SlideShare a Scribd company logo
1
เสตเกตุชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๒. เสตเกตุชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๓๗๗)
ว่าด้วยเสตเกตุดาบส
(พระโพธิสัตว์เป็ นอาจารย์ทิศาปาโมกข์สอนมาณพเสตเกตุผู้เป็นหัวหน้าศิษย์ว่า)
[๘] พ่อเอ๋ย เจ้าอย่าโกรธ เพราะความโกรธไม่ดีเลย
ทิศที่เจ้ายังไม่ได้เห็น ยังไม่ได้ยินมีอีกมาก พ่อเสตเกตุ
มารดาบิดาเป็นทิศเบื้องหน้า
พระอริยะทั้งหลายกล่าวสรรเสริญอาจารย์ว่าเป็นทิศเบื้องขวา
[๙] คฤหัสถ์ถวายข้าว น้า และผ้า กล่าวนิมนต์ผู้ใด
แม้ผู้นั้นพระอริยะทั้งหลายย่อมเรียกว่า เป็นทิศเบื้องบน เสตเกตุ
ทิศนี้เป็นทิศที่ยอดเยี่ยม เพราะสัตว์ทั้งหลายผู้มีทุกข์ถึงแล้วย่อมเป็นสุข
(พระราชาทรงเห็นดาบสทั้งหลายบาเพ็ญตบะผิด
จึงตรัสสนทนากับปุโรหิตว่า)
[๑๐] ชฎิลเหล่าใดนุ่งห่มหนังสัตว์ที่ขรุขระ มีขี้ฟันเขรอะ ร่างกายสกปรก
สาธยายมนต์อยู่ ชฎิลเหล่านั้นประกอบหน้าที่การงานของมนุษย์
จะรู้แจ้งโลกนี้แล้วพ้นจากอบายได้หรือ
(ปุโรหิตกราบทูลว่า)
[๑๑] ขอเดชะพระราชา หากบุคคลถึงจะเป็ นพหูสูต กระทาแต่กรรมชั่ว
ก็ชื่อว่าไม่ประพฤติธรรม เขาแม้จะมีพระเวทตั้งพัน อาศัยความเป็นพหูสูตนั้น
แต่ไม่บรรลุจรณธรรม (จรณธรรม ในที่นี้หมายถึงศีลและสมาบัติ ๘)
ก็พ้นจากทุกข์ไม่ได้
(เสตเกตุดาบสกล่าวกับปุโรหิตนั้นว่า)
[๑๒] บุคคลแม้จะมีพระเวทตั้งพัน อาศัยความเป็นพหูสูตนั้น
แต่ไม่บรรลุจรณธรรม ก็พ้นจากทุกข์ไม่ได้ อาตมาเข้าใจว่า
พระเวททั้งหลายเป็ นสิ่งที่ไร้ผล จรณธรรมพร้อมทั้งความสารวม (ความสารวม
ในที่นี้เป็ นชื่อของศีล) เท่านั้นเป็ นสัจจะ
(ปุโรหิตได้กล่าวว่า)
[๑๓] พระเวททั้งหลายจะไร้ผลก็หาไม่
จรณธรรมพร้อมทั้งความสารวมเท่านั้นเป็ นสัจจะ
เพราะบุคคลบรรลุพระเวททั้งหลายแล้วย่อมได้เกียรติ
บุคคลผู้ฝึกตนดีแล้วด้วยจรณธรรมย่อมบรรลุความสงบ (ความสงบ
ในที่นี้หมายถึงนิพพาน)
2
เสตเกตุชาดกที่ ๒ จบ
------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
เสตเกตุชาดก
ว่าด้วย คนที่ได้ชื่อว่าเป็ นทิศ
พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน
ทรงปรารภภิกษุผู้โกหก จึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้.
เรื่องปัจจุบันจักมีชัดใน อุททาลกชาดก.
ได้ยินว่า เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี
พระโพธิสัตว์เป็นอาจารย์ทิศาปาโมกข์ ในนครพาราณสี สอนมนต์มาณพ ๕๐๐
คน. หัวหน้ามาณพเหล่านั้นชื่อว่า เสตเกตุ เป็นมาณพเกิดในสกุลอุททิจพราหมณ์
เขาได้มีมานะมาก เพราะอาศัยชาติตระกูล.
อยู่มาวันหนึ่ง เขาออกจากพระนครไปพร้อมกับมาณพอื่นๆ
ได้เห็นจัณฑาลคนหนึ่งกาลังเข้าพระนคร จึงถามว่า เจ้าเป็ นใคร? เมื่อเขาตอบว่า
เป็นจัณฑาล จึงพูดว่า ฉิบหาย ไอ้จัณฑาล กาลกรรณี เอ็งจงไปใต้ลมดังนี้
เพราะกลัวลมที่พัดผ่านตัวของเขาจะมากระทบร่างของตน
