SlideShare a Scribd company logo
1
                                          โครงการ
	         การบริหารงานของหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จะก�ำหนดแผนงานในแต่ละด้าน              
เอาไว้ และในแผนงานนั้นจะประกอบด้วยโครงการต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน เมื่อโครงการ
ที่ได้จัดท�ำขึ้นมีประสิทธิภาพ น�ำไปสู่การปฏิบัติที่มีประสิทธิผล การด�ำเนินงานตามแผนที่วางไว้         
ประสบความส�ำเร็จ น�ำไปสู่ความเจริญก้าวหน้าอย่างไม่หยุดยั้งขององค์กร โครงการจึงเป็นเรื่องส�ำคัญ
ยิ่งที่ต้องมีประสิทธิภาพ ซึ่งเกิดมาจากการจัดท�ำที่ถูกต้อง สมบูรณ์ มีกระบวนการ
	         องค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดท� ำโครงการซึ่งจะน�ำเสนอในที่นี้  แม้จะเน้นเฉพาะโครงการใน            
สถานศึกษา แต่อย่างไรก็ตาม หลักการดังกล่าวก็เป็นพื้นฐานที่สามารถประยุกต์ใช้ได้กับการจัดท�ำ
โครงการทุกประเภทได้

ความหมายของโครงการ
	
	     โครงการ (Project) หมายถึง แผนหรือเค้าโครงการที่ก�ำหนดขึ้นเพื่อเสริมการด�ำเนินงานใน       
สภาพปกติให้เกิดประสิทธิภาพ มักเป็นงานพิเศษต่างจากงานประจ�ำ  โดยมีจุดมุ่งหมาย เป้าหมาย
กิจกรรมการด�ำเนินงาน และระยะเวลาที่สิ้นสุดแน่นอน และจะไม่ท�ำกิจกรรมซ�้ำอีกซึ่งอาจยกเว้นถ้ามี
การปรับให้ต่างจากเดิม
       	
ความส�ำคัญของโครงการ
	     การด�ำเนินโครงการ กิจกรรมใด ๆ มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ ชัดเจน ซึ่งมีความส�ำคัญช่วย
ให้งานส�ำเร็จ  ดังนี้
	     1.	 เป็นแนวทางหรือวิธีการที่จะน�ำไปสู่ปรากฏการณ์ที่ต้องการจะให้เกิดขึ้นในอนาคตอย่างมี
ระบบ โดยมีการก�ำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และกิจกรรมต่าง ๆ ได้
	     2.	 ท�ำให้การก�ำหนดล�ำดับขันของกิจกรรมต่าง ๆ ทีจะต้องท�ำมีความต่อเนืองสอดคล้องกันอย่าง
                                 ้                   ่                      ่
มีประสิทธิภาพ ประหยัดทรัพยากรต่าง ๆ และมีประสิทธิผลได้
	     3.	 ท�ำให้เกิดการประสานระหว่างผู้ปฏิบัติงานหรือหน่วยงานปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ไม่ให้กิจกรรม
บางอย่างขาดหายไปหรือซ�้ำซ้อนกัน
4.	 ท� ำ ให้ เ กิ ด การประเมิ น ผลอย่ า งมี ขั้ น ตอนและมี คุ ณ ภาพที่ ดี   ท� ำ ให้ ไ ด้ ส ารสนเทศจาก                
การประเมินที่เป็นประโยชน์

ประโยชน์ของโครงการ
	     โครงการที่ด�ำเนินการขึ้นตามความต้องการ จ�ำเป็นของหน่วยงาน ท�ำให้ผู้เกี่ยวข้องได้รับ
ประโยชน์ และช่วยให้หน่วยงานมีคุณภาพตามมา เช่น โครงการที่พัฒนาขึ้นจากการรายงานประจ�ำปี
ของสถานศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษา หากมีการวางแผนโครงการอย่างเป็นระบบ
ชัดเจน จะส่งผลให้นักเรียนมีคุณภาพตามหลักสูตร ครูจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และโรงเรียน              
มีคุณภาพ ซึ่งประโยชน์ของโครงการมีดังนี้
	     1.	 ช่วยให้แผนมีความชัดเจน โดยบุคคลทีเ่ กียวข้องมีความเข้าใจและรับรูถงปัญหาต่าง ๆ ร่วมกัน
                                                ่                         ้ึ
	     2.	 ช่วยให้การปฏิบัติตามแผนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
	     3.	 ช่วยให้การจัดและใช้ทรัพยากรได้อย่างเหมาะสมในการปฏิบัติงานรวมทั้งมีรายละเอียด          
ขั้นตอนต่าง ๆ ในการใช้ได้อย่างชัดเจน
	     4.	 ช่วยลดความซ�้ำซ้อนตามภารกิจของหน่วยงานย่อยในองค์การ ซึ่งจะส่งผลให้ลดหรือขจัด
ความขัดแย้ง ท�ำให้บุคลากรมีความสามัคคีเพราะได้ปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับภารกิจตามความรู้           
ความสามารถ
	     5.	 สร้างความมั่นใจให้ทั้งฝ่ายจัดท�ำแผนและฝ่ายปฏิบัติตามแผน
	     6.	 สามารถควบคุมแผนได้ง่าย เพราะมีการจัดแยกงานออกเป็นส่วน ๆ ตามลักษณะเฉพาะ

