอบการงาน เป็ นผู้ขยันไม่เกียจคร้านในการงานนั้น
ประกอบด้วยปัญญาเครื่องสอดส่อง อันเป็ นอุบายในการงานนั้น ให้สามารถ
ทําได้สําเร็จ
- เพราะฉะนั้น คนขยันต้องปฏิบัติงานต่างจากปกติ คือ
ทำงำนตำมหน้ำที่ให้ได้ผลที่ดี
 ดังนั้น คนขยันจะมีผลต่อตนเอง คือ
กระทำเหมำะสมย่อมมีทรัพย์
แนวปฏิบัติของนักเรียนนอกจากจะปฏิบัติที่โรงเรียนแล้ว ยังควรปฏิบัติตัวให้สมํ่าเสมอ
คือ
- การขยันของนักเรียนนั้น ควรที่จะปฏิบัติให้
สมํ่าเสมอในทุกสถานที่
 - ขยันอ่านหนังสือในเวลาว่างแล้วช่วยงานบ้านของ
ครอบครัว
- วายเมเถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา
เกิดเป็ นคนควรจะยายามจนกว่าจะ ประสบ
ผลสําเร็จ
 หลักธรรม ที่ใช้ควบคู่กับความพยายาม คือ อิทธิบาท 4
คำว่ำ อิทธิบาท แปลว่ำ บำทฐำนแห่งควำมสำเร็จ หมำยถึง สิ่งซึ่งมี
คุณธรรม เครื่องให้ลุถึงควำมสำเร็จตำมที่ตนประสงค์ ผู้หวังควำมสำเร็จใน
สิ่งใด ต้องทำตนให้สมบูรณ์ ด้วยสิ่งที่เรียกว่ำ อิทธิบำท ซึ่งจำแนกไว้เป็น ๔
คือ
 1. ฉันทะ คือ เต็มใจทำ ได้แก่ มีควำมต้องกำรที่จะทำมีใจรักที่จะทำใจใฝ่รักที่จะทำ
สิ่งนั้นอยู่เสมอ
 2. วิริยะ คือ แข็งใจทำ ขยันทำสิ่งนั้นด้วยควำมพยำยำม อดทนไม่ท้อถอย
อะไรจะเกิดก็แข็งใจทำ
 3. จิตตะ คือ ตั้งใจทำ มีใจจดจ่อ ทำสิ่งนั้นด้วยควำมฝักใฝ่ เอำใจใส่เสมอ มีใจ
จดจ่อเป็นสมำธิ(Meditation)
 4. วิมังสา คือ เข้ำใจทำ มีควำมรู้ควำมสำมำรถในสิ่งที่ทำ ทำด้วยควำม
พิจำรณำ หมั่นตรวจสอบ มีกำรวำงแผน วัดผล ตลอดจนหำวิธีแก้ไขปรับปรุง
ความพยายามที่จะทําให้สําเร็จจะต้องปฏิบัติ คือ
-ต้องปฎิบัติอย่ำงมุ่งมั่นจริงจังแต่อยู่ในทำงสำย
กลำง คือไม่หักโหมหรือย่อหย่อน
 การเป็ นคนมีความพยายามเกิดผลดี
คือ
 คนที่มีควำมพยำยำมจะประสพผลสำเร็จ
-เพราะฉะนั้น นักเรียนควรจะมีความพยายาม
ใน
 เรื่อง การเรียน ดังนี้ คือ
กำรพยำยำมศึกษำเล่ำเรียนด้วยตนเอง
และสอบถำมครูอำจำรย์
- สนฺตุฏฺ ปรมํ ธนํ
ความสันโดษเป็ นทรัพย์อย่างยิ่ง
คํากล่าวที่ว่า รำยได้ต่ำ แต่รสนิยมสูง
พฤติกรรมนี้มีลักษณะ ตรงข้ำม กับพุทธศาสน
สุภาษิตข้อที่ว่า
 สนฺตุฏฺ ปรม ธน
ควำมสันโดษเป็นทรัพย์อย่ำงยิ่ง
ความหมายของคาว่า สันโดษ คือ -พอใจ ยินดี
 ยถาลาภสันโดษ มีความหมายว่า -พอใจตำมที่มีที่ได้
 ยถาพลสันโดษ มีความหมายว่า -พอใจตำมกำลังควำมสำมำรถ
 ยถาสารุปปสันโดษ มีความหมายว่ำ -พอใจตำมฐำนะของตน
 ทางรัฐมีนโยบายแรงงานวันละ 300 บาท ผู้ใช้แรงงานพอใจ
ตามนโยบายนี้ จัดเป็ นความสันโดษ ข้อที่ว่า -ยถำลำภ
สันโดษ
 ดังนั้น ความสันโดษ ตรงกับสุภาษิต คําพังเพยที่ว่า
เหตุที่กล่าวว่า ความสันโดษ เป็ นทรัพย์อย่างยิ่งนั้น คือ
-คนสันโดษเป็นคนพอใจในทรัพย์ที่มีที่ได้ของตน
จึงไม่อยำกได้อยำกมีอีก
- อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก
การเป็ นหนี้เป็ นทุกข์ในโลก
 เหตุที่คนมีหนี้นั้น คือ –ยืมเงินมำใช้ในสิ่งที่ไม่จำเป็น ที่
ฟุ้ งเฟ้ อ
บุคคลใดถ้าไม่อยากเป็ นหนี้เงินทองใคร ต้องใช้
หลักทิฏฐธัมมิกัตถะ ข้อที่ว่า สมชีวิตำ
 สมชีวิตา ความถึงพร้อมด้วยการเลี้ยงชีพให้พอเหมาะ
พอดีกับกําลังทรัพย์ที่หามาได้ โดยใช้จ่ายให้เหมาะสมไม่
ตระหนี่หรือขี้เหนียวจนเกินไปหรือใช้จ่ายสุรุ่ยสุร่าย หรือ
ฟุ่มเฟือยเกินไป
พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ชาวพุทธ
 รู้จักประมาณในการใช้จ่าย รู้จักใช้ทรัพย์ที่หามาได้ให้เกิด
คุณประโยชน์ เรียกว่า ประโยชน์ที่เกิดจากโภคทรัพย์
5 ประกอบด้วย
 1. ใช้เลี้ยงตัวเอง บุตร ภรรยา บิดา มารดา บุคลลในครอบครัวให้เป็ น
สุข
2. บํารุงมิตรสหาย เลี้ยงเพื่อนฝูงให้เป็ นสุข
3. บําบัดอันตราย เก็บทรัพย์ไว้ใช้ในยามเจ็บป่ วย
4. บริจาคให้สมณะ ทําบุญให้ผู้ประพฤติธรรม ถวายทานแด่พระ
ศาสนา
5. ทําพลี 5 ประการ
 5.1 ญาติพลี การสงเคราะห์ญาติ
5.2 อติถิพลี การตอนรับแขก
5.3 ปุพเปตพลี การทําบุญอุทิศให้ผู้ตาย
5.4 ราชพลี การถวายเป็ นของหลวง เช่นการเสียภาษี
อากร
5.5 เทวตาพลี การทําบุญอุทิศให้เทวดา
เหตุที่กล่าวว่า ความเป็ นหนี้เป็ นทุกข์ในโลก คือ
 -ขำดอิสระในกำรใช้เงินเพรำะต้องนำเงินไปใช้หนี้
 -เกิดควำมวิตกกังวล กลัวถูกยึดทรัพย์และถูกฟ้ อง
เรียกร้องเงินคืน
พุทธศาสนสุภาษิตว่า อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก
มีความหมายว่า
กำรเป็นหนี้เป็นทุกข์ในโลก
การบรรยายพุทธศาสนสุภาษิต
รูปแบบการบรรยายแบบการเขียนกระทู้ธรรม
รูปแบบการบรรยาย ดังนี้
 - ปฏิรูปการี ธุรวา อุฎฺ าตา วินฺทเต ธนํ
 คนขยันเอาการเอางาน กระทํา เหมาะสม ย่อมหาทรัพย์ได้
.....กราบนมัสการพระอาจารย์ที่เคารพ สวัสดี
เพื่อนๆๆ ทุกคน ดิฉัน จักได้มาบรรยาย
ขยายหัวข้อธรรมตามพุทธศาสนภาษิตที่ลิขิต
ไว้ ณ เบื้องต้น พอเป็ นแนวทางในการศึกษา
และปฏิบัติแก่พุทธศาสนิกชนสืบต่อไป

รูปแบบการบรรยาย
อธิบายสุภาษิตตั้ง (หรือหัวข้อธรรมที่ตั้ง)
............................(๑๐ - ๑๕ บรรทัด )...........
..... สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่มาใน...... (ที่มาของศา
สนสุภาษิตเชื่อม ) ว่า
( พุทธศาสนสุภาษิตเชื่อม ครั้งที่ ๑ )
คําแปล
รูปแบบการบรรยาย
 อธิบายสุภาษิตเชื่อม....................................( ๗- ๑๐
บรรทัด)...............
............สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่มาใน...... (ที่มา
ของศาสนสุภาษิตเชื่อม ) ว่า
( พุทธศาสนสุภาษิตเชื่อม ครั้งที่ ๒ )
คําแปล
รูปแบบการบรรยาย
 อธิบายสุภาษิตเชื่อม.....................................................( ๗- ๑๐
บรรทัด)...............
.......สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่มาใน...... (ที่มาของศาสนสุภาษิต
เชื่อม ) ว่า
( พุทธศาสนสุภาษิตเชื่อม ครั้งที่ ๓ )
คําแปล
รูปแบบการบรรยาย
 สรุป.......( ๕ - ๘ บรรทัด
).....................................................................................
......................................สมดังสุภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้นว่า
พุทธศาสนสุภาษิตตั้ง
คําแปล
ดังได้อธิบายมาด้วยประการ ฉะนี้
(กําหนดให้เขียน ๔ หน้ากระดาษเว้นบรรทัดขึ้นไป)
พุทธสาวก -พุทธสาวิกา
ประวัติ พระอนุรุทธะ
 สถานะเดิม
พระอนุรุทธะเถระ พระนำมเดิม เจ้าชายอนุรุทธะ เป็นพระนำมที่พระญำติ
ทั้งหลายขนานให้
พระบิดา พระนามว่า อมิโตทนะ เป็ นพระอนุชาของพระเจ้าสุทโธทนะ
ประสูติที่พระราชวังนครกบิลพัสดุ์ เป็ นวรรณะกษัตริย์
ชีวิตก่อนบวช
เจ้าชายอนุรุทธะ มีพี่น้องร่วมพระมารดาเดียวกัน ๒ พระองค์ คือ ๑. พระ
เชษฐา พระนามว่า เจ้าชายมหานามะ ๒. พระกนิษฐภคินี พระนามว่า โรหิณี
เจ้าชายอนุรุทธะ เป็ นผู้มีบุญญาธิการสูง เป็ นสุขุมาลชาติอย่างยิ่ง และ
เป็ นผู้มีปัญญามาก ไม่รู้จักแม้ แต่คําว่า ไม่มี
๓. มูลเหตุแห่งการบวชในพระพุทธศาสนา
 สมัยนั้น เจ้าชายมหานามะ เสด็จเข้าไปหาเจ้าชายอนุรุทธะ ตรัสว่า พ่ออนุรุทธะ
บัดนี้ ศากยกุมารผู้มีชื่อเสียงพากันบวชตามพระผู้มีพระภาคเจ้า แต่ตระกูลของ
เรายังไม่มีใครบวชเลย เธอหรือพี่จะต้องบวช เจ้ามหานามะจึงรับอาสาบวช โดย
ได้สั่งสอนการทํานาข้าวโดยละเอียยดตั้งแต่ไถจนถึงเก็บเกี่ยว เวียนไปทุกฤดูกาล
ทุกปี ๆ ไป แก่ท่านอนุรุทธะ ท่านอนุรุทธะฟังแล้วคิดว่า
 การงานไม่มีที่สิ้นสุด และต้องการหลีกหนีจากการครอง
เรือนจึงบอกว่าตนจะอาสาบวชเองในที่สุดเจ้าชายอนุรุทธะตัดสินพระทัยบวช
เอง จึงพร้อมด้วยกษัตริย์อีก ๕ พระองค์คือ ภัททิยะ อานันทะ ภคุ กิมพิละ และ
เทวทัต พร้อมกับอุบาลีภูษามาลา ได้ไปเฝ้ าพระศาสดาที่อนุปิยอัมพวัน ทูลขอ
บรรพชาอุปสมบท โดยให้อุบาลีบวชก่อน เพื่อกําจัดขัตติยมานะ
การบรรลุธรรม
 พระอนุรุทธเถระนี้ ครั้นบวชแล้วได้เรียนกรรมฐานในสํานักพระธรรมเสนาบดี
แล้วได้ไปประจําอยู่ที่ปาจีนวังสทายวัน ในเจติยรัฐ บําเพ็ญสมณธรรม ตรึกมหาปุริส
วิตกได้ ๗ ข้อ คือ
๑. ธรรมนี้เป็ นธรรมของผู้มีความปรารถนาน้อย ไม่ใช่ของผู้มีความมักมาก
๒. ธรรมนี้เป็ นธรรมของผู้สันโดษยินดีด้วยของที่มีอยู่ ไม่ใช่ของผู้ไม่สันโดษ
๓. ธรรมนี้เป็ นธรรมของผู้สงัดแล้ว ไม่ใช่ของผู้ยินดีในหมู่คณะ
๔. ธรรมนี้เป็ นธรรมของผู้ปรารถนาความเพียร ไม่ใช่ของผู้เกียจคร้าน
๕. ธรรมนี้เป็ นธรรมของผู้มีสติมั่นคง ไม่ใช่ของคนหลง
๖. ธรรมนี้เป็ นธรรมของผู้มีใจมั่นคง ไม่ใช่ของผู้มีใจไม่มั่นคง
๗. ธรรมนี้เป็ นธรรมของผู้มีปัญญา ไม่ใช่ของผู้ทรามปัญญา
งานประกาศพระศาสนา
 พระอนุรุทธเถระ มีบทบาทสําคัญอย่างมากในการช่วยพระศาสดาประกาศ
พระพุทธศาสนา เพราะท่านชํานาญในทิพพจักษุญาณ จึงเป็ นพระที่เทวดาและมนุษย์
เคารพนับถือ ท่านมีอายุอยู่มานาน หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพาน ได้เป็ นอาจารย์ของ
หมู่คณะ มีสัทธิวิหาริก และอันเตวาสิกมาก แม้ในการทําสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่
๒ ก็ยังมีศิษย์ที่สืบเชื้อสายจากท่านเข้าร่วมด้วยที่ปรากฎชื่อ คือ พระอาสภคามีและพระ
สุมนะ
เอตทัคคะ
พระอนุรุทธเถระได้บรรลุพระอรหัตพร้อมวิชา ๓ คือ บุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ทิพพจักขุญาณ และอาสวักขยญาณ ตามปกตินอกจากเวลาฉันภัตตาหารเท่านั้น
นอกนั้นท่านจะพิจารณา ตรวจดูสัตวโลกด้วยทิพพจักขุญาณ (เปรียบกับคนธรรมดาก็
เหมือนกับ ผู้มีใจเอื้ออาทรคอยเอาใจใส่ดูแล ทุกข์สุขของผู้อื่นตลอดเวลา) เพราะฉะนั้น
พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงยกย่องท่านว่าเป็ นผู้เลิศกว่า ภิกษุทั้งหลาย ผู้ได้ทิพพจักขุ
ญาณ
บุญญาธิการ
พระอนุรุทธเถระนี้ ได้สร้างสมบุญกุศลที่จะอํานวยผลให้เกิดทิพยจักษุญาณใน
พุทธกาลเป็ นอันมาก คือได้ทําการบูชาด้วยประทีปอันโอฬารที่พระสถูปเจดีย์ ด้วยผล
บุญอันนี้จึงทําให้ได้ บรรลุทิพยจักษุญาณ สมกับปณิธานที่ตั้งไว้
วัตรปฏิบัติของท่านอนุรุทธะที่ควรนํามาเป็ นแบบอย่างคือ
เป็ นผู้มีปัญญาเฉลียวฉลาด
ประวัติพระองคุลิมาล
 ท่านเกิดในวรรณะพรามหณ์ เมืองสาวัตถี บิดาชื่อภัคควะ เป็น
ปุโรหิตของพระเจ้าปเสนทิโกศล มารดาชื่อ มันตานี มีชื่อเดิมว่า อหิงสกะ มี
ความเป็นอยู่สุขสบาย เมื่อเจริญวัยได้ไปศึกษาศิลปวิทยาในสํานักของ
อาจารย์ทิศาปาโมกข์เมืองตักกสิลา ท่านตั้งใจศึกษาอย่างเต็มที่
ขณะเดียวกันก็รับใช้อาจารย์และภรรยาด้วยความเคารพจึงทําให้ท่านเป็นที่
โปรดปรานมาก จนศิษย์คนอื่น ๆ พากันอิจฉาริษยาและใส่ร้ายท่านต่าง ๆ
นานา โดยที่สุดกล่าวหาว่าท่านเป็นชู้กับภรรยาของอาจารย์
ในที่สุดอาจารย์ก็หลงเชื่อ
 อาจารย์ จึงวางแผนฆ่าองคุลิมาล โดยบอกว่าศิษย์ที่ศึกษาจบศิลปวิทยานั้นต้อง
ให้ครุทักษิณา (ของบูชาครู) แก่อาจารย์ กล่าวคือ นิ้วมือขวาของคน 1,000 นิ้ว
ด้วยเชื่อว่าท่านจะต้องถูกฆ่าตายเสียก่อน อหิงสกะกุมารจึงออกล่านิ้วเมือคน และ
นํามาร้อยเป็ นพวงมาลัยคล้องไหล่ เป็ นเหตุให้ได้ชื่อว่า “องคุลิมาล” (ผู้มีนิ้วเป็ น
พวงมาลัย) ต่อมาความทราบถึงพระเจ้าปเสนทิโกศล พระองค์จึงรับสั่งให้จัดกําลัง
ทหารออกตามล่าท่าน
 เหตุที่องคุลิมาลเดินทางผิดประพฤติเป็ นโจร เพราะ ต้องการเรียน
มนต์
 วันหนึ่ง โจรองคุลิมาลนับนิ้วมือยังขาดอีกนิ้วเดียวก็จะครบ 1,000 นิ้ว
 ฝ่ายนางมันตานีซึ่งเป็นมารดาของท่าน ทราบว่ากองทัพของพระเจ้าปเสนทิ
โกศลกําลังมา จึงเดินมุ่งหน้าไปทางป่าที่โจรองคุลิมาลซ่อนอยู่ และวันนั้น
พระพุทธเจ้าก็ได้ทรงตรวจดูอุปนิสัยของเวไนยสัตว์ ทรงเห็นอุปนิสัยของโจรองคุ
ลิมาลจะสามารถบรรลุมรรคผลได้ จึงรีบเสด็จไปโปรดทันเวลาที่นางมันตานีมาถึง
พระพุทธเจ้าโปรดแสดงธรรม
 เมื่อโจรองคุลิมาลเห็นพระพุทธเจ้าก็วิ่งไล่ตามพระพุทธเจ้าเพื่อ
ประสงค์จะฆ่าและตัดเอานิ้วมือ พระพุทธเจ้าทรงแสดงปาฏิหาริย์ให้
โจรองคุลิมาลวิ่งตามไม่ทันจนรู้สึกเหนื่อยล้า แล้วหยุดยืนอยู่กับที่ร้อง
ขึ้นว่า “หยุดก่อน สมณะ หยุดก่อน” พระพุทธเจ้าตรัสตอบว่า “เรา
หยุดแล้ว แต่ท่านยังไม่หยุด” หมายถึง หยุดฆ่าสัตว์แล้ว แต่องคุ
ลิมาลยังไม่หยุดพอพระพุทธเจ้าอธิบายให้ทราบว่า เราหยุดฆ่าสัตว์
แล้ว แต่ท่านยังไม่หยุด จึงพิจารณาตามและได้บรรลุโสดาปัตติผล
ยอมทิ้งดาบก้มลงกราบพระบาทและทูลขอบวช พระพุทธเจ้าทรงบวช
ให้ตามที่ทูลขอ ครั้นบวชแล้วเจริญวิปัสสนาจนได้บรรลุอรหัตผลใน
เวลาต่อมา
ภายหลังบรรลุอรหัตผลแล้ว
 ขณะเสวยวิมุตติสุขอยู่นั้นเกิดปี ติโสมนัส ท่านได้แสดงความรู้สึกว่า
“ผู้ใดประมาทมาก่อนแล้วเลิกประมาทเสียได้ภายหลัง ผู้นั้นย่อมเป็ น
เหมือนพระจันทร์ที่โผล่พ้นเมฆหมอก คือทําโลกนี้ให้สว่างไสวได้”
 ต่อมาท่านออกบิณฑบาต แต่กลับถูกขว้างปาด้วยก้อนดินและท่อนไม้
จนบาตรแตก ตัวท่านก็บาดเจ็บ จึงจําต้องกลับมาเฝ้ าพระพุทธเจ้าที่
วัดเชตวัน พระพุทธเจ้าทรงสอนท่านให้อดทน และทรงสอนว่าท่าน
กําลังได้รับผลกรรมที่ทําไว้ ท่านจึงแผ่เมตตาจิตไปในสรรพสัตว์ ท่าน
ได้รับสรรเสริญว่าเป็ นพระเถระประเภท “ต้นคดปลำยตรง”
คือ เบื้องต้นประมาทพลาดพลั้ง แต่ต่อมากลับเนื้อกลับตัวเป็ นพระ
สาวกที่ดี เป็ นตัวอย่างของอนุชนรุ่นหลังเป็ นอย่างดี
คุณธรรมที่ควรถือเป็ นแบบอย่าง
 1.เป็ นผู้มีความขยันหมั่นเพียร พระองคุลิมาลตอนเป็ นอหิงสกะกุมาร ได้เข้ารับ
การศึกษาเล่าเรียนจากอาจารย์ทิศาปาโมกข์ ท่านมีความขยันหมั่นเพียรในการศึกษา
เป็ นอย่างยิ่ง ตลอดถึงคอยรับใช้ใกล้ชิดอาจารย์และภรรยา จนเป็ นที่รักและโปรด
ปรานของอาจารย์
 2. เป็ นผู้ไม่ประมาท หลังจากที่พระองคุลิมาลได้เข้าเฝ้ าและฟังพระธรรมเทศนาของ
พระพุทธเจ้าแล้ว ท่านกลับได้สติ จึงทูลขอบวชซึ่งพระพุทธเจ้าก็ทรงอนุญาตบวชให้
นับว่าท่านเป็ นคนประเภทต้นคดปลายตรง สมควรยึดถือเป็ นเยี่ยงอย่าง
 3. เป็ นผู้มีความอดทน หลังจากท่านบวชแล้ว ประชาชนมักหวาดกลัวท่าน บางครั้ง
ถึงกับถูกเขาขว้างด้วยก้อนหิน ได้รับทุกขเวทนาอย่างแสนสาหัส แต่ท่านก็มีความ
อดทน บําเพ็ญสมณธรรมและได้บรรลุอรหันต์ในที่สุด

