SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ (The Sun) เป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ตรงตาแหน่งศูนย์กลางของ
ระบบสุริยะและเป็นศูนย์กลาง
ของแรงโน้มถ่วง ทาให้ดาวเคราะห์และบริวารทั้งหลายโคจรล้อมรอบ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets) เป็นดาวเคราะห์ขนาดเล็ก มีความ
หนาแน่นสูงและพื้นผิวเป็น
ของแข็ง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นธาตุหนัก มีบรรยากาศอยู่เบาบาง ทั้งนี้เนื่องจาก
อิทธิพลจากความร้อนของ
ดวงอาทิตย์และลมสุริยะ ทาให้ธาตุเบาเสียประจุ ไม่สามารถดารงสถานะอยู่
ได้ ดาวเคราะห์ชั้นใน
บางครั้งเรียกว่า ดาวเคราะห์พื้นแข็ง “Terrestrial Planets"เนื่องจาก
มีพื้นผิวเป็นของแข็งคล้ายคลึง
กับโลก ดาวเคราะห์ชั้นในมี 4 ดวง คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาว
อังคาร
ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets) เป็นดาวเคราะห์ขนาดใหญ่
แต่มีความหนาแน่นต่า เกิดจาก
การสะสมตัวของธาตุเบาอย่างช้าๆ ทานองเดียวกับการก่อตัวของก้อน
หิมะ เนื่องจากได้รับอิทธิพลของ
ความร้อนและลมสุริยะจากดวงอาทิตย์เพียงเล็กน้อย ดาวเคราะห์พวกนี้จึง
มีแก่นขนาดเล็กห่อหุ้มด้วย
ก๊าซจานวนมหาสาร บางครั้งเราเรียกดาวเคราะห์ประเภทนี้ว่า ดาวเคราะห์
ก๊าซยักษ์ (Gas Giants) หรือ Jovian Planets ซึ่งหมายถึงดาว
เคราะห์ที่มีคุณสมบัติคล้ายดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์ชั้นนอกมี 4 ดวง
คือ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
ดวงจันทร์บริวาร (Satellites) โลกมิใช่ดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวที่มีดวง
จันทร์บริวาร โลกมีบริวาร
ชื่อว่า “ดวงจันทร์” (The Moon) ขณะที่ดาวเคราะห์ดวงอื่นก็มีบริวาร
เช่นกัน เช่น ดาวพฤหัสบดีมีดวงจันทร์ขนาดใหญ่ 4 ดวงชื่อ ไอโอ (Io), ยูโร
ปา (Europa), กันนีมีด (ganymede) และคัลลิสโต
(Callisto) ดาวเคราะห์และดวงจันทร์ถือกาเนิดขึ้นพร้อมๆ กัน เพียงแต่
ดวงจันทร์มิได้รวมตัวกับดาวเคราะห์โดยตรง แต่ก่อตัวขึ้นภายในวงโคจรของ
ดาวเคราะห์ เราจะสังเกตได้ว่า หากมองจากด้านบนของระบบสุริยะ จะเห็น
ได้ว่า ทั้งดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์และดวงจันทร์ส่วนใหญ่ จะหมุนรอบ
ตัวเองในทิศทวนเข็มนาฬิกา และโคจรรอบดวงทิตย์ในทิศทวนเข็มนาฬิกา