แล้วได้ไปเหนือลมโดยเร็ว. แต่คนจัณฑาลเดินเร็วกว่า จึงได้ไปยืนเหนือลมเขา.
เมื่อมีเหตุการณ์อย่างนั้น มาณพนั้นก็ได้ด่าแช่งเขาอย่างหนักว่า ฉิบหาย ไอ้ถ่อย
กาลกรรณี.
คนจัณฑาล ครั้นได้ฟังคานั้นแล้ว จึงถามว่า คุณเป็นใคร?
พ. ฉันเป็ นพราหมณมาณพสิ
จ. เป็ นพราหมณ์ ก็เป็นไม่ว่า
แต่คุณสามารถจะตอบปัญหาที่ผมถามได้ไหม?
พ. เออได้ซิ
จ. ถ้าแม้ว่าคุณไม่สามารถตอบได้ไซร้ ผมจะให้คุณลอดหว่างขาผม.
เขาตรึกตรองดูตัวเองแล้ว พูดว่า แกถามได้
บุตรคนจัณฑาลให้บริษัทเพื่อนของมาณพนั้น
ยึดถือถ้อยคาสัญญานั้นแล้ว ถามปัญหาว่า ข้าแต่ท่านมาณพ ธรรมดาทิศมีเท่าไร?
พ. ธรรมดาทิศมี ๔ มีทิศตะวันออกเป็นต้น.
คนจัณฑาลพูดว่า ผมไม่ได้ถามคุณถึงทิศนั้น แม้เท่านี้คุณก็ไม่รู้
ยังรังเกียจลมที่พัดผ่านตัวผม แล้วจับคอเขาโน้มลงมาลอดหว่างขาของตน.
มาณพทั้งหลายได้บอกพฤติการณ์นั้นแก่อาจารย์. อาจารย์
ครั้นได้ฟังคานั้นแล้วจึงถามเขาว่า พ่อเสตเกตุ จริงไหม?
ได้ทราบว่าเจ้าถูกคนจัณฑาลให้ลอดหว่างขา.
มาณพตอบว่า จริงอาจารย์
3
ลูกของอีทาสีจัณฑาลนั้นว่าผมว่าแม้เพียงแต่ทิศคุณก็ไม่รู้
แล้วให้ผมลอดหว่างขาของตน ทีนี้ผมเห็นมันแล้ว จักแก้แค้นมัน. โกรธแล้ว ด่า
แช่ง ลูกคนจัณฑาล. ครั้งนั้น อาจารย์เมื่อโอวาทเขาว่า พ่อเสตเกตุเอ๋ย
เจ้าอย่าโกรธเขา ลูกคนจัณฑาลเป็นบัณฑิต เขาไม่ได้ถามเจ้าถึงทิศนั่น
แต่เขาถามถึงทิศอื่น ก็ทิศที่เจ้ายังไม่เห็นไม่ได้ยินและยังไม่รู้นั่นแหละ
มีมากกว่าทิศที่เจ้าได้เห็นได้ยินและได้รู้มาแล้ว ดังนี้แล้ว
จึงได้กล่าวคาถา ๒ คาถาไว้ว่า:-
พ่อเอ๋ย พ่ออย่าโกรธเลย เพราะความโกรธไม่ดี
ที่เจ้ายังไม่เห็นและยังไม่ได้ยินมีเป็นอันมาก พ่อเสตเกตุเอ๋ย
มารดาบิดาก็เป็นทิศๆ หนึ่ง บัณฑิตทั้งหลายสรรเสริญอาจารย์
เรียกว่าเป็นทิศๆ หนึ่ง
คฤหัสถ์ทั้งหลายเป็นผู้ถวายข้าว น้าและผ้านุ่งห่ม
ส่วนสมณะพราหมณ์ทั้งหลาย เป็นผู้เรียกร้อง
บัณฑิตทั้งหลายเรียกสมณะและพราหมณ์ แม้นั้นว่าเป็ นทิศๆ หนึ่ง พ่อเสตเกตุเอ๋ย
ทิศนี้เป็นยอดทิศ เพราะสัตว์ทั้งหลายผู้มีทุกข์ไปถึงแล้วจะมีความสุข.
ด้วยบทนี้ อาจารย์แสดงว่า คฤหัสถ์ทั้งหลายผู้ถวายปัจจัย ๔
ชื่อว่าเป็นทิศนั้น เพราะเป็นผู้ที่สมณพราหมณ์ทั้งหลายผู้ทรงธรรม
จะต้องเข้าไปหาโดยเรียกร้องปัจจัย ๔ อีกนัยหนึ่ง
สมณพราหมณ์ทั้งหลายผู้ทรงธรรม ชื่อว่าผู้เรียกร้องคืออวหายิกะ
เพราะเรียกร้องคุณความดีสูงๆ ขึ้นไปมาให้ โดยความหมายว่า
เป็ นผู้ให้ซึ่งสวรรค์สมบัติในฉกามาวจรแก่คฤหัสถ์ทั้งหลายเหล่านั้น ผู้ถวายข้าว
น้าและผ้านุ่งห่ม.
ท่านอาจารย์แสดงว่า พระอริยเจ้าทั้งหลาย มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น
เรียกแม้สมณพราหมณ์ผู้ทรงธรรมนั้นว่า ชื่อว่าเป็นทิศเบื้องบน.
สมจริงตามที่พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้ว่า :-
มารดาบิดาเป็นทิศเบื้องหน้า-ตะวันออก
อาจารย์เป็นทิศเบื้องขวา-ใต้
บุตรภรรยาเป็ นทิศเบื้องหลัง-ตะวันตก
มิตรและอามาตย์เป็นทิศเบื้องซ้าย-เหนือ