จิตตคหบดี
 จิตตคหบดี เป็ นมหาอุบาสกคนสําคัญในสมัย พุทธกาล ถือกําเนิดในตระกูล
ของเศรษฐีที่ นครมัจฉิกาสณฑ์ แคว้นมคธ โดยท่านมีชื่อเมื่อแรกเกิดว่า จิตต
กุมาร ที่แปลว่า กุมารผู้ยังให้เกิดความวิจิตร เพราะวันที่ท่านเกิดได้มีเหตุ
อัศจรรย์คือมีฝนดอกไม้ทิพย์ตกลงมาทั่วนคร
 จิตตคฤหบดีได้ฟังธรรมจากพระมหานามะ
 สมัยหนึ่ง พระเถระชื่อว่ามหานามะ ซี่งเป็ นหนึ่งในจํานวนพระเถระปัญจวัคคีย์
ได้จาริกไปถึงนครมัจฉิกาสัณฑะ จิตตคฤหบดีเมื่อได้พบท่านก็เลื่อมใสใน
อิริยาบถของท่าน จึงรับบาตรแล้วนิมนต์มายังเรือน บูชาด้วยบิณฑบาต เมื่อ
ท่านฉันเสร็จแล้ว พระ เถระเห็นอุปนิสัยของจิตตคฤหบดีนั้น เมื่อแสดงธรรมจึง
แสดงเฉพาะสฬายตนวิภังค์เท่านั้น ไม่ช้านัก จิตตคฤหบดีก็บรรลุโสดาปัตติผล
เพราะตนมีการพิจารณาเห็นสังขารอันทุกข์บีบคั้นแล้วในภพก่อน
ถวายสวนสร้างวัด
 จากนั้นคฤหบดีก็นําไปยังสวนของตน ที่ชื่อ อัมพำฏกวัน
ปรำรถนำจะอุทิศสวนแห่งนั้นให้เป็นอำรำม จึงได้กล่ำวถวำย
สวนอัมพำฏกวัน ให้เป็น วัดอัมพำฏกำรำม เมื่อเวลาที่จิตต
คฤหบดีได้หลั่งนํ้าถวายพระอารามนั้น มหาปฐพีก็ได้หวั่นไหวเพื่อจะ
บอกเหตุว่า “พระพุทธศาสนาตั้งมั่นแล้ว”
 จิตตคฤหบดีให้สร้างวิหารใหญ่ และที่อยู่ในอุทยานถวายพระเถระ
นิมนต์ให้ท่านอยู่รับบิณฑบาตในเรือนตนเป็ นนิตย์ พระอารามนั้นก็ได้
เป็ นอารามที่ท่านเศรษฐีได้สร้างขึ้นเพื่อพวกภิกษุผู้มาจากทิศทั้งปวง
แล้ว โดยมีพระสุธรรมเถระได้
เอตัคทัคคะ ต่อมาจิตตคหบดีได้ฟังพระธรรมเทศนาจาก พระสารีบุตร จนสําเร็จเป็ นพระ
อนาคามีบุคคลในที่สุดต่อมาจิตตคหบดีได้ชักชวนชาวเมืองจํานวน 3,000 คน
ไปเฝ้ า พระพุทธเจ้า ที่ เชตวันมหาวิหาร กรุงราชคฤห์ แต่เนื่องจากเหล่า
เทวดาได้จัดเตรียมข้าวปลาอาหารจํานวนมากทําให้เวลาเดินทางกลับข้าวของที่
จิตตคหบดีและชาวเมืองจัดเตรียมมาแทบไม่ได้ใช้สอยเลยพระพุทธเจ้าจึงทรง
มอบหมายให้ พระอานนท์ พุทธอุปัฏฐากจัดหาสถานที่เก็บสิ่งของเหล่านี้ซึ่งถือ
เป็ น โรงครัว หรือ: โรงเก็บอำหำรคือ กัปปิยกุฎี แห่งแรกใน
พระพุทธศาสนา และจิตตคหบดี เป็นต้นเหตุให้มีกำรสร้ำง
โรงครัว หรือ: โรงเก็บอำหำร ต่อมำพระพุทธเจ้ำได้ทรงยก
ย่อง จิตตคหบดี ให้เป็นเลิศกว่ำอุบำสกทั้งหลำยในทำง
 เป็นธรรมกถึกหรือนักบรรยำยธรรม
พระมหานามะได้แสดงธรรม ให้จิตตคหบดีฟัง
 วันหนึ่งได้แสดงธรรมเรื่อง อำยตนะ 6 (สื่อสำหรับ
ติดต่อโลกภำยนอก 6 ประกำร คือ ตำ หู จมูก ลิ้น กำย
ใจ) หลังจบธรรมเทศนา จิตตคหบดีได้บรรลุ
อนำคำมิผล จิตตคหบดีเอาใจใส่พิจารณาธรรมอยู่เนือง
ๆ จนแตกฉาน มีความสามารถในการอธิบายธรรมได้ดี
ความสามารถของท่านในด้านนี้เป็ นที่ยอมรับกันอย่าง
กว้างขวาง
 ลักษณะเด่นของจิตตคหบดี คือ
 ใฝ่ธรรม
คุณธรรมที่ถือเอาเป็ นแบบอย่าง
 1. เป็ นผู้ใฝ่ใจในการศึกษาธรรม จนได้รับการยกย่องจากพระพุทธเจ้า
ว่าเป็ นอุบาสกผู้เก่งในการแสดงธรรมและการสั่งสอนธรรม ท่านเป็ น
คนฉลาดมีเหตุผลในการให้คําอธิบายหลักธรรมต่าง ๆ ที่เชื่อกันผิด
ๆ ให้กลับเข้าใจในทางที่ถูกต้องได้
 2. เป็ นคนใจบุญ อุปถัมภ์พระพุทธศาสนาด้วยศรัทธามั่นคง พบ
พระสงฆ์ก็ทําบุญถวายทาน สร้างวัดถวาย เป็ นต้น
 3. มีศรัทธาตั้งมั่นอยู่ในพระรัตนตรัย โดยมีศรัทธาความเชื่อที่ไม่
คลอนแคลนในพระรัตนตรัย มากกว่าการเป็ นพระเจ้าจักรพรรดิ
 4. เป็ นแบบอย่างของอุบาสกที่ดี คือฟังธรรมตามโอกาส บรรยาย
ธรรมตามโอกาส ปกป้ องพระพุทธศาสนาเมื่อมีนักบวชในศาสนาอื่น
จาบจ้วง และปกป้ องด้วยสติปัญญา ความสามารถ โดยไม่กล่าวร้าย
ประวัติพระธรรมทินนาเถรี
 เป็ นชาวเมืองราชคฤห์ เมื่อเจริญวัยแล้ว ได้เป็ นภริยา
ของท่านวิสาขเศรษฐี ผู้สหายของพระเจ้าพิมพิสาร วิสาข
เศรษฐีได้เข้าเฝ้ าพระพุทธเจ้าครั้งแรกพร้อมกันกับพระเจ้าพิม
พิสาร ได้บรรลุโสดาปัตติผลตั้งแต่วันนั้น ต่อมาวันหนึ่ง ท่าน
เศรษฐีได้รับฟังธรรมของพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอนาคามิผล
ปกติพระอริยบุคคลระดับอนาคามี ละความต้องการทางเพศ
ได้แล้ว
สาเหตุที่บวชเป็ นภิกษุณี
นางธรรมทินนา ต้องการออกบวชเป็ นภิกษุณี
เพรำะ เลื่อมใสในพระพุทธศำสนำ
 เมื่อนางธรรมทินนาบวชแล้วก็ลาอุปัชฌาย์อาจารย์ไปปฏิบัติธรรมใน
ป่ าซึ่งอยู่ต่างเมือง อีกไม่นานก็ได้
บรรลุเป็นพระอรหันต์ เป็นผู้แตกฉำนในปฏิสัมภิทำ
พระพุทธเจ้าทรงยกย่องพระธรรมทินนาเถรีว่าเป็ น
ยอดทำงด้ำนองค์ธรรมกถึก มีปัญญำ
เฉลียวฉลำดแสดงธรรมได้อย่ำง
คุณธรรมที่ควรถือเป็ นแบบอย่าง
 1. เป็ นผู้มีความศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา พระธรรมทินนาเถรีก่อนออกบวช
นั้น เมื่อได้ทราบว่าวิสาขเศรษฐีผู้สามีได้เข้าเฝ้ าพระพุทธเจ้าและได้บรรลุธรรมแล้ว จึง
มีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ใคร่จะออกบวช จึงขออนุญาตสามีซึ่งสามีก็
อนุญาตให้บวชได้ตามความประสงค์
 2. เป็ นผู้มีความกตัญญูกตเวที เมื่อพระเถรีได้บรรลุพระอรหันต์แล้ว ก็หวลระลึกนึกถึง
วิสาขาเศรษฐีพร้อมด้วยหมู่ญาติ ก็ได้ เดินทางกลับบ้านเดิมเพื่อแสดงธรรมโปรดวิ
สาขเศรษฐีและหมู่ญาติได้ให้รับผลอันเกิดจากการฟังธรรม แสดงถึงความที่พระ เถรีมี
ความกตัญญูอย่างแท้จริง
 3. เป็ นผู้มีปัญญาเฉลียวฉลาด สามารถแสดงธรรมได้อย่างแตกฉาน ได้รับการยก
ย่องจากพระพุทธเจ้าว่าเป็ นเอตทัคคะทางด้านธรรมกถึก จึงสมควรที่จะถือเป็ น
แบบอย่างที่ดี