เช่นกันหากมองจากด้านข้างของระบบสุริยะก็จะพบว่า ทั้งดวงอาทิตย์ดาว
เคราะห์ และดวงจันทร์บริวาร จะอยู่ในระนาบที่ใกล้เคียงกับ
สุริยะวิถีมาก ทั้งนี้ก็เนื่องมาจากระบบสุริยะทั้งระบบ ก็กาเนิดขึ้นพร้อมๆ กัน
โดยการยุบและหมุนตัวของจานฝุ่น
ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf Planets) เป็นนิยามใหม่ของสมาพันธ์ดารา
ศาสตร์สากล (International Astronomical Union) ที่
กล่าวถึง วัตถุขนาดเล็กที่มีรูปร่างคล้ายทรงกลม แต่มีวงโคจรเป็นรูป
รี ซ้อนทับกับดาวเคราะห์ดวงอื่น และไม่อยู่ในระนาบของสุริยะวิถี ซึ่ง
ได้แก่ ซีรีส พัลลาส พลูโต และดาวที่เพิ่งค้นพบใหม่ เช่น อีริส เซ็ดนา วารู
นา เป็นต้น (ดูภาพที่ 3 ประกอบ)
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids) เกิดจากวัสดุที่ไม่สามารถรวมตัวกันเป็น
ดาวเคราะห์ได้ เนื่องจากแรงรบกวนจากดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ เช่น ดาว
พฤหัสบดี และดาวเสาร์ ดังเราจะพบว่า ประชากรของดาวเคราะห์น้อย
ส่วนใหญ่อยู่ที่ “แถบดาวเคราะห์น้อย” (Asteroid belt) ซึ่งอยู่
ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์แคระเช่น เซ
เรส ก็เคยจัดว่าเป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่ที่สุด (เส้นผ่านศูนย์กลาง
900 กิโลเมตร) ดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่จะมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์
เป็นรูปรีมาก และไม่อยู่ในระนาบสุริยะวิถี ขณะนี้มีการค้นพบดาวเคราะห์
น้อยแล้วประมาณ 3 แสนดวง
ดาวหาง (Comets) เป็นวัตถุขนาดเล็กเช่นเดียวกับดาวเคราะห์น้อย แต่มี
วงโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงยาวรีมาก มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นก๊าซใน
สถานะของแข็ง เมื่อดาวหางเคลื่อนที่เข้าหาดวงอาทิตย์ความร้อนจะให้มวล
ของมันระเหิดกลายเป็นก๊าซ ลมสุริยะเป่าให้ก๊าซเล่านั้นพุ่งออกไปในทิศ
ทางตรงข้ามกับดวงอาทิตย์กลายเป็นหาง
วัตถุในแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Objects) เป็นวัตถุที่หนาวเย็น
เช่นเดียวกับดาวหาง แต่มีวงโคจรอยู่ถัดจากดาวเนปจูนออกไป บางครั้งจึง
เรียกว่า Trans Neptune Objects ทั้งนี้แถบคุยเปอร์จะอยู่ใน
ระนาบของสุริยะวิถี โดยมีระยะห่างออกไปตั้งแต่ 40 – 500 AU (AU ย่อ