ทาสและกรรมกรเป็ นทิศเบื้องล่าง
สมณพราหมณ์เป็ นทิศเบื้องบน
คฤหัสถ์ในตระกูลผู้ไม่ประมาท ควรนมัสการทิศเหล่านี้.
อาจารย์กล่าวหมายเอาพระนิพพาน เพราะว่าสัตว์ทั้งหลายผู้เป็นทุกข์
เพราะทุกข์นานัปปการมีความเกิดเป็นต้น บรรลุพระนิพพานนั้นแล้วจะหมดทุกข์
คือเป็นผู้มีความสุข และทิศนี้นั่นเอง คือพระนิพพาน
4
ชื่อว่าเป็นทิศที่สัตว์ทั้งหลายไม่เคยไปแล้ว. อาจารย์จึงกล่าวถึงพระนิพพานว่า
เป็นทิศชั้นยอด.
สมจริงตามที่พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้ว่า :-
บุคคลผู้ประสงค์จะไปสู่ทิศที่ไม่เคยไป คือพระนิพพาน
ต้องตามรักษาจิตของตน
เหมือนคนประคองภาชนะน้ามันที่เต็มเสมอขอบปากไม่มีพร่องไว้ฉะนั้น.
พระมหาสัตว์บอกทิศทั้งหลายแก่มาณพด้วยอาการอย่างนี้
แต่มาณพคิดเสียใจว่า เราถูกคนจัณฑาลให้ลอดหว่างขา
ละอายเพื่อนจึงไม่อยู่ในที่นั้น ไปยังเมืองตักกสิลา
เรียนศิลปทุกอย่างในสานักของอาจารย์ทิศาปาโมกข์
จบแล้วอาจารย์อนุญาตให้ไป จึงออกจากเมืองตักกสิลา
เที่ยวหาเรียนศิลปะของทุกลัทธิ เข้าไปถึงบ้านชายแดนแห่งหนึ่ง อาศัยบ้านนั้นอยู่
เห็นดาบส ๕๐๐ รูป จึงบวชในสานักของท่าน แล้วเรียนศิลปะบ้าง มนต์บ้าง
จรณะบ้างที่ท่านเหล่านั้นรู้ ได้เป็นหัวหน้าคณะ
มีดาบสเหล่านั้นห้อมล้อมไปยังนครพาราณสี.
รุ่งขึ้นไปเที่ยวภิกขาจาร ได้ไปถึงพระลานหลวง.
พระราชาทรงเลื่อมใสในอิริยาบถของดาบสทั้งหลาย
นิมนต์ให้ฉันภายในพระนิเวศน์
แล้วทรงให้ท่านเหล่านี้พานักอยู่ในพระราชอุทยานของพระองค์.
อยู่มาวันหนึ่ง พระองค์ทรงอังคาสดาบสทั้งหลายแล้วตรัสว่า
วันนี้เวลาเย็นโยมจะไปพระราชอุทยาน ไหว้พระคุณเจ้าทั้งหลาย.
เสตเกตุดาบสไปยังพระราชอุทยานแล้ว ประชุมดาบสพูดว่า
ดูก่อนสหายร่วมชีวิตทั้งหลาย วันนี้ พระราชาจักเสด็จมา. ท่านชี้แจงว่า
ธรรมดาพระราชาทั้งหลายทรงโปรดปรานครั้งเดียว
ก็สามารถให้คนดารงชีพอยู่เป็นได้ชั่วอายุ วันนี้
ขอให้พวกเราบางพวกเดินเป็นกลุ่มๆ ไป บางพวกนอนบนหนาม
บางพวกบาเพ็ญตบะ ๕ อย่าง บางพวกประกอบความเพียรวิธีกระโหย่งเท้า
บางพวกลงน้า บางพวกสาธยายมนต์ ดังนี้แล้ว
ตัวท่านเองนั่งบนตั่งที่ไม่มีพนักพิงที่ประตูบรรณศาลา
วางคัมภีร์ ๑ คัมภีร์ที่รุ่งเรืองด้วยรงคเบญจวรรณแวววาวไว้บนกากะเยียที่มีสีงดง
าม แล้วแก้ปัญหาที่มาณพสี่-ห้าคนซักถามมา.
ขณะนั้น
พระราชาเสด็จมาทอดพระเนตรเห็นดาบสเหล่านั้นบาเพ็ญมิจฉาตบะ
คือตบะผิดพอพระราชหฤทัย จึงเสด็จเข้าไปหาเสตเกตุดาบส
ทรงไหว้แล้วประทับนั่ง ณ ที่สมควรข้างหนึ่ง
5
เมื่อทรงปราศัยกับท่านปุโรหิต จึงได้ตรัสคาถาที่ ๓ ว่า :-
ชฏิลเหล่าใด ผู้นุ่งหนังสัตว์ที่แข็งกระด้าง มีฟันสกปรก
มีรูปร่างเศร้าหมอง ร่ายมนต์อยู่ ชฎิลเหล่านั้นดารงอยู่ในความเพียรของมนุษย์
รู้โลกนี้แล้ว จะพ้นจากอบายหรือไม่หนอ?
ปุโรหิตฟังพระดารัสนั้นแล้ว ได้ทูลคาถาที่ ๔ ว่า :-
ข้าแต่มหาราชเจ้า ผู้ใดเป็ นพหูสูต คงแก่เรียน แต่ทาบาปกรรมไว้