พระธัมมทินนาเถรีมีคุณธรรมที่ควรยึดถือเป็ นแบบอย่าง คือ
 มีวำทศิลป์ ในกำรพูด
ศาสนิกชนตัวอย่าง
มโหสถชาดก
 ในเมืองมิถิลา มีเศรษฐีผู้หนึ่งมีนามว่า สิริวัฒกะ ภรรยาชื่อ นาง
สุมนาเทวี นางสุมนาเทวีมีบุตรชายคนหนึ่ง ซึ่งเมื่อคลอด ออกมานั้น
มีแท่งโอสถอยู่ในมือ เศรษฐีสิริวัฒกะเคยเป็ นโรค ปวดศีรษะมานาน
จึงเอาแท่งยานั้นฝนที่หินบดยา แล้วนํามา ทาหน้าผาก อาการปวด
ศีรษะก็หายขาด ครั้นผู้อื่นที่มีโรคภัย ไข้เจ็บมาขอปันยานั้นไปรักษา
บ้าง ก็พากันหายจากโรค เป็ นที่เลื่องลือไปทั่ว เศรษฐีจึงตั้งชื่อบุตรว่า
"มโหสถ" เพราะทารกนั้นมีแท่งยาวิเศษ เกิดมากับตัว เมื่อมโหสถ
เติบโตขึ้น ปรากฏว่ามีสติปัญญาเฉลียวฉลาด กว่าเด็กในวัยเดียวกัน
กษัตริย์เมืองมิถิลา ทรงพระนามว่า พระเจ้าวิเทหราช
ทรงมีนักปราชญ์ราชบัณฑิตประจํา ราชสํานัก 4
คน คือ เสนกะ ปุตกุสะ กามินท์ และ เทวินทะ
บัณฑิตทั้ง 4 เคยกราบทูลว่าจะมี บัณฑิต คนที่ห้า
มาสู่ราชสํานักพระเจ้าวิเทหราช พระองค์จึงโปรด
ให้ เสนาออกสืบข่าวว่า มีบัณฑิตผู้มีสติปัญญา
ปราดเปรื่องอยู่ที่ใดบ้าง
ผลงานชิ้นแรกที่แสดงถึงสติปัญญาของมโหสถ
คือ ออกแบบศำลำ
อุปนิสัยของมโหสถนั้น เป็นคน
ฉลำด ไม่ใช่ เป็นผู้นำ
คติธรรมจาก มโหสถชาดก สอนเราเรื่อง
มีปัญญำย่อมแก้ไขปัญญหำได้
คติธรรม อีกประการคือ: บําเพ็ญปัญญาบารมี

"ปัญญาอันลํ้าเลิศนั้นย่อมทําคุณให้แก่บุคคล ยิ่งกว่ามี
ทรัพย์นับแสน แม้มิมีปัญญาดั่งปราชญ์ แต่ถ้าเป็ นผู้รู้
จักคิดให้รอบคอบก่อน ก็ย่อมเป็ นผู้มีปัญญาและ
ประพฤติชอบแล้ว"
มหาชนกชาดก
 ณ เมืองมิถิลาแห่งรัฐวิเทหะ พระเจ้าแผ่นดิน ทรงพระนามว่า พระเจ้ามหาชนก
ทรงมีพระโอรสสององค์ คือ เจ้าอริฏฐชนก และ เจ้าโปลชนก เจ้าอริฏฐชนกทรงเป็ น
อุปราช ส่วนเจ้าโปลชนกทรง เป็ นเสนาบดี เมื่อพระราชบิดาสวรรคต เจ้าอริฏฐชนกผู้
เป็ นอุปราช ก็ได้ครองบ้านเมืองต่อมา เจ้าโปลชนกทรงเป็ นอุปราช ทรงเอาใจใส่ดูแล
บ้านเมืองช่วยเหลือพระเชษฐาอย่างดียิ่ง มีอํามาตย์คนหนึ่งไม่พอใจพระเจ้าโปลชนก
จึงหาอุบายให้ พระราชาอริฏฐชนกระแวงพระอนุชา โดยทูลพระราชาว่า เจ้าโปลชนก
คิดขบถ จะปลงพระชนม์พระราชา พระราชาทรงเชื่อคํา อํามาตย์ จึงให้จับเจ้าโปล
ชนกไปขังไว้ เจ้าโปลชนกเสด็จหนี ไปจากที่คุมขังได้หลบไปอยู่ที่ชายแดนเมืองมิถิลา
เจ้าโปลชนก ทรงคิดว่า เมื่อครั้งที่ยังเป็ นอุปราชนั้น มิได้เคยคิดร้ายต่อพระราชา ผู้
เป็ นพี่เลย แต่ก็ยังถูกระแวงจนต้องหนีมา ถ้าพระราชาทรงรู้ว่า อยู่ที่ไหนก็คงให้ทหาร
มาจับไปอีกจนได้ บัดนี้ผู้คนมากมาย ที่ชายแดนที่เห็นใจ และพร้อมที่จะเข้าเป็ นพวก
ด้วย ควรที่จะรวบรวมผู้คนไปโจมตีเมืองมิถิลาเสียก่อนจึงจะดีกว่า
พระมหาชนกในทศชาติ เป็ นการบําเพ็ญบามี ในชาติ ที่
2
พระมหาชนก เป็ นพระโอรสของ พระเจ้ำอริฏฐ
ชนก
พระมหาชนก ตรัสว่า ความสุขที่แท้จริงของ
พระองค์ คือ กำรออกบรรพชำ
ความเพียรพยามย่อมมีประโยชน์ แม้มองไม่เห็น
ฝั่ง เราก็จะว่ายไปจนกว่าจะถึงฝั่งเข้าสักวันหนึ่ง
ผู้ที่กล่ำวเช่นนี้นั้น เป็นคน มุ่งมั่น
ผู้ที่ศึกษาเรื่องมหาชนกชาดก
 ได้รับข้อคิดจากการบําเพ็ญวิริยบารมีของพระมหาชนก คือ
 1. ความเพียรพยายามนําไปสู่ความสําเร็จ เมื่อตั้งใจจะทําสิ่งใดแล้วต้องมีขันติ
หรือความอดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาหรืออุปสรรค
2. รู้จัดคิดเห็นหรือคิดถูกวิธี(โยนิโนมนสิการ) เพื่อเอาชนะปัญหาหรืออุปสรรค
หรือเพื่อให้การทํางานบรรลุความสําเร็จตามเป้ าหมายที่วางไว้
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3
หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสรรเพชญ (16 กุมภำพันธ์ พ.ศ.
2175 - 11 กรกฎำคม พ.ศ. 2231; ครองรำชย์ พ.ศ. 2199 - พ.ศ.
2231) เป็นพระมหำกษัตริย์ไทยรัชกำลที่ 27 ในสมัยกรุงศรีอยุธยำ
บทบาท และพระราชกรณียกิจที่สําคัญ :
 ทรงเป็ นยอดนักปราชญ์-นักปกครอง-นักรบ-เจริญ
สัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ สร้างความเจริญก้าวหน้าให้กับ
ประเทศชาติอย่างกว้างขวาง
ความรอบครอบของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
คือ
 โปรดให้สร้ำงเมือง ลพบุรีเป็นรำชธำนี แห่งที่ 2
 กษัตริย์ที่ทรงชักชวนให้สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงเปลี่ยน
ศาสนาคือพระเจ้ำหลุยส์ที่ 14
 พระราชนิพนธ์ที่สําคัญของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
คือสมุทรโฆษคำฉันท์
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชกับพระพุทธศาสนา
 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชนอกจากจะทรงเป็ นขัตติยกวี
จําเพาะพระองค์เองแล้ว หากแต่ในรัชสมัยของพระองค์ก็ยัง
พรั่งพร้อมไปด้วยนักปราชญ์ ราชบัณฑิต และพระมหา
เถรานุเถระผู้แตกฉานในคัมภีร์พระไตรปิ ฎกและทรงวิทยาคุณ
พระองค์ทรงฝักใฝ่ ในทางพระธรรมและข้อวัตรปฏิบัติทาง
พระพุทธศาสนา ทรงวิสาสะกับพระเถรานุเถระทั้งหลาย
เหล่านั้นอยู่เนืองๆ ดังจะเห็นได้จากพระราชปุจฉาหลายเรื่อง
ที่เกิดขึ้นในรัชกาลของพระองค์