มาจาก Astronomical Unit หรือ หน่วยดาราศาสตร์ เท่ากับระยะทาง
ระหว่างโลกถึงดวงอาทิตย์หรือ 150 ล้านกิโลเมตร) ดาวพลูโตเองก็จัดว่า
เป็นวัตถุในแถบคุยเปอร์ รวมทั้งดาวเคราะห์แคระซึ่งค้นพบใหม่ เช่น อี
ริส เซ็ดนา วารูนา เป็นต้น ปัจจุบันมีการค้นพบวัตถุในแถบไคเปอร์แล้ว
มากกว่า 35,000 ดวง
เมฆออร์ท (Oort Cloud) เป็นสมมติฐานที่ตั้งขึ้นโดยนักดาราศาสตร์
ชาวเนเธอร์แลนด์ชื่อ แจน ออร์ท (Jan Oort) ซึ่งเชื่อว่า ณ สุดขอบของ
ระบบสุริยะ รัศมีประมาณ 50,000 AU จากดวงอาทิตย์ ระบบสุริยะ
ของเราห่อหุ้มด้วยวัสดุก๊าซแข็ง ซึ่งหากมีแรงโน้มถ่วงจากภายนอกมา
กระทบกระเทือน ก๊าซแข็งเหล่านี้ก็จะหลุดเข้าสู่วงโคจรรอบดวงอาทิตย์
กลายเป็นดาวหางวงโคจรคาบยาว (Long-period comets)
ข้อมูลที่น่ารู้
>>ระบบสุริยะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12,000 ล้านกิโลเมตร
>>99% ของเนื้อสารทั้งหมดของระบบสุริยะ รวมอยู่ที่ดวงอาทิตย์
>>ในปัจจุบันถือว่า ดาวเคราะห์มี 8 ดวง ดาวพลูโต ดาวเคราะห์น้อย
ขนาดใหญ่ เช่น ซีรีส จูโน พัลลาส เวสตา และวัตถุไคเปอร์ที่มีขนาดใหญ่
เช่น
อีรีส เซดนา ถูกจัดประเภทใหม่ว่าเป็น ดาวเคราะห์แคระ
>>ดาวศุกร์มีอุณหภูมิพื้นผิวที่สูงสุดในระบบสุริยะ (ร้อนกว่าดาวพุธ)
เนื่องจากมีภาวะเรือนกระจก
>>ดวงจันทร์บริวารขนาดใหญ่ที่โคจรรอบดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ที่ถูก
ค้นพบแล้ว มีจานวนไม่น้อยกว่า 130 ดวง
>>นักดาราศาสตร์ค้นพบดาวเคราะห์น้อยจานวนมากกว่า 300,000
ดวง ส่วนใหญ่อยู่ในแถบดาวเคราะห์น้อย ระหว่างวงโคจรของดาวอังคาร
และดาวพฤหัสบดี นอกจากนั้นยังมีกลุ่มดาวเคราะห์น้อยโทรจัน ซึ่งอยู่ร่วม
วงโคจรกับดาวพฤหัสบดี และยังมีดาวเคราะห์น้อยบางดวงโคจรเข้าใกล้โลก
มากกว่าดวงจันทร์
>>ดาวเคราะห์น้อยบางดวงมีดวงจันทร์บริวารด้วย เช่น ดาวเคราะห์น้อยไอ
ดา (Ida) ขนาด 28 x 13 กิโลเมตร มีดวงจันทร์แดคทิล (Dactyl)ขนาด 1
กม. โดยมีรัศมีวงโคจร 100 กิโลเมตรดาวพลูโตที่จัดว่าเป็นดาวเคราะห์แคระ
มีดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 3 ดวง
องค์ประกอบของสุริยะ
ดวงอาทิตย์
ดาวพุธ
(Mercury)
ดาวศุกร์
(Venus)
โลก
(Earth)
ดาวอังคาร
(Mars)
ดาวเคราะห์น้อย
(Asteroid belt)
ดาวพฤหัสบดี
(Jupiter)
ดาวเสาร์
(Saturn)
ดาวยูเรนัส
(Uranus)
ดาวเนปจูน
(Neptune)
ดาวหาง
(Comet)
อุกกาบาต
(Meteorite)