ไม่ประพฤติธรรมเลย ผู้นั้นถึงจะมีเวทมนต์ตั้งพัน อาศัยเวทมนต์นั้น
แต่ไม่ถึงจรณะ ก็ไม่พ้นทุกข์.
มีคาอธิบายได้ว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า ผู้ใดสาคัญว่า เราเป็นพหูสูต
แม้มีความรู้ตั้งพันแต่ไม่ประพฤติสุจริต ๓ อย่าง ทาแต่บาปอย่างเดียว
ผู้นั้นครั้นทาบาปกรรมเหล่านั้นแล้ว อาศัยความเป็นพหูสูตนั้น แต่ไม่บรรลุจรณะ
กล่าวคือศีลและสมาบัติ ก็คงไม่พ้นทุกข์ คือไม่พ้นจากอบายทุกข์ไปได้เลย.
พระราชา ครั้นทรงสดับคานั้นแล้ว
ทรงนาไปแล้วซึ่งความเลื่อมใสในดาบสทั้งหลาย. ลาดับนั้น
เสตเกตุดาบสจึงคิดว่าพระราชานี้ได้เกิดความเลื่อมใสในดาบสทั้งหลายแล้ว
แต่ปุโรหิตคนนี้บั่นทอนความเลื่อมใสนั้น เหมือนเอามีดฟัน
เราควรจะทูลกับพระราชานั้น.
ท่านเมื่อทูลกับพระราชา ได้ถวายพระพรคาถาที่ ๕ ว่า :-
คนแม้มีเวทมนต์ตั้งพันอาศัยเวทมนต์นั้น แต่ยังไม่ถึงจรณะ
ก็ยังไม่พ้นทุกข์ อาตมภาพเข้าใจว่า พระเวททั้งหลายเป็นสิ่งที่ไร้ผล
จรณะคือการสารวมอย่างดีเท่านั้นแหละเป็นของจริง.
คาถานั้นมีเนื้อความดังต่อไปนี้ว่า
แม้ผู้มีเวทมนต์ตั้งพันบทอาศัยความเป็นพหูสูตนั้น
แต่ยังไม่บรรลุจรณะ ก็จะเปลื้องตนออกจากทุกข์ไม่ได้ เมื่อเป็นเช่นนั้น
อาตมภาพจึงเข้าใจว่า พระเวท ๓ คัมภีร์เป็นสิ่งที่ไร้ผล จรณะที่มีศีลอิงสมาบัติ ๘
เท่านั้นเป็ นของจริง.
ปุโรหิตได้ฟังคานั้นแล้ว ได้กล่าวคาถาที่ ๖ ว่า :-
พระเวทไม่ใช่เป็นสิ่งที่ไม่มีผลเลย
จรณะคือการสารวมระวังเท่านั้นเป็นของจริงก็หามิได้ คนอาศัยพระเวทแล้ว
ได้รับเกียรติก็มี ผู้ฝึกตนแล้วด้วยจรณะ จะบรรลุความสงบได้.
คาถานั้นมีเนื้อความดังต่อไปนี้
คือไม่ใช่พระเวท ๓ อย่างไม่มีผล ไม่เฉพาะจรณะ
คือการสารวมระวังเท่านั้นเป็ นของจริง คือดีกว่า ได้แก่สูงสุด
หมายความว่าประเสริฐ.
เพราะเหตุไร? เพราะคนอาศัยพระเวท คืออาศัยพระเวท ๓ อย่าง
6
ได้รับเพียงเกียรติ เพียงยศ เพียงลาภเท่านั้น ไม่มีอย่างอื่นยิ่งกว่านี้ เพราะฉะนั้น
พระเวทเหล่านั้นจึงชื่อว่า ไม่มีผล.
ผู้ตั้งอยู่ในศีลแล้วให้สมาบัติเกิดขึ้น
เจริญวิปัสสนามีสมาบัติเป็นปทัฏฐาน ย่อมบรรลุความสงบโดยส่วนเดียว
คือธรรมอย่างเอกที่มีชื่อว่าพระนิพพาน.
ปุโรหิตหักล้างคาของท่านเสตเกตุดาบสอย่างนี้แล้ว
ได้ทาดาบสเหล่านั้นทั้งหมด ให้เป็นคฤหัสถ์คือให้สึก
ให้ถือโล่และอาวุธ จักให้เป็นการกชนเป็ นทหารหมู่ใหญ่ให้ทาการบารุงพระราชา.
ได้ทราบว่า นี้คือวงศ์ของการกชนหมู่ใหญ่.
พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุมชาดกว่า
เสตเกตุดาบสในครั้งนั้น ได้แก่ ภิกษุผู้โกหก ในบัดนี้
บุตรของคนจัณฑาลในครั้งนั้น ได้แก่ พระสารีบุตร ในบัดนี้
ส่วนปุโรหิตได้แก่ เราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาเสตเกตุชาดกที่ ๒
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 377 เสตเกตุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้Kiat Chaloemkiat
 