ต่อ สมเด็จพระนารายณ์มหาราชกับพระพุทธศาสนา
 ความ หนักแน่นทางพระพุทธศาสนาของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเห็นได้ชัดเมื่อมี
การเผย แผ่ศาสนาคริสต์มายังประเทศไทย บาทหลวงของศาสนาคริสต์ได้นําหลักคํา
สอนในคัมภีร์ไบเบิลมาให้พระองค์ทรงศึกษา วันหนึ่งมีบาดหลวงถือไม้เท้ามีไม้กางเขน
อันใหญ่เหมือนกับโป๊ ปถือเข้าไปเฝ้ า พระองค์ บอกกับพระองค์ว่า “ถึงเวลาแล้ว
เพราะว่าพระองค์ทรงรู้เรื่องของพระผู้เป็ นเจ้า ของพระเยซูคริสต์ดีแล้ว ควรจะรับศีล
เป็ นคาธอลิคเสียที” พระองค์ทรงตอบว่า “ถ้าพระผู้เป็ นเจ้าในคัมภีร์ของทานมีอยู่จริง
มีอํานาจพิเศษจริง ๆ พระผู้เป็ นเจ้าของท่านก็คงทราบว่าประเทศไทยนี่ เป็ นเมืองนับ
ถือพระพุทธศาสนา แล้วพระผู้เป็ นเจ้าให้ข้าพเจ้ามาเกิดในประเทศไทยก็เท่ากับว่าให้
มาเป็ นหัว หน้าของพุทธบริษัท นับถือพระพุทธศาสนา ถ้าข้าพเจ้าเปลี่ยนจิต เปลี่ยน
มานับถือศาสนาคาทอลิคที่พวกท่านให้ข้าพเจ้านับถือ มันก็ขัดกับความต้องการของ
พระผู้เป็ นเจ้า จะเป็ นโทษเป็ นบาป” (มูลนิธิเผยแพร่ชีวิตประเสริฐ, ม.ป.ป. :41-42)
คุณธรรมที่เป็ นแบบอย่าง
 1. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงเป็ นแบบอย่างในการใช้
ธรรมะนําการเมืองไทย ในสมัยนั้นมีการล่าอาณานิคม ท่าน
สามารถนําหลักธรรมะมาใช้ในการบริหารบ้านเมืองให้พ้นจาก
การล่าอาณานิคมของ ประเทศตะวันตกได้อย่างสง่างาม จึง
ทรงรักษาไว้ได้ทั้งชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
 2. ทรงมีพระทัยหนักแน่นในการนับถือพระพุทธศาสนา จะ
เห็นได้จากพระองค์ทรงปฏิเสธการเข้ารีตศาสนาคริสต์
พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ)
 พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปัญโญ) หรือรู้จักในนำม พุทธทาสภิกขุ (27
พฤษภำคม พ.ศ. 2449 — 8 กรกฎำคม พ.ศ. 2536) เป็นชำวอำเภอไชยำ จังหวัดสุรำษฎร์
ธำนี เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2449 เริ่มบวชเรียนเมื่ออำยุได้ 20 ปี ที่วัดบ้ำนเกิด จำกนั้นได้เข้ำมำศึกษำ
พระธรรมวินัยต่อที่กรุงเทพมหำนคร จนสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค แต่แล้วท่ำนพุทธทำส
ภิกขุก็พบว่ำสังคมพระพุทธศำสนำแบบที่เป็นอยู่ในขณะนั้น แปดเปื้อนเบือนบิดไปมำก และไม่
อำจทำให้เข้ำถึงหัวใจของพระพุทธศำสนำได้เลย ท่ำนจึงตัดสินใจหันหลังกลับมำปฏิบัติธรรมที่
อำเภอไชยำ ซึ่งเป็นภูมิลำเนำเดิมของท่ำนอีกครั้ง พร้อมปวำรณำตนเองเป็น พุทธทาส
เนื่องจำกต้องกำรถวำยตัวรับใช้พระพุทธศำสนำให้ถึงที่สุด
 ผลงำนเด่นของทำสพุทธทำสคืองำนหนังสือ อำทิ หนังสือพุทธธรรม, ตำมรอยพระอรหันต์ และ
คู่มือมนุษย์ และเป็นสงฆ์ไทยรูปแรกที่บุกเบิกกำรใช้โสตทัศนูปกรณ์สมัยใหม่สำหรับกำรเผย
แพร่ธรรมะ และท่ำนมีสหำยธรรมคนสำคัญ คือ ปัญญำนันทภิกขุ วัดชลประทำนรังสฤษฎ์ และ
ท่ำน บ.ช. เขมำภิรัตน์[
ผลงานแห่งชีวิต
 ตลอดชีวิต ของ ท่านอาจารย์พุทธทาส ท่านยํ้าอยู่เสมอ
ว่า "ธรรมะ คือ หน้าที่" เป็ นการทําหน้าที่ เพื่อความอยู่รอด
ทั้งทางฝ่ายกาย และฝ่ายวิญญาณ ของมนุษย์ และ ท่าน ได้ทํา
หน้าที่ ในฐานะ ทาสผู้ซื่อสัตย์ ของพระพุทธเจ้า ทุกอณูแห่ง
ลมหายใจ เข้าออก จนแม้วาระสุดท้าย แห่งชีวิต จึงไม่น่า
สงสัยเลยว่า ผลงาน ที่ท่าน สร้างสรรค์ ไว้ เพื่อ เป็ น มรดก
ทางธรรมนั้น จะมีมากมาย สักปานใด ซึ่งจะขอนํามากล่าว
เฉพาะ ผลงานหลักๆ ดังนี้ คือ
ต่อ ผลงานแห่งชีวิต
 ๑. การจัดตั้ง สถานปฏิบัติธรรม สวนโมกขพลาราม และ สวนโมกข์นานาชาติ
 ๒. การร่วมกับ คณะธรรมทาน ในกำรออกหนังสือพิมพ์ "พุทธสำสนำ"
รำย ๓ เดือน นับเป็นหนังสือพิมพ์ ทำง พระพุทธศำสนำ เล่มแรก ของไทย
เริ่มตีพิมพ์ เมื่อเดือน พฤษภำคม พ.ศ.๒๔๗๖ และ ต่อเนื่องมำ จนถึงปัจจุบัน
เป็นเวลำรวม ๖๑ ปี นับเป็นหนังสือพิมพ์ ทำง พระพุทธศำสนำ ที่มีอำยุยืนยำว
ที่สุดของไทย และเป็นผลงำนชิ้นแรก ของพุทธทำสภิกขุ
 ๓. การพิมพ์หนังสือ ชุด "ธรรมโฆษณ์" ซึ่งเป็ นหนังสือที่ รวบรวม พิมพ์จาก
ปาฐกถาธรรม ที่ท่านแสดงไว้ในวาระต่างๆ และ งานหนังสือเล่ม เล่มอื่นๆ
ของท่าน
ท่านพุทธทาสบรรยายธรรมเรื่อง = พุทธธรรมกับ
ประชาธิปไตย
 จึงถูกกล่าวหาว่า เป็นคอมมิวนิสต์
ปณิธานของท่านพุทธทาสภิกขุ
ท่านพุทธทาสภิกขุได้ตั้งปณิธานไว้ 3 ประการคือ
ประการที่ 1 ให้ทุกคนที่นับถือศาสนาของตนได้เข้าถึงธรรมะของ
ศาสนาที่ตนนับถือ
ประการที่ 2 ต้องการทาความเข้าใจระหว่างศาสนา เพื่อไม่ให้เกิด
การแตกแยกแตกร้าว
ประการที่ 3 มีความต้องการที่จะพรากจิตของชาวโลกให้ห่างจาก
วัตถุนิยม
คุณธรรมที่เป็ นแบบอย่าง
1. ท่านทรงเป็ นแบบอย่างของพระภิกษุและชาวพุทธทุกคนในการศึกษา
ค้นคว้าหลักธรรมะให้เข้าใจอย่างแท้จริง จนสามารถเทศนาสั่งสอน
พุทธศาสนิกชนทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ได้เข้าใจธรรมะของ
พระพุทธเจ้าอย่างถูกต้องชัดเจน และสามารถนําไปเป็ นแนวปฏิบัติได้
2. ท่านทรงแต่งตําราทางพระพุทธศาสนาไว้มากมาย ก่อให้เกิด
ประโยชน์ต่อผู้อ่านที่สามารถนําหลักธรรมของพระพุทธเจ้าที่ท่าน
เขียนไว้ไปประพฤติปฏิบัติได้
ต่อ คุณธรรมที่เป็ นแบบอย่าง
 3. ท่านมีปณิธานอย่างแรงกล้าที่จะให้มวลมนุษย์ได้เข้าใจหลักธรรมะ
ที่ตนนับถือ (ไม่ว่าศาสนาใดก็ตาม) ต้องการสร้างความปองดองกัน
ในทุกศาสนา ไม่ก่อให้เกิดความแตกแยก และต้องการให้ทุกคนไม่
หลงมัวเมาอยู่ในแต่ “วัตถุนิยม” แต่หันมาสนใจธรรมะ เข้าใจธรรมะ
และปฏิบัติธรรมะ ในลักษณะ “ธรรมนิยม”
4. ท่านเป็ นแบบอย่างของชาวพุทธในการเผยแผ่ธรรมะที่ถูกต้อง
ให้แก่ชาวโลก ดังนั้นจึงมีผู้ให้ความสนใจที่จะเข้าไปศึกษาธรรมะกับ
ท่านในสวนโมกขพลาราม ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ท่านได้
ช่วยรื้อฟื้ นธรรมะของพระพุทธเจ้า ปลุกชาวพุทธให้ตื่นตัว ให้ก้าวหน้า
เพื่อทํากิจอันเป็ นประโยชน์แก่พระศาสนา
ขามีส่วนเลวบ้างช่างหัวเขา จงเลือกเอาสิ่งที่ดี
เขามีอยู่ เป็ นประโยชน์โลกบ้างยังน่าดู สิ่งทีชั่ว
อย่าไปรู้ของเขาเลย จะหาคนมีดีโดยส่วน
เดียว อย่ามัวเที่ยวค้นหาสหายเอ๋ย เหมือนตา
มหาหนวดเต่าตายเปล่าเลย ฝึกให้เคยมองแต่
ดีมีคุณจริง”
 กลับมาเถิด ศีลธรรม กลับมาเถิด
กําลังเกิด ภัยร้าย อันใหญ่หลวง
แก่สัตว์โลก ทั่วถิ่น จักรวาลปวง
น่าเป็ นห่วง ความพินาศ ฉกาจเกิน
….กลับมาเถิด ศีลธรรม กลับมาเถิด!
ในโลกเกิด กลียุค อย่างฉุกเฉิน
หลงวัตถุ บ้าคลั่ง เกินบังเอิญ
มัวเพลิดเพลิน สิ่งกาลี มีกําลัง
….กลับมาเถิด ศีลธรรม กลับมาเถิด!
ความเลวร้าย ลามเตลิด จวนหมดหวัง
รีบกลับมา ทันเวลา พาพลัง
มายับยั้ง โลกไว้ ให้ทันกาล ฯ
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัน ปญฺญานนฺ
โท)
 พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปัญญานันโท) (11 พฤษภำคม พ.ศ. 2454 — 10 ตุลำคม
พ.ศ. 2550) หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปคือ หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ ท่ำนเป็นที่รู้จักในฐำนะ
พระสงฆ์ผู้ปฏิรูปแนวทำงกำรเผยแผ่พระพุทธศำสนำของพระสงฆ์ไทย ผู้เป็นสหธรรมิกร่วม
อุดมกำรณ์คนสำคัญของพระธรรมโกศำจำรย์ (เงื่อม อินทปัญโญ)[1] และผู้อุทิศชีวิตให้กับกำร
เผยแผ่พระพุทธศำสนำจนวำระสุดท้ำยของชีวิต
 พระพรหมมังคลำจำรย์กำเนิดที่ ตำบลคูหำสวรรค์ อ.เมือง จ.พัทลุง เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 11
พฤษภำคม พ.ศ. 2454 เดิมมีนำมว่ำ ปั่น เสน่ห์เจริญ หลังใช้ชีวิตฆรำวำสจนมีอำยุได้18 ปี
ได้บรรพชำเป็นสำมเณรที่วัดอุปนันทนำรำม จังหวัดระนอง โดยมี พระรณังคมุนี เป็นพระ
อุปัชฌำย์ เมื่ออำยุครบ 20 ปีบริบูรณ์จึงได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุที่วัดนำงลำด อ.เมือง จ.พัทลุง
โดยมี พระจรูญกรณีย์ เป็นอุปัชฌำย์เมื่อปี พ.ศ. 2474
 ท่ำนมรณภำพวันที่ 10 ตุลำคม พ.ศ. 2550 ด้วยอำกำรปอดอักเสบและไตวำย ที่โรงพยำบำลศิริ
รำช สิริอำยุรวม 96 ปี
คติธรรม คําสอน– หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ
 ชีวิตกับดวง
เมื่ออะไรเกิดขึ้นในชีวิต อย่าคิดว่าเป็ นเรื่องคนอื่นทําให้
อย่าคิดว่าเป็ นโชคชะตาราศี อย่าคิดว่าดวงดี ดวงไม่ดี
อย่าคิดว่าอะไรๆ มาทําให้เป็ น แต่จงคิดให้ถูกต้องว่า
ฉันเองแหละเป็ นผู้ทําสิ่งนั้น
 อกเขา อกเรา
เราต้องการความสุขอย่างใด เขาก็ต้องการความสุขอย่างนั้น
เราเกลียดความทุกข์อย่างใด เขาก็เกลียดความทุกข์อย่างนั้น
สิ่งใดเราไม่ชอบ สิ่งนั้นเขาก็ไม่ขอบเหมือนกัน
ปรารถนาดีต่อผู้อื่น
 เวลาเราพบใคร เราก็ควรนึกว่าขอให้คุณเป็ นสุข
ขอให้คุณปราศจากความทุกข์ ความเดือดร้อน
ขอให้คุณมีความเจริญก้าวหน้าในชีวิตในการงาน
เพียงแต่เราคิดเท่านั้น เราก็สบายใจแล้ว
คิดอย่างไรได้อย่างนั้น
ถ้าเราคิดให้คนอื่นสบาย เราก็สบาย
ถ้าเราคิดให้คนอื่นเดือดร้อน เราก็มีความทุกข์ความเดือดร้อน
อธิษฐานใจ
ขอให้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ มาตั้งอยู่ในใจของข้าพเจ้า
ขอให้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็ นกําลังใจให้แก่ข้าพเจ้า
ขอให้ข้าพเจ้า มีใจซื้อสัตย์ มีความอดทน มีความเข้มแข็ง
มีความเสียสละ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตัว
สมนศักดิ์ของหลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ คือ พระพรหมมังคลำ
จำรย์
 พุทธทาสภิกขุกับหลวงพ่อปัญญานันทภิกขุมีความเด่นเหมือนกันคือ
เทศน์ได้น่ำฟัง เข้ำใจง่ำย และชวนติดตำม
คุณธรรมที่เป็ นแบบอย่าง
ท่านปัญญานันทะภิกขุเป็ นพระ ญาติธรรมกับท่านพุทธทาสภิกขุ จึงมี
บุคลิกลักษณะเช่นเดียวกับท่านพุทธทาสภิกขุ ท่านจึงมีคุณธรรมที่เป็ น
แบบอย่างเหมือนกันกับท่านพุทธทาสภิกขุ ดังนี้
 1. ท่านทรงเป็ นแบบอย่างของพระภิกษุและชาวพุทธทุกคนในการศึกษาค้นคว้า
หลักธรรมะ ให้เข้าใจอย่างแท้จริง โดยเหตุผลเช่นเดียวกับท่านพุทธทาสภิกขุ
 2.ท่าน ทรงแต่งตําราทางพระพุทธศาสนาไว้มากมายก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ
ผู้อ่านที่สามารถ นําหลักธรรมของพระพุทธเจ้าที่ท่านเขียนไว้ไปประพฤติปฏิบัติ
ได้
 3. ท่านเป็ นแบบอย่างของชาวพุทธในการเผยแผ่ธรรมะที่ถูกต้องให้แก่ชาวโลก
โดยท่านได้เดินทางไปเผยแผ่ธรรมะในประเทศต่าง ๆ หลายประเทศ
ดร.เอ็มเบคการ์
 ประวัติครอบครัว
 ดร. เอ็มเบคการ์ มีชื่อเต็มว่า ดร.พิมเรา รามชิเอ็มเบคการ์ เป็ นคนในวรรณะ
จัณฑาลซึ่งสังคมฮินดู ของอินเดียรังเกียจเนื่องจากเป็ นวรรณที่ ตํ่าสุดบางครั้งก็
เรียกวรรณะนี้ว่า “อวรรณะ” คือคนไม่มีวรรณะหรือไม่มีสังกัด สําหรับพวกที่มีวรรณะ
หรือมีสังกัดจะมี 4 กลุ่ม ตามลําดับคือ กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ และศูทร เรียกว่า
พวก “สวรรณะ” และสําหรับวรรณะจันฑาลนี้จะถูกห้ามไม่ให้เข้าไปใช้นํ้าในสระ
สาธารณะร่วมกันกับ พวกวรรณะอื่น ๆ ข้างต้นดังกล่าว ให้ใช้เฉพาะนํ้าที่สกปรก
เท่านั้น พวกเด็ก ๆ ก็ไม่อนุญาตให้เข้าเรียนในโรงเรียนที่เด็กฮินดูเรียนกันทั้งที่พวก
เขานับถือ เทพเจ้าองค์เดียวกันกับพวกฮินดูทั้งหลาย อยู่ภายใต้ประเพณีวัฒนธรรมอัน
เดียวกัน แต่โบสถ์ฮินดูก็ไม่ยอมให้พวกเขาเข้าไปสักการะหรือร่วมพิธีทางศาสนาเป็ น
อัน ขาด ร้านตัดผม ร้านทําผม และร้านซักรีดเสื้อผ้าก็ไม่ยอมให้พวกเขาไปใช้บริการ
ประวัติการศึกษา
ดร. เอ็มเบดการ์ สําเร็จการศึกษาปริญญาเอกทางเศรษฐศาสตร์ ปริญญาเอกทาง
รัฐศาสตร์ และเป็ นเนติบัณฑิตอังกฤษ ได้รับปริญญาเอกกิตติมศักดิ์ทางด้านกฎหมาย
จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย
 อาชีพ
 ดร. เอ็มเบดการ์ ประกอบอาชีพเป็ นทนายความ เช่นเดียวกับมหาตมคานธี ต่อมา
ได้รับแต่งตั้งให้เป็ นสมาชิกสภานิติบัญญัติของรัฐบอมเบย์
 ผลงานเด่น
 ดร. เอ็มเบดการ์ ได้ทําการต่อสู้เพื่อสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและศาสนา จนสําเร็จ
และสามารถทําให้คนในวรรณะจันฑาลมีความเสมอภาพกับคนในวรรณะอื่น ในทุก ๆ
ด้าน แต่อย่างไรก็ดีสังคมอินเดียในปัจจุบันโดยทางนิตินัยนั้นถือว่ามีความเท่า เทียม
กัน แต่ในทางพฤตินัยยังมีการแบ่งชั้นวรรณะกันอยู่เรื่อยมา
ผลงานทางพระพุทธศาสนา
 ดร. เอ็มเบดการ์ ถือว่าเป็ นบุคคลแรกของอินเดียที่ได้นําเอา
พระพุทธศาสนากลับมาสู่มาตุภูมิ (ถิ่นกําเนิดพระพุทธศาสนา) โดย
ตัวท่านเองในเบื้องแรกนั้นนับถือศาสนาพราหมณ์ ต่อมาจึงเปลี่ยนมา
นับถือพระพุทธศาสนา ท่านได้เข้าพิธีอย่างเป็ นทางการ และท่านได้
ยกย่องพระพุทธศาสนาว่า เป็ นศาสนาที่สร้างสันติภาพให้แก่โลก
เพราะพระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาที่เป็ นประชาธิปไตย ให้ความเสมอ
ภาค ภราดรภาพ และยกย่องความเป็ นมนุษย์อย่างเท่าเทียมกัน
 ดังนั้น ดร. เอ็มเบดการ์ จึงต้องการให้สังคมอินเดีมีความเท่า
เทียมกัน จึงพยายามที่จะ ลบล้ำงลัทธิกำรถือชนชั้นวรรณะ
คุณธรรมที่ถือเป็ นแบบอย่าง
 ดร. เอ็มเบดการ์ ใช้ธรรมะนําการเมืองของอินเดีย สมัยต่อสู้
เอกราชจากอังกฤษ เป็ นผู้นําของรัฐสภาผู้ร่างรัฐธรรมนูญของ
อินเดีย เป็ นบุคคลแรกที่นําเอาพระพุทธศาสนากลับมาสู่
มาตุภูมิ จึงเป็ นที่ศรัทธาของชาวอินเดียทั่วไป จนกลับใจหัน
มานับถือพระพุทธศาสนาตามอย่างท่านรวมเป็ นจํานวนหลาย
ล้านคน
ข้อคิด ข้อปฏิบัติ จากพระอาจารย์
 ถ้านักเรียนอยากประสพความสําเร็จในชีวิตจงปฎิบัติดังนี้
 - สมาทานศิล 5 ก่อนเข้านอน ทุกวัน ต่อจากนั้น
 -สวดมนต์ อรหังสัมมา เป็นต้นไป และ อิติปิโส เป็นต้นไป
แผ่เมตตา และนั่งสมาธิ อย่างน้อย 5 นาที เสร็จแล้วให้
อุทิศบุญให้ตนเอง เทวดาที่รักษาตัวเรา บิดามารดา เจ้า
กรรมนายเวร และสรรพสัตว์ทั้งหลาย
 (กรณีจะสอบ หรือสอบเข้า ให้ปฏิบัติติดต่อกัน 9 วัน
ได้ผลดีนักแล เคยสาเร็จมาแล้ว)
การเดินทุกก้าวนั้น หมายถึงอนาคต ที่
เราเลือกเอง จงใช้ทุกนาที อย่างมีสติ
โชคดีในสอบปลายภาคทุกคน นะครับ
ขอให้โชคดีสําหรับ อนาคต นักศึกษา – นิสิต ปี 1
ทุกคนนะครับ

ข้อเสนอแนะ
โชคดีในการสอบ
ปลายภาค กันทุกคน
นะครับ
พระพุทธม.6 SW603

More Related Content

What's hot

วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคลวิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
มะ สิ
 
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดโครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดPapatsorn Tangsermkit
 
ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ  ไชยศิลป์ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ  ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์
rawi05022544
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดTong Thitiphong
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
Proud N. Boonrak
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
Klangpanya
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copyKunlaya Kamwut
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
Proud N. Boonrak
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
Padvee Academy
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยnaykulap
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
จารุ โสภาคะยัง
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
Padvee Academy
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียงjiko2505
 

What's hot (20)

1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคลวิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
 
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดโครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
 
ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ  ไชยศิลป์ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ  ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 

Viewers also liked

ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-1pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-1page
สไลด์  พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-1pageสไลด์  พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-1page
สไลด์ พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-4page
สไลด์  พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-4pageสไลด์  พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-4page
สไลด์ พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-4pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.4+466+dltvsocp4+54soc p04 f25-4page
ใบความรู้  พุทธศาสนสุภาษิต ป.4+466+dltvsocp4+54soc p04 f25-4pageใบความรู้  พุทธศาสนสุภาษิต ป.4+466+dltvsocp4+54soc p04 f25-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.4+466+dltvsocp4+54soc p04 f25-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานKrusupharat
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียน
niralai
 

Viewers also liked (8)

ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-1pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-1page
 
สไลด์ พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-1page
สไลด์  พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-1pageสไลด์  พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-1page
สไลด์ พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-1page
 
สไลด์ พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-4page
สไลด์  พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-4pageสไลด์  พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-4page
สไลด์ พุทธศาสนสุภาษิต ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f22-4page
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-4pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+55t2soc p01 f14-4page
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.4+466+dltvsocp4+54soc p04 f25-4page
ใบความรู้  พุทธศาสนสุภาษิต ป.4+466+dltvsocp4+54soc p04 f25-4pageใบความรู้  พุทธศาสนสุภาษิต ป.4+466+dltvsocp4+54soc p04 f25-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.4+466+dltvsocp4+54soc p04 f25-4page
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียน
 

Similar to พระพุทธม.6 SW603

ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
Wat Thai Washington, D.C.
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555Carzanova
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
Kwandjit Boonmak
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
niralai
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
niralai
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
niralai
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
Carzanova
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
พัน พัน
 