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
แผ่นธรณีภาค
แผ่นธรณีภาคแผ่นธรณีภาค
แผ่นธรณีภาคbear2536001
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์T
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะpangpon
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)Miewz Tmioewr
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกMoukung'z Cazino
 
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศโลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศพัน พัน
 
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401Png Methakullachat
 
ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.pangpon
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิมPornthip Nabnain
 

What's hot (17)

แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
แผ่นธรณีภาค
แผ่นธรณีภาคแผ่นธรณีภาค
แผ่นธรณีภาค
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
 
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศโลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 
กาแลกซี (Galaxy)
กาแลกซี (Galaxy)กาแลกซี (Galaxy)
กาแลกซี (Galaxy)
 
ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิม
 
Change e2009 1
Change e2009 1Change e2009 1
Change e2009 1
 

Viewers also liked

18.azimuth ดวงอาทิตย์
18.azimuth  ดวงอาทิตย์18.azimuth  ดวงอาทิตย์
18.azimuth ดวงอาทิตย์Kasetsart University
 
ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์Krueye Lunlawan
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sunnative
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกอิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกwattumplavittayacom
 
สไลด์ โลกและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f29-4page
สไลด์  โลกและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f29-4pageสไลด์  โลกและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f29-4page
สไลด์ โลกและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f29-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f24-1page
สไลด์  ความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f24-1pageสไลด์  ความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f24-1page
สไลด์ ความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f24-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 

Viewers also liked (10)

18.azimuth ดวงอาทิตย์
18.azimuth  ดวงอาทิตย์18.azimuth  ดวงอาทิตย์
18.azimuth ดวงอาทิตย์
 
ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sun
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
Sun
SunSun
Sun
 
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกอิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
 
สไลด์ โลกและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f29-4page
สไลด์  โลกและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f29-4pageสไลด์  โลกและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f29-4page
สไลด์ โลกและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f29-4page
 
สไลด์ ความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f24-1page
สไลด์  ความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f24-1pageสไลด์  ความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f24-1page
สไลด์ ความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f24-1page
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 

Similar to งานนำเสนอ1

งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5maitree khanrattaban
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 kanjana23
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะNaroto Mikado
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะpangpon
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2556
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์T
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์pimnarayrc
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลMeanz Mean
 
ระบบสุริยะ รร.บางกะปิ
ระบบสุริยะ รร.บางกะปิระบบสุริยะ รร.บางกะปิ
ระบบสุริยะ รร.บางกะปิปอนด์ ปอนด์
 
โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯpimnarayrc
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2557
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกttt ttt
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกsoysuwanyuennan
 

Similar to งานนำเสนอ1 (20)

งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Stars
StarsStars
Stars
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
ระบบสุริยะ รร.บางกะปิ
ระบบสุริยะ รร.บางกะปิระบบสุริยะ รร.บางกะปิ
ระบบสุริยะ รร.บางกะปิ
 
โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
งาน2
งาน2งาน2
งาน2
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
 