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
Panuwat Beforetwo
 
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
maruay songtanin
 
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
maruay songtanin
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
Pojjanee Paniangvait
 
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
sanunya
 
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓Tongsamut vorasan
 
๓๓. คุตติลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๓๓. คุตติลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๓๓. คุตติลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๓๓. คุตติลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
maruay songtanin
 
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิบทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิnuom131219
 
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓Tongsamut vorasan
 
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓Tongsamut vorasan
 
บาลี 21 80
บาลี 21 80บาลี 21 80
บาลี 21 80Rose Banioki
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
maruay songtanin
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญPhatphong Mahawattano
 
487 อุททาลกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
487 อุททาลกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....487 อุททาลกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
487 อุททาลกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

Similar to 377 เสตเกตุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
 
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
 
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
 
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
 
-------------- --- 3
 -------------- --- 3 -------------- --- 3
-------------- --- 3
 
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
 
๓๓. คุตติลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๓๓. คุตติลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๓๓. คุตติลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๓๓. คุตติลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
 
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิบทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
 
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
 
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
 
บาลี 21 80
บาลี 21 80บาลี 21 80
บาลี 21 80
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
 
487 อุททาลกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
487 อุททาลกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....487 อุททาลกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
487 อุททาลกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

377 เสตเกตุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 เสตเกตุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๒. เสตเกตุชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๓๗๗) ว่าด้วยเสตเกตุดาบส (พระโพธิสัตว์เป็ นอาจารย์ทิศาปาโมกข์สอนมาณพเสตเกตุผู้เป็นหัวหน้าศิษย์ว่า) [๘] พ่อเอ๋ย เจ้าอย่าโกรธ เพราะความโกรธไม่ดีเลย ทิศที่เจ้ายังไม่ได้เห็น ยังไม่ได้ยินมีอีกมาก พ่อเสตเกตุ มารดาบิดาเป็นทิศเบื้องหน้า พระอริยะทั้งหลายกล่าวสรรเสริญอาจารย์ว่าเป็นทิศเบื้องขวา [๙] คฤหัสถ์ถวายข้าว น้า และผ้า กล่าวนิมนต์ผู้ใด แม้ผู้นั้นพระอริยะทั้งหลายย่อมเรียกว่า เป็นทิศเบื้องบน เสตเกตุ ทิศนี้เป็นทิศที่ยอดเยี่ยม เพราะสัตว์ทั้งหลายผู้มีทุกข์ถึงแล้วย่อมเป็นสุข (พระราชาทรงเห็นดาบสทั้งหลายบาเพ็ญตบะผิด จึงตรัสสนทนากับปุโรหิตว่า) [๑๐] ชฎิลเหล่าใดนุ่งห่มหนังสัตว์ที่ขรุขระ มีขี้ฟันเขรอะ ร่างกายสกปรก สาธยายมนต์อยู่ ชฎิลเหล่านั้นประกอบหน้าที่การงานของมนุษย์ จะรู้แจ้งโลกนี้แล้วพ้นจากอบายได้หรือ (ปุโรหิตกราบทูลว่า) [๑๑] ขอเดชะพระราชา หากบุคคลถึงจะเป็ นพหูสูต กระทาแต่กรรมชั่ว ก็ชื่อว่าไม่ประพฤติธรรม เขาแม้จะมีพระเวทตั้งพัน อาศัยความเป็นพหูสูตนั้น แต่ไม่บรรลุจรณธรรม (จรณธรรม ในที่นี้หมายถึงศีลและสมาบัติ ๘) ก็พ้นจากทุกข์ไม่ได้ (เสตเกตุดาบสกล่าวกับปุโรหิตนั้นว่า) [๑๒] บุคคลแม้จะมีพระเวทตั้งพัน อาศัยความเป็นพหูสูตนั้น แต่ไม่บรรลุจรณธรรม ก็พ้นจากทุกข์ไม่ได้ อาตมาเข้าใจว่า พระเวททั้งหลายเป็ นสิ่งที่ไร้ผล จรณธรรมพร้อมทั้งความสารวม (ความสารวม ในที่นี้เป็ นชื่อของศีล) เท่านั้นเป็ นสัจจะ (ปุโรหิตได้กล่าวว่า) [๑๓] พระเวททั้งหลายจะไร้ผลก็หาไม่ จรณธรรมพร้อมทั้งความสารวมเท่านั้นเป็ นสัจจะ เพราะบุคคลบรรลุพระเวททั้งหลายแล้วย่อมได้เกียรติ บุคคลผู้ฝึกตนดีแล้วด้วยจรณธรรมย่อมบรรลุความสงบ (ความสงบ ในที่นี้หมายถึงนิพพาน)
  • 2. 2 เสตเกตุชาดกที่ ๒ จบ ------------------------ คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา เสตเกตุชาดก ว่าด้วย คนที่ได้ชื่อว่าเป็ นทิศ พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภภิกษุผู้โกหก จึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้. เรื่องปัจจุบันจักมีชัดใน อุททาลกชาดก. ได้ยินว่า เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี พระโพธิสัตว์เป็นอาจารย์ทิศาปาโมกข์ ในนครพาราณสี สอนมนต์มาณพ ๕๐๐ คน. หัวหน้ามาณพเหล่านั้นชื่อว่า เสตเกตุ เป็นมาณพเกิดในสกุลอุททิจพราหมณ์ เขาได้มีมานะมาก เพราะอาศัยชาติตระกูล. อยู่มาวันหนึ่ง เขาออกจากพระนครไปพร้อมกับมาณพอื่นๆ ได้เห็นจัณฑาลคนหนึ่งกาลังเข้าพระนคร จึงถามว่า เจ้าเป็ นใคร? เมื่อเขาตอบว่า เป็นจัณฑาล จึงพูดว่า ฉิบหาย ไอ้จัณฑาล กาลกรรณี เอ็งจงไปใต้ลมดังนี้ เพราะกลัวลมที่พัดผ่านตัวของเขาจะมากระทบร่างของตน แล้วได้ไปเหนือลมโดยเร็ว. แต่คนจัณฑาลเดินเร็วกว่า จึงได้ไปยืนเหนือลมเขา. เมื่อมีเหตุการณ์อย่างนั้น มาณพนั้นก็ได้ด่าแช่งเขาอย่างหนักว่า ฉิบหาย ไอ้ถ่อย กาลกรรณี. คนจัณฑาล ครั้นได้ฟังคานั้นแล้ว จึงถามว่า คุณเป็นใคร? พ. ฉันเป็ นพราหมณมาณพสิ จ. เป็ นพราหมณ์ ก็เป็นไม่ว่า แต่คุณสามารถจะตอบปัญหาที่ผมถามได้ไหม? พ. เออได้ซิ จ. ถ้าแม้ว่าคุณไม่สามารถตอบได้ไซร้ ผมจะให้คุณลอดหว่างขาผม. เขาตรึกตรองดูตัวเองแล้ว พูดว่า แกถามได้ บุตรคนจัณฑาลให้บริษัทเพื่อนของมาณพนั้น ยึดถือถ้อยคาสัญญานั้นแล้ว ถามปัญหาว่า ข้าแต่ท่านมาณพ ธรรมดาทิศมีเท่าไร? พ. ธรรมดาทิศมี ๔ มีทิศตะวันออกเป็นต้น. คนจัณฑาลพูดว่า ผมไม่ได้ถามคุณถึงทิศนั้น แม้เท่านี้คุณก็ไม่รู้ ยังรังเกียจลมที่พัดผ่านตัวผม แล้วจับคอเขาโน้มลงมาลอดหว่างขาของตน. มาณพทั้งหลายได้บอกพฤติการณ์นั้นแก่อาจารย์. อาจารย์ ครั้นได้ฟังคานั้นแล้วจึงถามเขาว่า พ่อเสตเกตุ จริงไหม? ได้ทราบว่าเจ้าถูกคนจัณฑาลให้ลอดหว่างขา. มาณพตอบว่า จริงอาจารย์