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนาสถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
ธรรมะอินเทรนด์ ธรรมะออนไลน์
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 

Similar to พระพุทธม.6 SW603 (20)

ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนาสถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 

Recently uploaded

โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
Postharvest Technology Innovation Center
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 

Recently uploaded (8)

โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 

พระพุทธม.6 SW603

  • 2. เรื่องพุทธศาสนสุภาษิต ความหมายของพุทธศาสนสุภาษิต  - ปฏิรูปการี ธุรวา อุฎฺ าตา วินฺทเต ธนํ  คนขยันเอาการเอางาน กระทํา เหมาะสม ย่อมหา ทรัพย์ได้  คำว่ำ คนที่จะหำทรัพย์มีเงินทองได้ต้องมีพฤติกรรม คือ ขยัน เอำกำรเอำงำน กระทำเหมำะสม
  • 3. คาว่า กระทําเหมาะสมนั้น ตรงกับ สัมมาอาชีวะ  คําว่า "สัมมาอาชีวะ หรือ สัมมาชีพ" แปลว่า การเลี้ยงชีวิตในทางที่ ชอบ คือการทํามาหากิน หรือหน้าที่การงาน การทํางานของมนุษย์ เราเพื่อหารายได้มาประทังชีวิตหรือเลี้ยงชีวิตของตนและครอบครัว นั่นเอง. การเลี้ยงชีวิต ไม่ว่าจะเป็ นอาชีพอะไรก็แล้วแต่ จะเป็ น พ่อค้า แม่ค้า ชาวไร่ ชาวนา เกษตรกรรม ปศุสัตว์ หรือจะเป็ น ข้าราชการ นักธุรกิจ อย่างใดอย่างหนึ่งก็แล้วแต่ สรูปการกระทํานั้น ๆ ออกมาเป็ น 2 ทาง คือ
  • 4.  1. ทางกาย คือ การงานหรืออาชีพ ที่ต้องใช้กาลังแรงกาย หรือการกระทาทาง กายเข้าประกอบ 2. ทางวาจา คือ การงานหรืออาชีพ ที่ต้องใช้วาจาเข้าประกอบในการทางาน  สัมมาอาชีวะ หรือ สัมมาชีพ มี 2 อย่าง เช่นเดียวกัน คือ 1. สัมมาอาชีพที่เป็น ธัมมิกะ เป็นสัมมาอาชีพด้วย ถูกกฏหมาย บ้านเมืองด้วย (เรียกได้ว่าถูกทั้งทางโลกทางธรรม) คือ อาชีพทั่ว ๆ ที่เป็นกาย สุจริต 3 วจีสุจริต 4 ฯ 2. สัมมาอาชีวะที่เป็น อธัมมิกะ เป็นสัมมาอาชีวะ แต่ผิดกฏหมาย บ้านเมือง. (ถูกทางธรรมแต่ผิดในทางโลก) มีด้วยหรือ ? มี เช่น อาชีพ ขอทาน ขอด้วยจิตที่บริสุทธิ์ เพื่อประทังชีวิต ...
  • 5. คนขยันเอาการเอางาน ตรงกับหลักทิฏฐธัมมิกัตถะ ข้อที่ว่า  อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น เช่นขยันหมั่นเพียร เลี้ยงชีพ ด้วยการหมั่นประกอบการงาน เป็ นผู้ขยันไม่เกียจคร้านในการงานนั้น ประกอบด้วยปัญญาเครื่องสอดส่อง อันเป็ นอุบายในการงานนั้น ให้สามารถ ทําได้สําเร็จ - เพราะฉะนั้น คนขยันต้องปฏิบัติงานต่างจากปกติ คือ ทำงำนตำมหน้ำที่ให้ได้ผลที่ดี  ดังนั้น คนขยันจะมีผลต่อตนเอง คือ กระทำเหมำะสมย่อมมีทรัพย์
  • 6. แนวปฏิบัติของนักเรียนนอกจากจะปฏิบัติที่โรงเรียนแล้ว ยังควรปฏิบัติตัวให้สมํ่าเสมอ คือ - การขยันของนักเรียนนั้น ควรที่จะปฏิบัติให้ สมํ่าเสมอในทุกสถานที่  - ขยันอ่านหนังสือในเวลาว่างแล้วช่วยงานบ้านของ ครอบครัว
  • 7. - วายเมเถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา เกิดเป็ นคนควรจะยายามจนกว่าจะ ประสบ ผลสําเร็จ  หลักธรรม ที่ใช้ควบคู่กับความพยายาม คือ อิทธิบาท 4 คำว่ำ อิทธิบาท แปลว่ำ บำทฐำนแห่งควำมสำเร็จ หมำยถึง สิ่งซึ่งมี คุณธรรม เครื่องให้ลุถึงควำมสำเร็จตำมที่ตนประสงค์ ผู้หวังควำมสำเร็จใน สิ่งใด ต้องทำตนให้สมบูรณ์ ด้วยสิ่งที่เรียกว่ำ อิทธิบำท ซึ่งจำแนกไว้เป็น ๔ คือ
  • 8.  1. ฉันทะ คือ เต็มใจทำ ได้แก่ มีควำมต้องกำรที่จะทำมีใจรักที่จะทำใจใฝ่รักที่จะทำ สิ่งนั้นอยู่เสมอ  2. วิริยะ คือ แข็งใจทำ ขยันทำสิ่งนั้นด้วยควำมพยำยำม อดทนไม่ท้อถอย อะไรจะเกิดก็แข็งใจทำ  3. จิตตะ คือ ตั้งใจทำ มีใจจดจ่อ ทำสิ่งนั้นด้วยควำมฝักใฝ่ เอำใจใส่เสมอ มีใจ จดจ่อเป็นสมำธิ(Meditation)  4. วิมังสา คือ เข้ำใจทำ มีควำมรู้ควำมสำมำรถในสิ่งที่ทำ ทำด้วยควำม พิจำรณำ หมั่นตรวจสอบ มีกำรวำงแผน วัดผล ตลอดจนหำวิธีแก้ไขปรับปรุง
  • 10. -เพราะฉะนั้น นักเรียนควรจะมีความพยายาม ใน  เรื่อง การเรียน ดังนี้ คือ กำรพยำยำมศึกษำเล่ำเรียนด้วยตนเอง และสอบถำมครูอำจำรย์
  • 11. - สนฺตุฏฺ ปรมํ ธนํ ความสันโดษเป็ นทรัพย์อย่างยิ่ง คํากล่าวที่ว่า รำยได้ต่ำ แต่รสนิยมสูง พฤติกรรมนี้มีลักษณะ ตรงข้ำม กับพุทธศาสน สุภาษิตข้อที่ว่า  สนฺตุฏฺ ปรม ธน ควำมสันโดษเป็นทรัพย์อย่ำงยิ่ง
  • 12. ความหมายของคาว่า สันโดษ คือ -พอใจ ยินดี  ยถาลาภสันโดษ มีความหมายว่า -พอใจตำมที่มีที่ได้  ยถาพลสันโดษ มีความหมายว่า -พอใจตำมกำลังควำมสำมำรถ  ยถาสารุปปสันโดษ มีความหมายว่ำ -พอใจตำมฐำนะของตน  ทางรัฐมีนโยบายแรงงานวันละ 300 บาท ผู้ใช้แรงงานพอใจ ตามนโยบายนี้ จัดเป็ นความสันโดษ ข้อที่ว่า -ยถำลำภ สันโดษ  ดังนั้น ความสันโดษ ตรงกับสุภาษิต คําพังเพยที่ว่า
  • 13. เหตุที่กล่าวว่า ความสันโดษ เป็ นทรัพย์อย่างยิ่งนั้น คือ -คนสันโดษเป็นคนพอใจในทรัพย์ที่มีที่ได้ของตน จึงไม่อยำกได้อยำกมีอีก
  • 14. - อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก การเป็ นหนี้เป็ นทุกข์ในโลก  เหตุที่คนมีหนี้นั้น คือ –ยืมเงินมำใช้ในสิ่งที่ไม่จำเป็น ที่ ฟุ้ งเฟ้ อ บุคคลใดถ้าไม่อยากเป็ นหนี้เงินทองใคร ต้องใช้ หลักทิฏฐธัมมิกัตถะ ข้อที่ว่า สมชีวิตำ  สมชีวิตา ความถึงพร้อมด้วยการเลี้ยงชีพให้พอเหมาะ พอดีกับกําลังทรัพย์ที่หามาได้ โดยใช้จ่ายให้เหมาะสมไม่ ตระหนี่หรือขี้เหนียวจนเกินไปหรือใช้จ่ายสุรุ่ยสุร่าย หรือ ฟุ่มเฟือยเกินไป
  • 15. พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ชาวพุทธ  รู้จักประมาณในการใช้จ่าย รู้จักใช้ทรัพย์ที่หามาได้ให้เกิด คุณประโยชน์ เรียกว่า ประโยชน์ที่เกิดจากโภคทรัพย์ 5 ประกอบด้วย  1. ใช้เลี้ยงตัวเอง บุตร ภรรยา บิดา มารดา บุคลลในครอบครัวให้เป็ น สุข 2. บํารุงมิตรสหาย เลี้ยงเพื่อนฝูงให้เป็ นสุข 3. บําบัดอันตราย เก็บทรัพย์ไว้ใช้ในยามเจ็บป่ วย 4. บริจาคให้สมณะ ทําบุญให้ผู้ประพฤติธรรม ถวายทานแด่พระ ศาสนา
  • 16. 5. ทําพลี 5 ประการ  5.1 ญาติพลี การสงเคราะห์ญาติ 5.2 อติถิพลี การตอนรับแขก 5.3 ปุพเปตพลี การทําบุญอุทิศให้ผู้ตาย 5.4 ราชพลี การถวายเป็ นของหลวง เช่นการเสียภาษี อากร 5.5 เทวตาพลี การทําบุญอุทิศให้เทวดา
  • 17. เหตุที่กล่าวว่า ความเป็ นหนี้เป็ นทุกข์ในโลก คือ  -ขำดอิสระในกำรใช้เงินเพรำะต้องนำเงินไปใช้หนี้  -เกิดควำมวิตกกังวล กลัวถูกยึดทรัพย์และถูกฟ้ อง เรียกร้องเงินคืน พุทธศาสนสุภาษิตว่า อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก มีความหมายว่า กำรเป็นหนี้เป็นทุกข์ในโลก
  • 19.
  • 20. รูปแบบการบรรยาย ดังนี้  - ปฏิรูปการี ธุรวา อุฎฺ าตา วินฺทเต ธนํ  คนขยันเอาการเอางาน กระทํา เหมาะสม ย่อมหาทรัพย์ได้ .....กราบนมัสการพระอาจารย์ที่เคารพ สวัสดี เพื่อนๆๆ ทุกคน ดิฉัน จักได้มาบรรยาย ขยายหัวข้อธรรมตามพุทธศาสนภาษิตที่ลิขิต ไว้ ณ เบื้องต้น พอเป็ นแนวทางในการศึกษา และปฏิบัติแก่พุทธศาสนิกชนสืบต่อไป 
  • 21. รูปแบบการบรรยาย อธิบายสุภาษิตตั้ง (หรือหัวข้อธรรมที่ตั้ง) ............................(๑๐ - ๑๕ บรรทัด )........... ..... สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่มาใน...... (ที่มาของศา สนสุภาษิตเชื่อม ) ว่า ( พุทธศาสนสุภาษิตเชื่อม ครั้งที่ ๑ ) คําแปล
  • 22. รูปแบบการบรรยาย  อธิบายสุภาษิตเชื่อม....................................( ๗- ๑๐ บรรทัด)............... ............สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่มาใน...... (ที่มา ของศาสนสุภาษิตเชื่อม ) ว่า ( พุทธศาสนสุภาษิตเชื่อม ครั้งที่ ๒ ) คําแปล
  • 23. รูปแบบการบรรยาย  อธิบายสุภาษิตเชื่อม.....................................................( ๗- ๑๐ บรรทัด)............... .......สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่มาใน...... (ที่มาของศาสนสุภาษิต เชื่อม ) ว่า ( พุทธศาสนสุภาษิตเชื่อม ครั้งที่ ๓ ) คําแปล
  • 24. รูปแบบการบรรยาย  สรุป.......( ๕ - ๘ บรรทัด )..................................................................................... ......................................สมดังสุภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้นว่า พุทธศาสนสุภาษิตตั้ง คําแปล ดังได้อธิบายมาด้วยประการ ฉะนี้ (กําหนดให้เขียน ๔ หน้ากระดาษเว้นบรรทัดขึ้นไป)
  • 25. พุทธสาวก -พุทธสาวิกา ประวัติ พระอนุรุทธะ  สถานะเดิม พระอนุรุทธะเถระ พระนำมเดิม เจ้าชายอนุรุทธะ เป็นพระนำมที่พระญำติ ทั้งหลายขนานให้ พระบิดา พระนามว่า อมิโตทนะ เป็ นพระอนุชาของพระเจ้าสุทโธทนะ ประสูติที่พระราชวังนครกบิลพัสดุ์ เป็ นวรรณะกษัตริย์ ชีวิตก่อนบวช เจ้าชายอนุรุทธะ มีพี่น้องร่วมพระมารดาเดียวกัน ๒ พระองค์ คือ ๑. พระ เชษฐา พระนามว่า เจ้าชายมหานามะ ๒. พระกนิษฐภคินี พระนามว่า โรหิณี เจ้าชายอนุรุทธะ เป็ นผู้มีบุญญาธิการสูง เป็ นสุขุมาลชาติอย่างยิ่ง และ เป็ นผู้มีปัญญามาก ไม่รู้จักแม้ แต่คําว่า ไม่มี
  • 26. ๓. มูลเหตุแห่งการบวชในพระพุทธศาสนา  สมัยนั้น เจ้าชายมหานามะ เสด็จเข้าไปหาเจ้าชายอนุรุทธะ ตรัสว่า พ่ออนุรุทธะ บัดนี้ ศากยกุมารผู้มีชื่อเสียงพากันบวชตามพระผู้มีพระภาคเจ้า แต่ตระกูลของ เรายังไม่มีใครบวชเลย เธอหรือพี่จะต้องบวช เจ้ามหานามะจึงรับอาสาบวช โดย ได้สั่งสอนการทํานาข้าวโดยละเอียยดตั้งแต่ไถจนถึงเก็บเกี่ยว เวียนไปทุกฤดูกาล ทุกปี ๆ ไป แก่ท่านอนุรุทธะ ท่านอนุรุทธะฟังแล้วคิดว่า  การงานไม่มีที่สิ้นสุด และต้องการหลีกหนีจากการครอง เรือนจึงบอกว่าตนจะอาสาบวชเองในที่สุดเจ้าชายอนุรุทธะตัดสินพระทัยบวช เอง จึงพร้อมด้วยกษัตริย์อีก ๕ พระองค์คือ ภัททิยะ อานันทะ ภคุ กิมพิละ และ เทวทัต พร้อมกับอุบาลีภูษามาลา ได้ไปเฝ้ าพระศาสดาที่อนุปิยอัมพวัน ทูลขอ บรรพชาอุปสมบท โดยให้อุบาลีบวชก่อน เพื่อกําจัดขัตติยมานะ