งานนำเสนอ1

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4. องค์ประกอบของระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์ (The Sun) เป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ตรงตาแหน่งศูนย์กลางของ ระบบสุริยะและเป็นศูนย์กลาง ของแรงโน้มถ่วง ทาให้ดาวเคราะห์และบริวารทั้งหลายโคจรล้อมรอบ
  • 5. ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets) เป็นดาวเคราะห์ขนาดเล็ก มีความ หนาแน่นสูงและพื้นผิวเป็น ของแข็ง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นธาตุหนัก มีบรรยากาศอยู่เบาบาง ทั้งนี้เนื่องจาก อิทธิพลจากความร้อนของ ดวงอาทิตย์และลมสุริยะ ทาให้ธาตุเบาเสียประจุ ไม่สามารถดารงสถานะอยู่ ได้ ดาวเคราะห์ชั้นใน บางครั้งเรียกว่า ดาวเคราะห์พื้นแข็ง “Terrestrial Planets"เนื่องจาก มีพื้นผิวเป็นของแข็งคล้ายคลึง กับโลก ดาวเคราะห์ชั้นในมี 4 ดวง คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาว อังคาร
  • 6. ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets) เป็นดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ แต่มีความหนาแน่นต่า เกิดจาก การสะสมตัวของธาตุเบาอย่างช้าๆ ทานองเดียวกับการก่อตัวของก้อน หิมะ เนื่องจากได้รับอิทธิพลของ ความร้อนและลมสุริยะจากดวงอาทิตย์เพียงเล็กน้อย ดาวเคราะห์พวกนี้จึง มีแก่นขนาดเล็กห่อหุ้มด้วย ก๊าซจานวนมหาสาร บางครั้งเราเรียกดาวเคราะห์ประเภทนี้ว่า ดาวเคราะห์ ก๊าซยักษ์ (Gas Giants) หรือ Jovian Planets ซึ่งหมายถึงดาว เคราะห์ที่มีคุณสมบัติคล้ายดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์ชั้นนอกมี 4 ดวง คือ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
  • 7. ดวงจันทร์บริวาร (Satellites) โลกมิใช่ดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวที่มีดวง จันทร์บริวาร โลกมีบริวาร ชื่อว่า “ดวงจันทร์” (The Moon) ขณะที่ดาวเคราะห์ดวงอื่นก็มีบริวาร เช่นกัน เช่น ดาวพฤหัสบดีมีดวงจันทร์ขนาดใหญ่ 4 ดวงชื่อ ไอโอ (Io), ยูโร ปา (Europa), กันนีมีด (ganymede) และคัลลิสโต (Callisto) ดาวเคราะห์และดวงจันทร์ถือกาเนิดขึ้นพร้อมๆ กัน เพียงแต่ ดวงจันทร์มิได้รวมตัวกับดาวเคราะห์โดยตรง แต่ก่อตัวขึ้นภายในวงโคจรของ ดาวเคราะห์ เราจะสังเกตได้ว่า หากมองจากด้านบนของระบบสุริยะ จะเห็น ได้ว่า ทั้งดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์และดวงจันทร์ส่วนใหญ่ จะหมุนรอบ ตัวเองในทิศทวนเข็มนาฬิกา และโคจรรอบดวงทิตย์ในทิศทวนเข็มนาฬิกา เช่นกันหากมองจากด้านข้างของระบบสุริยะก็จะพบว่า ทั้งดวงอาทิตย์ดาว เคราะห์ และดวงจันทร์บริวาร จะอยู่ในระนาบที่ใกล้เคียงกับ สุริยะวิถีมาก ทั้งนี้ก็เนื่องมาจากระบบสุริยะทั้งระบบ ก็กาเนิดขึ้นพร้อมๆ กัน โดยการยุบและหมุนตัวของจานฝุ่น
  • 8. ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf Planets) เป็นนิยามใหม่ของสมาพันธ์ดารา ศาสตร์สากล (International Astronomical Union) ที่ กล่าวถึง วัตถุขนาดเล็กที่มีรูปร่างคล้ายทรงกลม แต่มีวงโคจรเป็นรูป รี ซ้อนทับกับดาวเคราะห์ดวงอื่น และไม่อยู่ในระนาบของสุริยะวิถี ซึ่ง ได้แก่ ซีรีส พัลลาส พลูโต และดาวที่เพิ่งค้นพบใหม่ เช่น อีริส เซ็ดนา วารู นา เป็นต้น (ดูภาพที่ 3 ประกอบ)