  • 3. 3 ลูกของอีทาสีจัณฑาลนั้นว่าผมว่าแม้เพียงแต่ทิศคุณก็ไม่รู้ แล้วให้ผมลอดหว่างขาของตน ทีนี้ผมเห็นมันแล้ว จักแก้แค้นมัน. โกรธแล้ว ด่า แช่ง ลูกคนจัณฑาล. ครั้งนั้น อาจารย์เมื่อโอวาทเขาว่า พ่อเสตเกตุเอ๋ย เจ้าอย่าโกรธเขา ลูกคนจัณฑาลเป็นบัณฑิต เขาไม่ได้ถามเจ้าถึงทิศนั่น แต่เขาถามถึงทิศอื่น ก็ทิศที่เจ้ายังไม่เห็นไม่ได้ยินและยังไม่รู้นั่นแหละ มีมากกว่าทิศที่เจ้าได้เห็นได้ยินและได้รู้มาแล้ว ดังนี้แล้ว จึงได้กล่าวคาถา ๒ คาถาไว้ว่า:- พ่อเอ๋ย พ่ออย่าโกรธเลย เพราะความโกรธไม่ดี ที่เจ้ายังไม่เห็นและยังไม่ได้ยินมีเป็นอันมาก พ่อเสตเกตุเอ๋ย มารดาบิดาก็เป็นทิศๆ หนึ่ง บัณฑิตทั้งหลายสรรเสริญอาจารย์ เรียกว่าเป็นทิศๆ หนึ่ง คฤหัสถ์ทั้งหลายเป็นผู้ถวายข้าว น้าและผ้านุ่งห่ม ส่วนสมณะพราหมณ์ทั้งหลาย เป็นผู้เรียกร้อง บัณฑิตทั้งหลายเรียกสมณะและพราหมณ์ แม้นั้นว่าเป็ นทิศๆ หนึ่ง พ่อเสตเกตุเอ๋ย ทิศนี้เป็นยอดทิศ เพราะสัตว์ทั้งหลายผู้มีทุกข์ไปถึงแล้วจะมีความสุข. ด้วยบทนี้ อาจารย์แสดงว่า คฤหัสถ์ทั้งหลายผู้ถวายปัจจัย ๔ ชื่อว่าเป็นทิศนั้น เพราะเป็นผู้ที่สมณพราหมณ์ทั้งหลายผู้ทรงธรรม จะต้องเข้าไปหาโดยเรียกร้องปัจจัย ๔ อีกนัยหนึ่ง สมณพราหมณ์ทั้งหลายผู้ทรงธรรม ชื่อว่าผู้เรียกร้องคืออวหายิกะ เพราะเรียกร้องคุณความดีสูงๆ ขึ้นไปมาให้ โดยความหมายว่า เป็ นผู้ให้ซึ่งสวรรค์สมบัติในฉกามาวจรแก่คฤหัสถ์ทั้งหลายเหล่านั้น ผู้ถวายข้าว น้าและผ้านุ่งห่ม. ท่านอาจารย์แสดงว่า พระอริยเจ้าทั้งหลาย มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น เรียกแม้สมณพราหมณ์ผู้ทรงธรรมนั้นว่า ชื่อว่าเป็นทิศเบื้องบน. สมจริงตามที่พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้ว่า :- มารดาบิดาเป็นทิศเบื้องหน้า-ตะวันออก อาจารย์เป็นทิศเบื้องขวา-ใต้ บุตรภรรยาเป็ นทิศเบื้องหลัง-ตะวันตก มิตรและอามาตย์เป็นทิศเบื้องซ้าย-เหนือ ทาสและกรรมกรเป็ นทิศเบื้องล่าง สมณพราหมณ์เป็ นทิศเบื้องบน คฤหัสถ์ในตระกูลผู้ไม่ประมาท ควรนมัสการทิศเหล่านี้. อาจารย์กล่าวหมายเอาพระนิพพาน เพราะว่าสัตว์ทั้งหลายผู้เป็นทุกข์ เพราะทุกข์นานัปปการมีความเกิดเป็นต้น บรรลุพระนิพพานนั้นแล้วจะหมดทุกข์ คือเป็นผู้มีความสุข และทิศนี้นั่นเอง คือพระนิพพาน
  • 4. 4 ชื่อว่าเป็นทิศที่สัตว์ทั้งหลายไม่เคยไปแล้ว. อาจารย์จึงกล่าวถึงพระนิพพานว่า เป็นทิศชั้นยอด. สมจริงตามที่พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้ว่า :- บุคคลผู้ประสงค์จะไปสู่ทิศที่ไม่เคยไป คือพระนิพพาน ต้องตามรักษาจิตของตน เหมือนคนประคองภาชนะน้ามันที่เต็มเสมอขอบปากไม่มีพร่องไว้ฉะนั้น. พระมหาสัตว์บอกทิศทั้งหลายแก่มาณพด้วยอาการอย่างนี้ แต่มาณพคิดเสียใจว่า เราถูกคนจัณฑาลให้ลอดหว่างขา ละอายเพื่อนจึงไม่อยู่ในที่นั้น ไปยังเมืองตักกสิลา เรียนศิลปทุกอย่างในสานักของอาจารย์ทิศาปาโมกข์ จบแล้วอาจารย์อนุญาตให้ไป จึงออกจากเมืองตักกสิลา เที่ยวหาเรียนศิลปะของทุกลัทธิ เข้าไปถึงบ้านชายแดนแห่งหนึ่ง อาศัยบ้านนั้นอยู่ เห็นดาบส ๕๐๐ รูป จึงบวชในสานักของท่าน แล้วเรียนศิลปะบ้าง มนต์บ้าง จรณะบ้างที่ท่านเหล่านั้นรู้ ได้เป็นหัวหน้าคณะ มีดาบสเหล่านั้นห้อมล้อมไปยังนครพาราณสี. รุ่งขึ้นไปเที่ยวภิกขาจาร ได้ไปถึงพระลานหลวง. พระราชาทรงเลื่อมใสในอิริยาบถของดาบสทั้งหลาย นิมนต์ให้ฉันภายในพระนิเวศน์ แล้วทรงให้ท่านเหล่านี้พานักอยู่ในพระราชอุทยานของพระองค์. อยู่มาวันหนึ่ง พระองค์ทรงอังคาสดาบสทั้งหลายแล้วตรัสว่า วันนี้เวลาเย็นโยมจะไปพระราชอุทยาน ไหว้พระคุณเจ้าทั้งหลาย. เสตเกตุดาบสไปยังพระราชอุทยานแล้ว ประชุมดาบสพูดว่า ดูก่อนสหายร่วมชีวิตทั้งหลาย วันนี้ พระราชาจักเสด็จมา. ท่านชี้แจงว่า ธรรมดาพระราชาทั้งหลายทรงโปรดปรานครั้งเดียว ก็สามารถให้คนดารงชีพอยู่เป็นได้ชั่วอายุ วันนี้ ขอให้พวกเราบางพวกเดินเป็นกลุ่มๆ ไป บางพวกนอนบนหนาม บางพวกบาเพ็ญตบะ ๕ อย่าง บางพวกประกอบความเพียรวิธีกระโหย่งเท้า บางพวกลงน้า บางพวกสาธยายมนต์ ดังนี้แล้ว ตัวท่านเองนั่งบนตั่งที่ไม่มีพนักพิงที่ประตูบรรณศาลา วางคัมภีร์ ๑ คัมภีร์ที่รุ่งเรืองด้วยรงคเบญจวรรณแวววาวไว้บนกากะเยียที่มีสีงดง าม แล้วแก้ปัญหาที่มาณพสี่-ห้าคนซักถามมา. ขณะนั้น พระราชาเสด็จมาทอดพระเนตรเห็นดาบสเหล่านั้นบาเพ็ญมิจฉาตบะ คือตบะผิดพอพระราชหฤทัย จึงเสด็จเข้าไปหาเสตเกตุดาบส ทรงไหว้แล้วประทับนั่ง ณ ที่สมควรข้างหนึ่ง