  • 27. การบรรลุธรรม  พระอนุรุทธเถระนี้ ครั้นบวชแล้วได้เรียนกรรมฐานในสํานักพระธรรมเสนาบดี แล้วได้ไปประจําอยู่ที่ปาจีนวังสทายวัน ในเจติยรัฐ บําเพ็ญสมณธรรม ตรึกมหาปุริส วิตกได้ ๗ ข้อ คือ ๑. ธรรมนี้เป็ นธรรมของผู้มีความปรารถนาน้อย ไม่ใช่ของผู้มีความมักมาก ๒. ธรรมนี้เป็ นธรรมของผู้สันโดษยินดีด้วยของที่มีอยู่ ไม่ใช่ของผู้ไม่สันโดษ ๓. ธรรมนี้เป็ นธรรมของผู้สงัดแล้ว ไม่ใช่ของผู้ยินดีในหมู่คณะ ๔. ธรรมนี้เป็ นธรรมของผู้ปรารถนาความเพียร ไม่ใช่ของผู้เกียจคร้าน ๕. ธรรมนี้เป็ นธรรมของผู้มีสติมั่นคง ไม่ใช่ของคนหลง ๖. ธรรมนี้เป็ นธรรมของผู้มีใจมั่นคง ไม่ใช่ของผู้มีใจไม่มั่นคง ๗. ธรรมนี้เป็ นธรรมของผู้มีปัญญา ไม่ใช่ของผู้ทรามปัญญา
  • 28. งานประกาศพระศาสนา  พระอนุรุทธเถระ มีบทบาทสําคัญอย่างมากในการช่วยพระศาสดาประกาศ พระพุทธศาสนา เพราะท่านชํานาญในทิพพจักษุญาณ จึงเป็ นพระที่เทวดาและมนุษย์ เคารพนับถือ ท่านมีอายุอยู่มานาน หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพาน ได้เป็ นอาจารย์ของ หมู่คณะ มีสัทธิวิหาริก และอันเตวาสิกมาก แม้ในการทําสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ ๒ ก็ยังมีศิษย์ที่สืบเชื้อสายจากท่านเข้าร่วมด้วยที่ปรากฎชื่อ คือ พระอาสภคามีและพระ สุมนะ เอตทัคคะ พระอนุรุทธเถระได้บรรลุพระอรหัตพร้อมวิชา ๓ คือ บุพเพนิวาสานุสสติญาณ ทิพพจักขุญาณ และอาสวักขยญาณ ตามปกตินอกจากเวลาฉันภัตตาหารเท่านั้น นอกนั้นท่านจะพิจารณา ตรวจดูสัตวโลกด้วยทิพพจักขุญาณ (เปรียบกับคนธรรมดาก็ เหมือนกับ ผู้มีใจเอื้ออาทรคอยเอาใจใส่ดูแล ทุกข์สุขของผู้อื่นตลอดเวลา) เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงยกย่องท่านว่าเป็ นผู้เลิศกว่า ภิกษุทั้งหลาย ผู้ได้ทิพพจักขุ ญาณ
  • 29. บุญญาธิการ พระอนุรุทธเถระนี้ ได้สร้างสมบุญกุศลที่จะอํานวยผลให้เกิดทิพยจักษุญาณใน พุทธกาลเป็ นอันมาก คือได้ทําการบูชาด้วยประทีปอันโอฬารที่พระสถูปเจดีย์ ด้วยผล บุญอันนี้จึงทําให้ได้ บรรลุทิพยจักษุญาณ สมกับปณิธานที่ตั้งไว้ วัตรปฏิบัติของท่านอนุรุทธะที่ควรนํามาเป็ นแบบอย่างคือ เป็ นผู้มีปัญญาเฉลียวฉลาด
  • 30. ประวัติพระองคุลิมาล  ท่านเกิดในวรรณะพรามหณ์ เมืองสาวัตถี บิดาชื่อภัคควะ เป็น ปุโรหิตของพระเจ้าปเสนทิโกศล มารดาชื่อ มันตานี มีชื่อเดิมว่า อหิงสกะ มี ความเป็นอยู่สุขสบาย เมื่อเจริญวัยได้ไปศึกษาศิลปวิทยาในสํานักของ อาจารย์ทิศาปาโมกข์เมืองตักกสิลา ท่านตั้งใจศึกษาอย่างเต็มที่ ขณะเดียวกันก็รับใช้อาจารย์และภรรยาด้วยความเคารพจึงทําให้ท่านเป็นที่ โปรดปรานมาก จนศิษย์คนอื่น ๆ พากันอิจฉาริษยาและใส่ร้ายท่านต่าง ๆ นานา โดยที่สุดกล่าวหาว่าท่านเป็นชู้กับภรรยาของอาจารย์
  • 31. ในที่สุดอาจารย์ก็หลงเชื่อ  อาจารย์ จึงวางแผนฆ่าองคุลิมาล โดยบอกว่าศิษย์ที่ศึกษาจบศิลปวิทยานั้นต้อง ให้ครุทักษิณา (ของบูชาครู) แก่อาจารย์ กล่าวคือ นิ้วมือขวาของคน 1,000 นิ้ว ด้วยเชื่อว่าท่านจะต้องถูกฆ่าตายเสียก่อน อหิงสกะกุมารจึงออกล่านิ้วเมือคน และ นํามาร้อยเป็ นพวงมาลัยคล้องไหล่ เป็ นเหตุให้ได้ชื่อว่า “องคุลิมาล” (ผู้มีนิ้วเป็ น พวงมาลัย) ต่อมาความทราบถึงพระเจ้าปเสนทิโกศล พระองค์จึงรับสั่งให้จัดกําลัง ทหารออกตามล่าท่าน  เหตุที่องคุลิมาลเดินทางผิดประพฤติเป็ นโจร เพราะ ต้องการเรียน มนต์  วันหนึ่ง โจรองคุลิมาลนับนิ้วมือยังขาดอีกนิ้วเดียวก็จะครบ 1,000 นิ้ว  ฝ่ายนางมันตานีซึ่งเป็นมารดาของท่าน ทราบว่ากองทัพของพระเจ้าปเสนทิ โกศลกําลังมา จึงเดินมุ่งหน้าไปทางป่าที่โจรองคุลิมาลซ่อนอยู่ และวันนั้น พระพุทธเจ้าก็ได้ทรงตรวจดูอุปนิสัยของเวไนยสัตว์ ทรงเห็นอุปนิสัยของโจรองคุ ลิมาลจะสามารถบรรลุมรรคผลได้ จึงรีบเสด็จไปโปรดทันเวลาที่นางมันตานีมาถึง
  • 32. พระพุทธเจ้าโปรดแสดงธรรม  เมื่อโจรองคุลิมาลเห็นพระพุทธเจ้าก็วิ่งไล่ตามพระพุทธเจ้าเพื่อ ประสงค์จะฆ่าและตัดเอานิ้วมือ พระพุทธเจ้าทรงแสดงปาฏิหาริย์ให้ โจรองคุลิมาลวิ่งตามไม่ทันจนรู้สึกเหนื่อยล้า แล้วหยุดยืนอยู่กับที่ร้อง ขึ้นว่า “หยุดก่อน สมณะ หยุดก่อน” พระพุทธเจ้าตรัสตอบว่า “เรา หยุดแล้ว แต่ท่านยังไม่หยุด” หมายถึง หยุดฆ่าสัตว์แล้ว แต่องคุ ลิมาลยังไม่หยุดพอพระพุทธเจ้าอธิบายให้ทราบว่า เราหยุดฆ่าสัตว์ แล้ว แต่ท่านยังไม่หยุด จึงพิจารณาตามและได้บรรลุโสดาปัตติผล ยอมทิ้งดาบก้มลงกราบพระบาทและทูลขอบวช พระพุทธเจ้าทรงบวช ให้ตามที่ทูลขอ ครั้นบวชแล้วเจริญวิปัสสนาจนได้บรรลุอรหัตผลใน เวลาต่อมา
  • 33. ภายหลังบรรลุอรหัตผลแล้ว  ขณะเสวยวิมุตติสุขอยู่นั้นเกิดปี ติโสมนัส ท่านได้แสดงความรู้สึกว่า “ผู้ใดประมาทมาก่อนแล้วเลิกประมาทเสียได้ภายหลัง ผู้นั้นย่อมเป็ น เหมือนพระจันทร์ที่โผล่พ้นเมฆหมอก คือทําโลกนี้ให้สว่างไสวได้”  ต่อมาท่านออกบิณฑบาต แต่กลับถูกขว้างปาด้วยก้อนดินและท่อนไม้ จนบาตรแตก ตัวท่านก็บาดเจ็บ จึงจําต้องกลับมาเฝ้ าพระพุทธเจ้าที่ วัดเชตวัน พระพุทธเจ้าทรงสอนท่านให้อดทน และทรงสอนว่าท่าน กําลังได้รับผลกรรมที่ทําไว้ ท่านจึงแผ่เมตตาจิตไปในสรรพสัตว์ ท่าน ได้รับสรรเสริญว่าเป็ นพระเถระประเภท “ต้นคดปลำยตรง” คือ เบื้องต้นประมาทพลาดพลั้ง แต่ต่อมากลับเนื้อกลับตัวเป็ นพระ สาวกที่ดี เป็ นตัวอย่างของอนุชนรุ่นหลังเป็ นอย่างดี
  • 34. คุณธรรมที่ควรถือเป็ นแบบอย่าง  1.เป็ นผู้มีความขยันหมั่นเพียร พระองคุลิมาลตอนเป็ นอหิงสกะกุมาร ได้เข้ารับ การศึกษาเล่าเรียนจากอาจารย์ทิศาปาโมกข์ ท่านมีความขยันหมั่นเพียรในการศึกษา เป็ นอย่างยิ่ง ตลอดถึงคอยรับใช้ใกล้ชิดอาจารย์และภรรยา จนเป็ นที่รักและโปรด ปรานของอาจารย์  2. เป็ นผู้ไม่ประมาท หลังจากที่พระองคุลิมาลได้เข้าเฝ้ าและฟังพระธรรมเทศนาของ พระพุทธเจ้าแล้ว ท่านกลับได้สติ จึงทูลขอบวชซึ่งพระพุทธเจ้าก็ทรงอนุญาตบวชให้ นับว่าท่านเป็ นคนประเภทต้นคดปลายตรง สมควรยึดถือเป็ นเยี่ยงอย่าง  3. เป็ นผู้มีความอดทน หลังจากท่านบวชแล้ว ประชาชนมักหวาดกลัวท่าน บางครั้ง ถึงกับถูกเขาขว้างด้วยก้อนหิน ได้รับทุกขเวทนาอย่างแสนสาหัส แต่ท่านก็มีความ อดทน บําเพ็ญสมณธรรมและได้บรรลุอรหันต์ในที่สุด 
  • 35. จิตตคหบดี  จิตตคหบดี เป็ นมหาอุบาสกคนสําคัญในสมัย พุทธกาล ถือกําเนิดในตระกูล ของเศรษฐีที่ นครมัจฉิกาสณฑ์ แคว้นมคธ โดยท่านมีชื่อเมื่อแรกเกิดว่า จิตต กุมาร ที่แปลว่า กุมารผู้ยังให้เกิดความวิจิตร เพราะวันที่ท่านเกิดได้มีเหตุ อัศจรรย์คือมีฝนดอกไม้ทิพย์ตกลงมาทั่วนคร  จิตตคฤหบดีได้ฟังธรรมจากพระมหานามะ  สมัยหนึ่ง พระเถระชื่อว่ามหานามะ ซี่งเป็ นหนึ่งในจํานวนพระเถระปัญจวัคคีย์ ได้จาริกไปถึงนครมัจฉิกาสัณฑะ จิตตคฤหบดีเมื่อได้พบท่านก็เลื่อมใสใน อิริยาบถของท่าน จึงรับบาตรแล้วนิมนต์มายังเรือน บูชาด้วยบิณฑบาต เมื่อ ท่านฉันเสร็จแล้ว พระ เถระเห็นอุปนิสัยของจิตตคฤหบดีนั้น เมื่อแสดงธรรมจึง แสดงเฉพาะสฬายตนวิภังค์เท่านั้น ไม่ช้านัก จิตตคฤหบดีก็บรรลุโสดาปัตติผล เพราะตนมีการพิจารณาเห็นสังขารอันทุกข์บีบคั้นแล้วในภพก่อน
  • 36. ถวายสวนสร้างวัด  จากนั้นคฤหบดีก็นําไปยังสวนของตน ที่ชื่อ อัมพำฏกวัน ปรำรถนำจะอุทิศสวนแห่งนั้นให้เป็นอำรำม จึงได้กล่ำวถวำย สวนอัมพำฏกวัน ให้เป็น วัดอัมพำฏกำรำม เมื่อเวลาที่จิตต คฤหบดีได้หลั่งนํ้าถวายพระอารามนั้น มหาปฐพีก็ได้หวั่นไหวเพื่อจะ บอกเหตุว่า “พระพุทธศาสนาตั้งมั่นแล้ว”  จิตตคฤหบดีให้สร้างวิหารใหญ่ และที่อยู่ในอุทยานถวายพระเถระ นิมนต์ให้ท่านอยู่รับบิณฑบาตในเรือนตนเป็ นนิตย์ พระอารามนั้นก็ได้ เป็ นอารามที่ท่านเศรษฐีได้สร้างขึ้นเพื่อพวกภิกษุผู้มาจากทิศทั้งปวง แล้ว โดยมีพระสุธรรมเถระได้
  • 37. เอตัคทัคคะ ต่อมาจิตตคหบดีได้ฟังพระธรรมเทศนาจาก พระสารีบุตร จนสําเร็จเป็ นพระ อนาคามีบุคคลในที่สุดต่อมาจิตตคหบดีได้ชักชวนชาวเมืองจํานวน 3,000 คน ไปเฝ้ า พระพุทธเจ้า ที่ เชตวันมหาวิหาร กรุงราชคฤห์ แต่เนื่องจากเหล่า เทวดาได้จัดเตรียมข้าวปลาอาหารจํานวนมากทําให้เวลาเดินทางกลับข้าวของที่ จิตตคหบดีและชาวเมืองจัดเตรียมมาแทบไม่ได้ใช้สอยเลยพระพุทธเจ้าจึงทรง มอบหมายให้ พระอานนท์ พุทธอุปัฏฐากจัดหาสถานที่เก็บสิ่งของเหล่านี้ซึ่งถือ เป็ น โรงครัว หรือ: โรงเก็บอำหำรคือ กัปปิยกุฎี แห่งแรกใน พระพุทธศาสนา และจิตตคหบดี เป็นต้นเหตุให้มีกำรสร้ำง โรงครัว หรือ: โรงเก็บอำหำร ต่อมำพระพุทธเจ้ำได้ทรงยก ย่อง จิตตคหบดี ให้เป็นเลิศกว่ำอุบำสกทั้งหลำยในทำง  เป็นธรรมกถึกหรือนักบรรยำยธรรม
  • 38. พระมหานามะได้แสดงธรรม ให้จิตตคหบดีฟัง  วันหนึ่งได้แสดงธรรมเรื่อง อำยตนะ 6 (สื่อสำหรับ ติดต่อโลกภำยนอก 6 ประกำร คือ ตำ หู จมูก ลิ้น กำย ใจ) หลังจบธรรมเทศนา จิตตคหบดีได้บรรลุ อนำคำมิผล จิตตคหบดีเอาใจใส่พิจารณาธรรมอยู่เนือง ๆ จนแตกฉาน มีความสามารถในการอธิบายธรรมได้ดี ความสามารถของท่านในด้านนี้เป็ นที่ยอมรับกันอย่าง กว้างขวาง  ลักษณะเด่นของจิตตคหบดี คือ  ใฝ่ธรรม
  • 39. คุณธรรมที่ถือเอาเป็ นแบบอย่าง  1. เป็ นผู้ใฝ่ใจในการศึกษาธรรม จนได้รับการยกย่องจากพระพุทธเจ้า ว่าเป็ นอุบาสกผู้เก่งในการแสดงธรรมและการสั่งสอนธรรม ท่านเป็ น คนฉลาดมีเหตุผลในการให้คําอธิบายหลักธรรมต่าง ๆ ที่เชื่อกันผิด ๆ ให้กลับเข้าใจในทางที่ถูกต้องได้  2. เป็ นคนใจบุญ อุปถัมภ์พระพุทธศาสนาด้วยศรัทธามั่นคง พบ พระสงฆ์ก็ทําบุญถวายทาน สร้างวัดถวาย เป็ นต้น  3. มีศรัทธาตั้งมั่นอยู่ในพระรัตนตรัย โดยมีศรัทธาความเชื่อที่ไม่ คลอนแคลนในพระรัตนตรัย มากกว่าการเป็ นพระเจ้าจักรพรรดิ  4. เป็ นแบบอย่างของอุบาสกที่ดี คือฟังธรรมตามโอกาส บรรยาย ธรรมตามโอกาส ปกป้ องพระพุทธศาสนาเมื่อมีนักบวชในศาสนาอื่น จาบจ้วง และปกป้ องด้วยสติปัญญา ความสามารถ โดยไม่กล่าวร้าย
  • 40. ประวัติพระธรรมทินนาเถรี  เป็ นชาวเมืองราชคฤห์ เมื่อเจริญวัยแล้ว ได้เป็ นภริยา ของท่านวิสาขเศรษฐี ผู้สหายของพระเจ้าพิมพิสาร วิสาข เศรษฐีได้เข้าเฝ้ าพระพุทธเจ้าครั้งแรกพร้อมกันกับพระเจ้าพิม พิสาร ได้บรรลุโสดาปัตติผลตั้งแต่วันนั้น ต่อมาวันหนึ่ง ท่าน เศรษฐีได้รับฟังธรรมของพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอนาคามิผล ปกติพระอริยบุคคลระดับอนาคามี ละความต้องการทางเพศ ได้แล้ว