  • 9. ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids) เกิดจากวัสดุที่ไม่สามารถรวมตัวกันเป็น ดาวเคราะห์ได้ เนื่องจากแรงรบกวนจากดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ เช่น ดาว พฤหัสบดี และดาวเสาร์ ดังเราจะพบว่า ประชากรของดาวเคราะห์น้อย ส่วนใหญ่อยู่ที่ “แถบดาวเคราะห์น้อย” (Asteroid belt) ซึ่งอยู่ ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์แคระเช่น เซ เรส ก็เคยจัดว่าเป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่ที่สุด (เส้นผ่านศูนย์กลาง 900 กิโลเมตร) ดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่จะมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ เป็นรูปรีมาก และไม่อยู่ในระนาบสุริยะวิถี ขณะนี้มีการค้นพบดาวเคราะห์ น้อยแล้วประมาณ 3 แสนดวง
  • 10. ดาวหาง (Comets) เป็นวัตถุขนาดเล็กเช่นเดียวกับดาวเคราะห์น้อย แต่มี วงโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงยาวรีมาก มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นก๊าซใน สถานะของแข็ง เมื่อดาวหางเคลื่อนที่เข้าหาดวงอาทิตย์ความร้อนจะให้มวล ของมันระเหิดกลายเป็นก๊าซ ลมสุริยะเป่าให้ก๊าซเล่านั้นพุ่งออกไปในทิศ ทางตรงข้ามกับดวงอาทิตย์กลายเป็นหาง
  • 11. วัตถุในแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Objects) เป็นวัตถุที่หนาวเย็น เช่นเดียวกับดาวหาง แต่มีวงโคจรอยู่ถัดจากดาวเนปจูนออกไป บางครั้งจึง เรียกว่า Trans Neptune Objects ทั้งนี้แถบคุยเปอร์จะอยู่ใน ระนาบของสุริยะวิถี โดยมีระยะห่างออกไปตั้งแต่ 40 – 500 AU (AU ย่อ มาจาก Astronomical Unit หรือ หน่วยดาราศาสตร์ เท่ากับระยะทาง ระหว่างโลกถึงดวงอาทิตย์หรือ 150 ล้านกิโลเมตร) ดาวพลูโตเองก็จัดว่า เป็นวัตถุในแถบคุยเปอร์ รวมทั้งดาวเคราะห์แคระซึ่งค้นพบใหม่ เช่น อี ริส เซ็ดนา วารูนา เป็นต้น ปัจจุบันมีการค้นพบวัตถุในแถบไคเปอร์แล้ว มากกว่า 35,000 ดวง
  • 12. เมฆออร์ท (Oort Cloud) เป็นสมมติฐานที่ตั้งขึ้นโดยนักดาราศาสตร์ ชาวเนเธอร์แลนด์ชื่อ แจน ออร์ท (Jan Oort) ซึ่งเชื่อว่า ณ สุดขอบของ ระบบสุริยะ รัศมีประมาณ 50,000 AU จากดวงอาทิตย์ ระบบสุริยะ ของเราห่อหุ้มด้วยวัสดุก๊าซแข็ง ซึ่งหากมีแรงโน้มถ่วงจากภายนอกมา กระทบกระเทือน ก๊าซแข็งเหล่านี้ก็จะหลุดเข้าสู่วงโคจรรอบดวงอาทิตย์ กลายเป็นดาวหางวงโคจรคาบยาว (Long-period comets)
  • 13. ข้อมูลที่น่ารู้ >>ระบบสุริยะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12,000 ล้านกิโลเมตร >>99% ของเนื้อสารทั้งหมดของระบบสุริยะ รวมอยู่ที่ดวงอาทิตย์ >>ในปัจจุบันถือว่า ดาวเคราะห์มี 8 ดวง ดาวพลูโต ดาวเคราะห์น้อย ขนาดใหญ่ เช่น ซีรีส จูโน พัลลาส เวสตา และวัตถุไคเปอร์ที่มีขนาดใหญ่ เช่น อีรีส เซดนา ถูกจัดประเภทใหม่ว่าเป็น ดาวเคราะห์แคระ >>ดาวศุกร์มีอุณหภูมิพื้นผิวที่สูงสุดในระบบสุริยะ (ร้อนกว่าดาวพุธ) เนื่องจากมีภาวะเรือนกระจก >>ดวงจันทร์บริวารขนาดใหญ่ที่โคจรรอบดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ที่ถูก ค้นพบแล้ว มีจานวนไม่น้อยกว่า 130 ดวง
  • 14. >>นักดาราศาสตร์ค้นพบดาวเคราะห์น้อยจานวนมากกว่า 300,000 ดวง ส่วนใหญ่อยู่ในแถบดาวเคราะห์น้อย ระหว่างวงโคจรของดาวอังคาร และดาวพฤหัสบดี นอกจากนั้นยังมีกลุ่มดาวเคราะห์น้อยโทรจัน ซึ่งอยู่ร่วม วงโคจรกับดาวพฤหัสบดี และยังมีดาวเคราะห์น้อยบางดวงโคจรเข้าใกล้โลก มากกว่าดวงจันทร์ >>ดาวเคราะห์น้อยบางดวงมีดวงจันทร์บริวารด้วย เช่น ดาวเคราะห์น้อยไอ ดา (Ida) ขนาด 28 x 13 กิโลเมตร มีดวงจันทร์แดคทิล (Dactyl)ขนาด 1 กม. โดยมีรัศมีวงโคจร 100 กิโลเมตรดาวพลูโตที่จัดว่าเป็นดาวเคราะห์แคระ มีดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 3 ดวง