  • 5. 5 เมื่อทรงปราศัยกับท่านปุโรหิต จึงได้ตรัสคาถาที่ ๓ ว่า :- ชฏิลเหล่าใด ผู้นุ่งหนังสัตว์ที่แข็งกระด้าง มีฟันสกปรก มีรูปร่างเศร้าหมอง ร่ายมนต์อยู่ ชฎิลเหล่านั้นดารงอยู่ในความเพียรของมนุษย์ รู้โลกนี้แล้ว จะพ้นจากอบายหรือไม่หนอ? ปุโรหิตฟังพระดารัสนั้นแล้ว ได้ทูลคาถาที่ ๔ ว่า :- ข้าแต่มหาราชเจ้า ผู้ใดเป็ นพหูสูต คงแก่เรียน แต่ทาบาปกรรมไว้ ไม่ประพฤติธรรมเลย ผู้นั้นถึงจะมีเวทมนต์ตั้งพัน อาศัยเวทมนต์นั้น แต่ไม่ถึงจรณะ ก็ไม่พ้นทุกข์. มีคาอธิบายได้ว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า ผู้ใดสาคัญว่า เราเป็นพหูสูต แม้มีความรู้ตั้งพันแต่ไม่ประพฤติสุจริต ๓ อย่าง ทาแต่บาปอย่างเดียว ผู้นั้นครั้นทาบาปกรรมเหล่านั้นแล้ว อาศัยความเป็นพหูสูตนั้น แต่ไม่บรรลุจรณะ กล่าวคือศีลและสมาบัติ ก็คงไม่พ้นทุกข์ คือไม่พ้นจากอบายทุกข์ไปได้เลย. พระราชา ครั้นทรงสดับคานั้นแล้ว ทรงนาไปแล้วซึ่งความเลื่อมใสในดาบสทั้งหลาย. ลาดับนั้น เสตเกตุดาบสจึงคิดว่าพระราชานี้ได้เกิดความเลื่อมใสในดาบสทั้งหลายแล้ว แต่ปุโรหิตคนนี้บั่นทอนความเลื่อมใสนั้น เหมือนเอามีดฟัน เราควรจะทูลกับพระราชานั้น. ท่านเมื่อทูลกับพระราชา ได้ถวายพระพรคาถาที่ ๕ ว่า :- คนแม้มีเวทมนต์ตั้งพันอาศัยเวทมนต์นั้น แต่ยังไม่ถึงจรณะ ก็ยังไม่พ้นทุกข์ อาตมภาพเข้าใจว่า พระเวททั้งหลายเป็นสิ่งที่ไร้ผล จรณะคือการสารวมอย่างดีเท่านั้นแหละเป็นของจริง. คาถานั้นมีเนื้อความดังต่อไปนี้ว่า แม้ผู้มีเวทมนต์ตั้งพันบทอาศัยความเป็นพหูสูตนั้น แต่ยังไม่บรรลุจรณะ ก็จะเปลื้องตนออกจากทุกข์ไม่ได้ เมื่อเป็นเช่นนั้น อาตมภาพจึงเข้าใจว่า พระเวท ๓ คัมภีร์เป็นสิ่งที่ไร้ผล จรณะที่มีศีลอิงสมาบัติ ๘ เท่านั้นเป็ นของจริง. ปุโรหิตได้ฟังคานั้นแล้ว ได้กล่าวคาถาที่ ๖ ว่า :- พระเวทไม่ใช่เป็นสิ่งที่ไม่มีผลเลย จรณะคือการสารวมระวังเท่านั้นเป็นของจริงก็หามิได้ คนอาศัยพระเวทแล้ว ได้รับเกียรติก็มี ผู้ฝึกตนแล้วด้วยจรณะ จะบรรลุความสงบได้. คาถานั้นมีเนื้อความดังต่อไปนี้ คือไม่ใช่พระเวท ๓ อย่างไม่มีผล ไม่เฉพาะจรณะ คือการสารวมระวังเท่านั้นเป็ นของจริง คือดีกว่า ได้แก่สูงสุด หมายความว่าประเสริฐ. เพราะเหตุไร? เพราะคนอาศัยพระเวท คืออาศัยพระเวท ๓ อย่าง
  • 6. 6 ได้รับเพียงเกียรติ เพียงยศ เพียงลาภเท่านั้น ไม่มีอย่างอื่นยิ่งกว่านี้ เพราะฉะนั้น พระเวทเหล่านั้นจึงชื่อว่า ไม่มีผล. ผู้ตั้งอยู่ในศีลแล้วให้สมาบัติเกิดขึ้น เจริญวิปัสสนามีสมาบัติเป็นปทัฏฐาน ย่อมบรรลุความสงบโดยส่วนเดียว คือธรรมอย่างเอกที่มีชื่อว่าพระนิพพาน. ปุโรหิตหักล้างคาของท่านเสตเกตุดาบสอย่างนี้แล้ว ได้ทาดาบสเหล่านั้นทั้งหมด ให้เป็นคฤหัสถ์คือให้สึก ให้ถือโล่และอาวุธ จักให้เป็นการกชนเป็ นทหารหมู่ใหญ่ให้ทาการบารุงพระราชา. ได้ทราบว่า นี้คือวงศ์ของการกชนหมู่ใหญ่. พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุมชาดกว่า เสตเกตุดาบสในครั้งนั้น ได้แก่ ภิกษุผู้โกหก ในบัดนี้ บุตรของคนจัณฑาลในครั้งนั้น ได้แก่ พระสารีบุตร ในบัดนี้ ส่วนปุโรหิตได้แก่ เราตถาคต ฉะนี้แล. จบ อรรถกถาเสตเกตุชาดกที่ ๒ -----------------------------------------------------