  • 41. สาเหตุที่บวชเป็ นภิกษุณี นางธรรมทินนา ต้องการออกบวชเป็ นภิกษุณี เพรำะ เลื่อมใสในพระพุทธศำสนำ  เมื่อนางธรรมทินนาบวชแล้วก็ลาอุปัชฌาย์อาจารย์ไปปฏิบัติธรรมใน ป่ าซึ่งอยู่ต่างเมือง อีกไม่นานก็ได้ บรรลุเป็นพระอรหันต์ เป็นผู้แตกฉำนในปฏิสัมภิทำ พระพุทธเจ้าทรงยกย่องพระธรรมทินนาเถรีว่าเป็ น ยอดทำงด้ำนองค์ธรรมกถึก มีปัญญำ เฉลียวฉลำดแสดงธรรมได้อย่ำง
  • 42. คุณธรรมที่ควรถือเป็ นแบบอย่าง  1. เป็ นผู้มีความศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา พระธรรมทินนาเถรีก่อนออกบวช นั้น เมื่อได้ทราบว่าวิสาขเศรษฐีผู้สามีได้เข้าเฝ้ าพระพุทธเจ้าและได้บรรลุธรรมแล้ว จึง มีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ใคร่จะออกบวช จึงขออนุญาตสามีซึ่งสามีก็ อนุญาตให้บวชได้ตามความประสงค์  2. เป็ นผู้มีความกตัญญูกตเวที เมื่อพระเถรีได้บรรลุพระอรหันต์แล้ว ก็หวลระลึกนึกถึง วิสาขาเศรษฐีพร้อมด้วยหมู่ญาติ ก็ได้ เดินทางกลับบ้านเดิมเพื่อแสดงธรรมโปรดวิ สาขเศรษฐีและหมู่ญาติได้ให้รับผลอันเกิดจากการฟังธรรม แสดงถึงความที่พระ เถรีมี ความกตัญญูอย่างแท้จริง  3. เป็ นผู้มีปัญญาเฉลียวฉลาด สามารถแสดงธรรมได้อย่างแตกฉาน ได้รับการยก ย่องจากพระพุทธเจ้าว่าเป็ นเอตทัคคะทางด้านธรรมกถึก จึงสมควรที่จะถือเป็ น แบบอย่างที่ดี 
  • 44. ศาสนิกชนตัวอย่าง มโหสถชาดก  ในเมืองมิถิลา มีเศรษฐีผู้หนึ่งมีนามว่า สิริวัฒกะ ภรรยาชื่อ นาง สุมนาเทวี นางสุมนาเทวีมีบุตรชายคนหนึ่ง ซึ่งเมื่อคลอด ออกมานั้น มีแท่งโอสถอยู่ในมือ เศรษฐีสิริวัฒกะเคยเป็ นโรค ปวดศีรษะมานาน จึงเอาแท่งยานั้นฝนที่หินบดยา แล้วนํามา ทาหน้าผาก อาการปวด ศีรษะก็หายขาด ครั้นผู้อื่นที่มีโรคภัย ไข้เจ็บมาขอปันยานั้นไปรักษา บ้าง ก็พากันหายจากโรค เป็ นที่เลื่องลือไปทั่ว เศรษฐีจึงตั้งชื่อบุตรว่า "มโหสถ" เพราะทารกนั้นมีแท่งยาวิเศษ เกิดมากับตัว เมื่อมโหสถ เติบโตขึ้น ปรากฏว่ามีสติปัญญาเฉลียวฉลาด กว่าเด็กในวัยเดียวกัน
  • 45. กษัตริย์เมืองมิถิลา ทรงพระนามว่า พระเจ้าวิเทหราช ทรงมีนักปราชญ์ราชบัณฑิตประจํา ราชสํานัก 4 คน คือ เสนกะ ปุตกุสะ กามินท์ และ เทวินทะ บัณฑิตทั้ง 4 เคยกราบทูลว่าจะมี บัณฑิต คนที่ห้า มาสู่ราชสํานักพระเจ้าวิเทหราช พระองค์จึงโปรด ให้ เสนาออกสืบข่าวว่า มีบัณฑิตผู้มีสติปัญญา ปราดเปรื่องอยู่ที่ใดบ้าง
  • 46. ผลงานชิ้นแรกที่แสดงถึงสติปัญญาของมโหสถ คือ ออกแบบศำลำ อุปนิสัยของมโหสถนั้น เป็นคน ฉลำด ไม่ใช่ เป็นผู้นำ คติธรรมจาก มโหสถชาดก สอนเราเรื่อง มีปัญญำย่อมแก้ไขปัญญหำได้
  • 47. คติธรรม อีกประการคือ: บําเพ็ญปัญญาบารมี  "ปัญญาอันลํ้าเลิศนั้นย่อมทําคุณให้แก่บุคคล ยิ่งกว่ามี ทรัพย์นับแสน แม้มิมีปัญญาดั่งปราชญ์ แต่ถ้าเป็ นผู้รู้ จักคิดให้รอบคอบก่อน ก็ย่อมเป็ นผู้มีปัญญาและ ประพฤติชอบแล้ว"
  • 48. มหาชนกชาดก  ณ เมืองมิถิลาแห่งรัฐวิเทหะ พระเจ้าแผ่นดิน ทรงพระนามว่า พระเจ้ามหาชนก ทรงมีพระโอรสสององค์ คือ เจ้าอริฏฐชนก และ เจ้าโปลชนก เจ้าอริฏฐชนกทรงเป็ น อุปราช ส่วนเจ้าโปลชนกทรง เป็ นเสนาบดี เมื่อพระราชบิดาสวรรคต เจ้าอริฏฐชนกผู้ เป็ นอุปราช ก็ได้ครองบ้านเมืองต่อมา เจ้าโปลชนกทรงเป็ นอุปราช ทรงเอาใจใส่ดูแล บ้านเมืองช่วยเหลือพระเชษฐาอย่างดียิ่ง มีอํามาตย์คนหนึ่งไม่พอใจพระเจ้าโปลชนก จึงหาอุบายให้ พระราชาอริฏฐชนกระแวงพระอนุชา โดยทูลพระราชาว่า เจ้าโปลชนก คิดขบถ จะปลงพระชนม์พระราชา พระราชาทรงเชื่อคํา อํามาตย์ จึงให้จับเจ้าโปล ชนกไปขังไว้ เจ้าโปลชนกเสด็จหนี ไปจากที่คุมขังได้หลบไปอยู่ที่ชายแดนเมืองมิถิลา เจ้าโปลชนก ทรงคิดว่า เมื่อครั้งที่ยังเป็ นอุปราชนั้น มิได้เคยคิดร้ายต่อพระราชา ผู้ เป็ นพี่เลย แต่ก็ยังถูกระแวงจนต้องหนีมา ถ้าพระราชาทรงรู้ว่า อยู่ที่ไหนก็คงให้ทหาร มาจับไปอีกจนได้ บัดนี้ผู้คนมากมาย ที่ชายแดนที่เห็นใจ และพร้อมที่จะเข้าเป็ นพวก ด้วย ควรที่จะรวบรวมผู้คนไปโจมตีเมืองมิถิลาเสียก่อนจึงจะดีกว่า
  • 49. พระมหาชนกในทศชาติ เป็ นการบําเพ็ญบามี ในชาติ ที่ 2 พระมหาชนก เป็ นพระโอรสของ พระเจ้ำอริฏฐ ชนก พระมหาชนก ตรัสว่า ความสุขที่แท้จริงของ พระองค์ คือ กำรออกบรรพชำ ความเพียรพยามย่อมมีประโยชน์ แม้มองไม่เห็น ฝั่ง เราก็จะว่ายไปจนกว่าจะถึงฝั่งเข้าสักวันหนึ่ง ผู้ที่กล่ำวเช่นนี้นั้น เป็นคน มุ่งมั่น
  • 50. ผู้ที่ศึกษาเรื่องมหาชนกชาดก  ได้รับข้อคิดจากการบําเพ็ญวิริยบารมีของพระมหาชนก คือ  1. ความเพียรพยายามนําไปสู่ความสําเร็จ เมื่อตั้งใจจะทําสิ่งใดแล้วต้องมีขันติ หรือความอดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาหรืออุปสรรค 2. รู้จัดคิดเห็นหรือคิดถูกวิธี(โยนิโนมนสิการ) เพื่อเอาชนะปัญหาหรืออุปสรรค หรือเพื่อให้การทํางานบรรลุความสําเร็จตามเป้ าหมายที่วางไว้
  • 51. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช  สมเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสรรเพชญ (16 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2175 - 11 กรกฎำคม พ.ศ. 2231; ครองรำชย์ พ.ศ. 2199 - พ.ศ. 2231) เป็นพระมหำกษัตริย์ไทยรัชกำลที่ 27 ในสมัยกรุงศรีอยุธยำ บทบาท และพระราชกรณียกิจที่สําคัญ :  ทรงเป็ นยอดนักปราชญ์-นักปกครอง-นักรบ-เจริญ สัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ สร้างความเจริญก้าวหน้าให้กับ ประเทศชาติอย่างกว้างขวาง
  • 52. ความรอบครอบของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช คือ  โปรดให้สร้ำงเมือง ลพบุรีเป็นรำชธำนี แห่งที่ 2  กษัตริย์ที่ทรงชักชวนให้สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงเปลี่ยน ศาสนาคือพระเจ้ำหลุยส์ที่ 14  พระราชนิพนธ์ที่สําคัญของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช คือสมุทรโฆษคำฉันท์
  • 53. สมเด็จพระนารายณ์มหาราชกับพระพุทธศาสนา  สมเด็จพระนารายณ์มหาราชนอกจากจะทรงเป็ นขัตติยกวี จําเพาะพระองค์เองแล้ว หากแต่ในรัชสมัยของพระองค์ก็ยัง พรั่งพร้อมไปด้วยนักปราชญ์ ราชบัณฑิต และพระมหา เถรานุเถระผู้แตกฉานในคัมภีร์พระไตรปิ ฎกและทรงวิทยาคุณ พระองค์ทรงฝักใฝ่ ในทางพระธรรมและข้อวัตรปฏิบัติทาง พระพุทธศาสนา ทรงวิสาสะกับพระเถรานุเถระทั้งหลาย เหล่านั้นอยู่เนืองๆ ดังจะเห็นได้จากพระราชปุจฉาหลายเรื่อง ที่เกิดขึ้นในรัชกาลของพระองค์ 
  • 54. ต่อ สมเด็จพระนารายณ์มหาราชกับพระพุทธศาสนา  ความ หนักแน่นทางพระพุทธศาสนาของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเห็นได้ชัดเมื่อมี การเผย แผ่ศาสนาคริสต์มายังประเทศไทย บาทหลวงของศาสนาคริสต์ได้นําหลักคํา สอนในคัมภีร์ไบเบิลมาให้พระองค์ทรงศึกษา วันหนึ่งมีบาดหลวงถือไม้เท้ามีไม้กางเขน อันใหญ่เหมือนกับโป๊ ปถือเข้าไปเฝ้ า พระองค์ บอกกับพระองค์ว่า “ถึงเวลาแล้ว เพราะว่าพระองค์ทรงรู้เรื่องของพระผู้เป็ นเจ้า ของพระเยซูคริสต์ดีแล้ว ควรจะรับศีล เป็ นคาธอลิคเสียที” พระองค์ทรงตอบว่า “ถ้าพระผู้เป็ นเจ้าในคัมภีร์ของทานมีอยู่จริง มีอํานาจพิเศษจริง ๆ พระผู้เป็ นเจ้าของท่านก็คงทราบว่าประเทศไทยนี่ เป็ นเมืองนับ ถือพระพุทธศาสนา แล้วพระผู้เป็ นเจ้าให้ข้าพเจ้ามาเกิดในประเทศไทยก็เท่ากับว่าให้ มาเป็ นหัว หน้าของพุทธบริษัท นับถือพระพุทธศาสนา ถ้าข้าพเจ้าเปลี่ยนจิต เปลี่ยน มานับถือศาสนาคาทอลิคที่พวกท่านให้ข้าพเจ้านับถือ มันก็ขัดกับความต้องการของ พระผู้เป็ นเจ้า จะเป็ นโทษเป็ นบาป” (มูลนิธิเผยแพร่ชีวิตประเสริฐ, ม.ป.ป. :41-42)
  • 55. คุณธรรมที่เป็ นแบบอย่าง  1. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงเป็ นแบบอย่างในการใช้ ธรรมะนําการเมืองไทย ในสมัยนั้นมีการล่าอาณานิคม ท่าน สามารถนําหลักธรรมะมาใช้ในการบริหารบ้านเมืองให้พ้นจาก การล่าอาณานิคมของ ประเทศตะวันตกได้อย่างสง่างาม จึง ทรงรักษาไว้ได้ทั้งชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์  2. ทรงมีพระทัยหนักแน่นในการนับถือพระพุทธศาสนา จะ เห็นได้จากพระองค์ทรงปฏิเสธการเข้ารีตศาสนาคริสต์
  • 56. พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ)  พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปัญโญ) หรือรู้จักในนำม พุทธทาสภิกขุ (27 พฤษภำคม พ.ศ. 2449 — 8 กรกฎำคม พ.ศ. 2536) เป็นชำวอำเภอไชยำ จังหวัดสุรำษฎร์ ธำนี เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2449 เริ่มบวชเรียนเมื่ออำยุได้ 20 ปี ที่วัดบ้ำนเกิด จำกนั้นได้เข้ำมำศึกษำ พระธรรมวินัยต่อที่กรุงเทพมหำนคร จนสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค แต่แล้วท่ำนพุทธทำส ภิกขุก็พบว่ำสังคมพระพุทธศำสนำแบบที่เป็นอยู่ในขณะนั้น แปดเปื้อนเบือนบิดไปมำก และไม่ อำจทำให้เข้ำถึงหัวใจของพระพุทธศำสนำได้เลย ท่ำนจึงตัดสินใจหันหลังกลับมำปฏิบัติธรรมที่ อำเภอไชยำ ซึ่งเป็นภูมิลำเนำเดิมของท่ำนอีกครั้ง พร้อมปวำรณำตนเองเป็น พุทธทาส เนื่องจำกต้องกำรถวำยตัวรับใช้พระพุทธศำสนำให้ถึงที่สุด  ผลงำนเด่นของทำสพุทธทำสคืองำนหนังสือ อำทิ หนังสือพุทธธรรม, ตำมรอยพระอรหันต์ และ คู่มือมนุษย์ และเป็นสงฆ์ไทยรูปแรกที่บุกเบิกกำรใช้โสตทัศนูปกรณ์สมัยใหม่สำหรับกำรเผย แพร่ธรรมะ และท่ำนมีสหำยธรรมคนสำคัญ คือ ปัญญำนันทภิกขุ วัดชลประทำนรังสฤษฎ์ และ ท่ำน บ.ช. เขมำภิรัตน์[
  • 57. ผลงานแห่งชีวิต  ตลอดชีวิต ของ ท่านอาจารย์พุทธทาส ท่านยํ้าอยู่เสมอ ว่า "ธรรมะ คือ หน้าที่" เป็ นการทําหน้าที่ เพื่อความอยู่รอด ทั้งทางฝ่ายกาย และฝ่ายวิญญาณ ของมนุษย์ และ ท่าน ได้ทํา หน้าที่ ในฐานะ ทาสผู้ซื่อสัตย์ ของพระพุทธเจ้า ทุกอณูแห่ง ลมหายใจ เข้าออก จนแม้วาระสุดท้าย แห่งชีวิต จึงไม่น่า สงสัยเลยว่า ผลงาน ที่ท่าน สร้างสรรค์ ไว้ เพื่อ เป็ น มรดก ทางธรรมนั้น จะมีมากมาย สักปานใด ซึ่งจะขอนํามากล่าว เฉพาะ ผลงานหลักๆ ดังนี้ คือ
  • 58. ต่อ ผลงานแห่งชีวิต  ๑. การจัดตั้ง สถานปฏิบัติธรรม สวนโมกขพลาราม และ สวนโมกข์นานาชาติ  ๒. การร่วมกับ คณะธรรมทาน ในกำรออกหนังสือพิมพ์ "พุทธสำสนำ" รำย ๓ เดือน นับเป็นหนังสือพิมพ์ ทำง พระพุทธศำสนำ เล่มแรก ของไทย เริ่มตีพิมพ์ เมื่อเดือน พฤษภำคม พ.ศ.๒๔๗๖ และ ต่อเนื่องมำ จนถึงปัจจุบัน เป็นเวลำรวม ๖๑ ปี นับเป็นหนังสือพิมพ์ ทำง พระพุทธศำสนำ ที่มีอำยุยืนยำว ที่สุดของไทย และเป็นผลงำนชิ้นแรก ของพุทธทำสภิกขุ  ๓. การพิมพ์หนังสือ ชุด "ธรรมโฆษณ์" ซึ่งเป็ นหนังสือที่ รวบรวม พิมพ์จาก ปาฐกถาธรรม ที่ท่านแสดงไว้ในวาระต่างๆ และ งานหนังสือเล่ม เล่มอื่นๆ ของท่าน
  • 59. ท่านพุทธทาสบรรยายธรรมเรื่อง = พุทธธรรมกับ ประชาธิปไตย  จึงถูกกล่าวหาว่า เป็นคอมมิวนิสต์ ปณิธานของท่านพุทธทาสภิกขุ ท่านพุทธทาสภิกขุได้ตั้งปณิธานไว้ 3 ประการคือ ประการที่ 1 ให้ทุกคนที่นับถือศาสนาของตนได้เข้าถึงธรรมะของ ศาสนาที่ตนนับถือ ประการที่ 2 ต้องการทาความเข้าใจระหว่างศาสนา เพื่อไม่ให้เกิด การแตกแยกแตกร้าว ประการที่ 3 มีความต้องการที่จะพรากจิตของชาวโลกให้ห่างจาก วัตถุนิยม
  • 60. คุณธรรมที่เป็ นแบบอย่าง 1. ท่านทรงเป็ นแบบอย่างของพระภิกษุและชาวพุทธทุกคนในการศึกษา ค้นคว้าหลักธรรมะให้เข้าใจอย่างแท้จริง จนสามารถเทศนาสั่งสอน พุทธศาสนิกชนทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ได้เข้าใจธรรมะของ พระพุทธเจ้าอย่างถูกต้องชัดเจน และสามารถนําไปเป็ นแนวปฏิบัติได้ 2. ท่านทรงแต่งตําราทางพระพุทธศาสนาไว้มากมาย ก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อผู้อ่านที่สามารถนําหลักธรรมของพระพุทธเจ้าที่ท่าน เขียนไว้ไปประพฤติปฏิบัติได้
  • 61. ต่อ คุณธรรมที่เป็ นแบบอย่าง  3. ท่านมีปณิธานอย่างแรงกล้าที่จะให้มวลมนุษย์ได้เข้าใจหลักธรรมะ ที่ตนนับถือ (ไม่ว่าศาสนาใดก็ตาม) ต้องการสร้างความปองดองกัน ในทุกศาสนา ไม่ก่อให้เกิดความแตกแยก และต้องการให้ทุกคนไม่ หลงมัวเมาอยู่ในแต่ “วัตถุนิยม” แต่หันมาสนใจธรรมะ เข้าใจธรรมะ และปฏิบัติธรรมะ ในลักษณะ “ธรรมนิยม” 4. ท่านเป็ นแบบอย่างของชาวพุทธในการเผยแผ่ธรรมะที่ถูกต้อง ให้แก่ชาวโลก ดังนั้นจึงมีผู้ให้ความสนใจที่จะเข้าไปศึกษาธรรมะกับ ท่านในสวนโมกขพลาราม ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ท่านได้ ช่วยรื้อฟื้ นธรรมะของพระพุทธเจ้า ปลุกชาวพุทธให้ตื่นตัว ให้ก้าวหน้า เพื่อทํากิจอันเป็ นประโยชน์แก่พระศาสนา
  • 62. ขามีส่วนเลวบ้างช่างหัวเขา จงเลือกเอาสิ่งที่ดี เขามีอยู่ เป็ นประโยชน์โลกบ้างยังน่าดู สิ่งทีชั่ว อย่าไปรู้ของเขาเลย จะหาคนมีดีโดยส่วน เดียว อย่ามัวเที่ยวค้นหาสหายเอ๋ย เหมือนตา มหาหนวดเต่าตายเปล่าเลย ฝึกให้เคยมองแต่ ดีมีคุณจริง”
  • 63.  กลับมาเถิด ศีลธรรม กลับมาเถิด กําลังเกิด ภัยร้าย อันใหญ่หลวง แก่สัตว์โลก ทั่วถิ่น จักรวาลปวง น่าเป็ นห่วง ความพินาศ ฉกาจเกิน ….กลับมาเถิด ศีลธรรม กลับมาเถิด! ในโลกเกิด กลียุค อย่างฉุกเฉิน หลงวัตถุ บ้าคลั่ง เกินบังเอิญ มัวเพลิดเพลิน สิ่งกาลี มีกําลัง ….กลับมาเถิด ศีลธรรม กลับมาเถิด! ความเลวร้าย ลามเตลิด จวนหมดหวัง รีบกลับมา ทันเวลา พาพลัง มายับยั้ง โลกไว้ ให้ทันกาล ฯ
  • 64. พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัน ปญฺญานนฺ โท)  พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั่น ปัญญานันโท) (11 พฤษภำคม พ.ศ. 2454 — 10 ตุลำคม พ.ศ. 2550) หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปคือ หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ ท่ำนเป็นที่รู้จักในฐำนะ พระสงฆ์ผู้ปฏิรูปแนวทำงกำรเผยแผ่พระพุทธศำสนำของพระสงฆ์ไทย ผู้เป็นสหธรรมิกร่วม อุดมกำรณ์คนสำคัญของพระธรรมโกศำจำรย์ (เงื่อม อินทปัญโญ)[1] และผู้อุทิศชีวิตให้กับกำร เผยแผ่พระพุทธศำสนำจนวำระสุดท้ำยของชีวิต  พระพรหมมังคลำจำรย์กำเนิดที่ ตำบลคูหำสวรรค์ อ.เมือง จ.พัทลุง เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภำคม พ.ศ. 2454 เดิมมีนำมว่ำ ปั่น เสน่ห์เจริญ หลังใช้ชีวิตฆรำวำสจนมีอำยุได้18 ปี ได้บรรพชำเป็นสำมเณรที่วัดอุปนันทนำรำม จังหวัดระนอง โดยมี พระรณังคมุนี เป็นพระ อุปัชฌำย์ เมื่ออำยุครบ 20 ปีบริบูรณ์จึงได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุที่วัดนำงลำด อ.เมือง จ.พัทลุง โดยมี พระจรูญกรณีย์ เป็นอุปัชฌำย์เมื่อปี พ.ศ. 2474  ท่ำนมรณภำพวันที่ 10 ตุลำคม พ.ศ. 2550 ด้วยอำกำรปอดอักเสบและไตวำย ที่โรงพยำบำลศิริ รำช สิริอำยุรวม 96 ปี
  • 65. คติธรรม คําสอน– หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ  ชีวิตกับดวง เมื่ออะไรเกิดขึ้นในชีวิต อย่าคิดว่าเป็ นเรื่องคนอื่นทําให้ อย่าคิดว่าเป็ นโชคชะตาราศี อย่าคิดว่าดวงดี ดวงไม่ดี อย่าคิดว่าอะไรๆ มาทําให้เป็ น แต่จงคิดให้ถูกต้องว่า ฉันเองแหละเป็ นผู้ทําสิ่งนั้น  อกเขา อกเรา เราต้องการความสุขอย่างใด เขาก็ต้องการความสุขอย่างนั้น เราเกลียดความทุกข์อย่างใด เขาก็เกลียดความทุกข์อย่างนั้น สิ่งใดเราไม่ชอบ สิ่งนั้นเขาก็ไม่ขอบเหมือนกัน
  • 66. ปรารถนาดีต่อผู้อื่น  เวลาเราพบใคร เราก็ควรนึกว่าขอให้คุณเป็ นสุข ขอให้คุณปราศจากความทุกข์ ความเดือดร้อน ขอให้คุณมีความเจริญก้าวหน้าในชีวิตในการงาน เพียงแต่เราคิดเท่านั้น เราก็สบายใจแล้ว คิดอย่างไรได้อย่างนั้น ถ้าเราคิดให้คนอื่นสบาย เราก็สบาย ถ้าเราคิดให้คนอื่นเดือดร้อน เราก็มีความทุกข์ความเดือดร้อน อธิษฐานใจ ขอให้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ มาตั้งอยู่ในใจของข้าพเจ้า ขอให้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็ นกําลังใจให้แก่ข้าพเจ้า ขอให้ข้าพเจ้า มีใจซื้อสัตย์ มีความอดทน มีความเข้มแข็ง มีความเสียสละ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตัว
  • 67. สมนศักดิ์ของหลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ คือ พระพรหมมังคลำ จำรย์  พุทธทาสภิกขุกับหลวงพ่อปัญญานันทภิกขุมีความเด่นเหมือนกันคือ เทศน์ได้น่ำฟัง เข้ำใจง่ำย และชวนติดตำม
  • 68. คุณธรรมที่เป็ นแบบอย่าง ท่านปัญญานันทะภิกขุเป็ นพระ ญาติธรรมกับท่านพุทธทาสภิกขุ จึงมี บุคลิกลักษณะเช่นเดียวกับท่านพุทธทาสภิกขุ ท่านจึงมีคุณธรรมที่เป็ น แบบอย่างเหมือนกันกับท่านพุทธทาสภิกขุ ดังนี้  1. ท่านทรงเป็ นแบบอย่างของพระภิกษุและชาวพุทธทุกคนในการศึกษาค้นคว้า หลักธรรมะ ให้เข้าใจอย่างแท้จริง โดยเหตุผลเช่นเดียวกับท่านพุทธทาสภิกขุ  2.ท่าน ทรงแต่งตําราทางพระพุทธศาสนาไว้มากมายก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ผู้อ่านที่สามารถ นําหลักธรรมของพระพุทธเจ้าที่ท่านเขียนไว้ไปประพฤติปฏิบัติ ได้  3. ท่านเป็ นแบบอย่างของชาวพุทธในการเผยแผ่ธรรมะที่ถูกต้องให้แก่ชาวโลก โดยท่านได้เดินทางไปเผยแผ่ธรรมะในประเทศต่าง ๆ หลายประเทศ
  • 69. ดร.เอ็มเบคการ์  ประวัติครอบครัว  ดร. เอ็มเบคการ์ มีชื่อเต็มว่า ดร.พิมเรา รามชิเอ็มเบคการ์ เป็ นคนในวรรณะ จัณฑาลซึ่งสังคมฮินดู ของอินเดียรังเกียจเนื่องจากเป็ นวรรณที่ ตํ่าสุดบางครั้งก็ เรียกวรรณะนี้ว่า “อวรรณะ” คือคนไม่มีวรรณะหรือไม่มีสังกัด สําหรับพวกที่มีวรรณะ หรือมีสังกัดจะมี 4 กลุ่ม ตามลําดับคือ กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ และศูทร เรียกว่า พวก “สวรรณะ” และสําหรับวรรณะจันฑาลนี้จะถูกห้ามไม่ให้เข้าไปใช้นํ้าในสระ สาธารณะร่วมกันกับ พวกวรรณะอื่น ๆ ข้างต้นดังกล่าว ให้ใช้เฉพาะนํ้าที่สกปรก เท่านั้น พวกเด็ก ๆ ก็ไม่อนุญาตให้เข้าเรียนในโรงเรียนที่เด็กฮินดูเรียนกันทั้งที่พวก เขานับถือ เทพเจ้าองค์เดียวกันกับพวกฮินดูทั้งหลาย อยู่ภายใต้ประเพณีวัฒนธรรมอัน เดียวกัน แต่โบสถ์ฮินดูก็ไม่ยอมให้พวกเขาเข้าไปสักการะหรือร่วมพิธีทางศาสนาเป็ น อัน ขาด ร้านตัดผม ร้านทําผม และร้านซักรีดเสื้อผ้าก็ไม่ยอมให้พวกเขาไปใช้บริการ
  • 70. ประวัติการศึกษา ดร. เอ็มเบดการ์ สําเร็จการศึกษาปริญญาเอกทางเศรษฐศาสตร์ ปริญญาเอกทาง รัฐศาสตร์ และเป็ นเนติบัณฑิตอังกฤษ ได้รับปริญญาเอกกิตติมศักดิ์ทางด้านกฎหมาย จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย  อาชีพ  ดร. เอ็มเบดการ์ ประกอบอาชีพเป็ นทนายความ เช่นเดียวกับมหาตมคานธี ต่อมา ได้รับแต่งตั้งให้เป็ นสมาชิกสภานิติบัญญัติของรัฐบอมเบย์  ผลงานเด่น  ดร. เอ็มเบดการ์ ได้ทําการต่อสู้เพื่อสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและศาสนา จนสําเร็จ และสามารถทําให้คนในวรรณะจันฑาลมีความเสมอภาพกับคนในวรรณะอื่น ในทุก ๆ ด้าน แต่อย่างไรก็ดีสังคมอินเดียในปัจจุบันโดยทางนิตินัยนั้นถือว่ามีความเท่า เทียม กัน แต่ในทางพฤตินัยยังมีการแบ่งชั้นวรรณะกันอยู่เรื่อยมา
  • 71. ผลงานทางพระพุทธศาสนา  ดร. เอ็มเบดการ์ ถือว่าเป็ นบุคคลแรกของอินเดียที่ได้นําเอา พระพุทธศาสนากลับมาสู่มาตุภูมิ (ถิ่นกําเนิดพระพุทธศาสนา) โดย ตัวท่านเองในเบื้องแรกนั้นนับถือศาสนาพราหมณ์ ต่อมาจึงเปลี่ยนมา นับถือพระพุทธศาสนา ท่านได้เข้าพิธีอย่างเป็ นทางการ และท่านได้ ยกย่องพระพุทธศาสนาว่า เป็ นศาสนาที่สร้างสันติภาพให้แก่โลก เพราะพระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาที่เป็ นประชาธิปไตย ให้ความเสมอ ภาค ภราดรภาพ และยกย่องความเป็ นมนุษย์อย่างเท่าเทียมกัน  ดังนั้น ดร. เอ็มเบดการ์ จึงต้องการให้สังคมอินเดีมีความเท่า เทียมกัน จึงพยายามที่จะ ลบล้ำงลัทธิกำรถือชนชั้นวรรณะ
  • 72. คุณธรรมที่ถือเป็ นแบบอย่าง  ดร. เอ็มเบดการ์ ใช้ธรรมะนําการเมืองของอินเดีย สมัยต่อสู้ เอกราชจากอังกฤษ เป็ นผู้นําของรัฐสภาผู้ร่างรัฐธรรมนูญของ อินเดีย เป็ นบุคคลแรกที่นําเอาพระพุทธศาสนากลับมาสู่ มาตุภูมิ จึงเป็ นที่ศรัทธาของชาวอินเดียทั่วไป จนกลับใจหัน มานับถือพระพุทธศาสนาตามอย่างท่านรวมเป็ นจํานวนหลาย ล้านคน
  • 73. ข้อคิด ข้อปฏิบัติ จากพระอาจารย์  ถ้านักเรียนอยากประสพความสําเร็จในชีวิตจงปฎิบัติดังนี้  - สมาทานศิล 5 ก่อนเข้านอน ทุกวัน ต่อจากนั้น  -สวดมนต์ อรหังสัมมา เป็นต้นไป และ อิติปิโส เป็นต้นไป แผ่เมตตา และนั่งสมาธิ อย่างน้อย 5 นาที เสร็จแล้วให้ อุทิศบุญให้ตนเอง เทวดาที่รักษาตัวเรา บิดามารดา เจ้า กรรมนายเวร และสรรพสัตว์ทั้งหลาย  (กรณีจะสอบ หรือสอบเข้า ให้ปฏิบัติติดต่อกัน 9 วัน ได้ผลดีนักแล เคยสาเร็จมาแล้ว)
  • 74. การเดินทุกก้าวนั้น หมายถึงอนาคต ที่ เราเลือกเอง จงใช้ทุกนาที อย่างมีสติ โชคดีในสอบปลายภาคทุกคน นะครับ ขอให้โชคดีสําหรับ อนาคต นักศึกษา – นิสิต ปี 1 ทุกคนนะครับ