ลักษณะของโครงการที่ดี
	
	      โครงการที่ดีและมีปัจจัยอื่น ๆ สนับสนุนอย่างเพียงพอ จะเอื้อประโยชน์แก่บุคคล หน่วยงาน  
โดยให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่า ลักษณะที่ส�ำคัญของโครงการที่ดีมีดังนี้
	      1.	 เป็นโครงการที่สามารถแก้ปัญหาได้จริง โดยผ่านการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องอย่าง
ครอบคลุม เช่น จากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐาน
ที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์         
คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ โรงเรียนมีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ พอใช้ ซึ่งในการเขียน  
โครงการต้องเขียนให้เห็นทิศทางในการแก้ปัญหาของมาตรฐานที่ 4
	      2.	 มีรายละเอียดของโครงการครบถ้วน ชัดเจน โดยสามารถตอบค�ำถามต่อไปนี้ได้คือ
	      	 2.1	 โครงการอะไร 	                        =	 ชื่อโครงการ
	      	 2.2	 ท�ำไมต้องท�ำโครงการ	                 =	 หลักการและเหตุผล

                                                            2
2.3	 ท�ำเพื่ออะไร 	                          = 	 วัตถุประสงค์
        	   	 2.4	 ปริมาณที่จะท�ำเท่าไร 	                  = 	 เป้าหมาย
       	   	 2.5	 ท�ำอย่างไร 	                             = 	 วิธีด�ำเนินการ
        	   	 2.6	 จะท�ำเมื่อไร นานเท่าใด 	                = 	 ระยะเวลาด�ำเนินการ
        	   	 2.7	 ใช้ทรัพยากรเท่าไรและได้มาจากไหน	 =	 งบประมาณ แหล่งที่มา
        	   	 2.8 	ใครท�ำ 	                                = 	 ผู้รับผิดชอบโครงการ
        	   	 2.9 	ต้องประสานงานกับใคร 	                   = 	 หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน
        	   	 2.10 	บรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ 	             = 	 การประเมินผล
        	  	 2.11	เมื่อเสร็จสิ้นโครงการแล้วจะได้อะไร 	 = 	 ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
	        3.	 รายละเอียดของโครงการดังกล่าว ต้องมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน เช่น วัตถุประสงค์ต้อง
สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล วิธีด�ำเนินการต้องเป็นทางที่ท�ำให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้
	        4.	 โครงการที่ริเริ่มขึ้นมาต้องมีผลอย่างน้อยที่สุดอย่างใดอย่างหนึ่งในหัวข้อต่อไปนี้
	        	 4.1	 สนองตอบ สนับสนุนต่อนโยบายโรงเรียนหรือนโยบายส่วนรวมของประเทศ
	        	 4.2	 ก่อให้เกิดการพัฒนาทั้งเฉพาะส่วนและการพัฒนาโดยส่วนรวมของประเทศ
	        	 4.3	 แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ตรงจุด ตรงประเด็น
	        5.	 รายละเอียดในโครงการชัดเจน ผู้อื่นอ่านแล้วเข้าใจ และสามารถด�ำเนินการตามโครงการได้
	        6.	 เป็นโครงการที่ปฏิบัติได้และสามารถติดตามและประเมินผลได้

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นก่อนด�ำเนินโครงการ
	     การวิเคราะห์ขอมูลเบืองต้นโครงการ โดยการตอบค�ำถามตามประเด็นต่อไปนี้ จะช่วยให้ทศทาง
                   ้      ้                                                        ิ
การด�ำเนินโครงการชัดเจน น่าจะมีโอกาสประสบความส�ำเร็จ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้




                                               3
1 มีปัญหาอะไร
                                         หรือต้องการพัฒนาอะไร
                                                                          2 วัตถุประสงค์มีอย่างไร
     8 ผลประโยชน์จากการ                                                 ซึ่งต้องสอดคล้องกับนโยบาย
   ด�ำเนินโครงการเป็นอย่างไร                                             และเป้าหมายของโรงเรียน


                                         การวิเคราะห์ข้อมูล                    3 ยึดถือหลักการ
   7 ใครเกี่ยวข้อง หน่วยงานใด                                             ทฤษฎีอะไร ที่ท�ำให้น่าเชื่อ
        ให้การสนับสนุน                   ก่อนเขียนโครงการ
                                                                            ว่าโครงการจะได้ผลดี

    6 มีวิธีการด�ำเนินโครงการ
            อย่างไร
                                                                          4 ด�ำเนินโครงการกับกลุ่ม
                                                                              เป้าหมายใด  ที่ไหน
                                                                                จ�ำนวนคนเท่าไร   
                                       5 ก�ำหนดระยะเวลาด�ำเนิน
                                        งาน งบประมาณ อย่างไร

                          ภาพประกอบที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลก่อนเขียนโครงการ

	      1.	 มีปัญหาอะไร หรือต้องการพัฒนาอะไร ค�ำถามข้อนี้จะต้องตอบให้ได้เพื่อด�ำเนินการในข้อ
ต่อไป  
	      2. 	วัตถุประสงค์ในการด�ำเนินโครงการ ต้องก�ำหนดให้สอดคล้องกับนโยบายหรือเป้าหมาย        
ของสถานศึกษา เช่น เป้าหมายก�ำหนดว่า ผู้เรียนร้อยละ 50 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ใน
ระดับดีขึ้นไป วัตถุประสงค์ คือ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์
	      3. 	หลักการ ทฤษฎีทนำมาอ้างอิง ควรค้นคว้าเอกสารทีจะมาใช้ประกอบในการด�ำเนินโครงการ
                           ี่ �                           ่
เพื่อความถูกต้อง สอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงาน เช่น โครงการส่งเสริมการอ่าน ควรศึกษา
มาตรฐานผู้เรียนด้านมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน และมีนิสัยรักการอ่านจากมาตรฐานห้องสมุด เพื่อจะได้         
ก�ำหนดปริมาณการอ่านหนังสือเพิ่มเติมขั้นต�่ำที่เหมาะสมกับระดับชั้น ซึ่งมีรายละเอียด ได้แก่
	      	 ประถมศึกษาปีที่ 1 อ่านหนังสือเพิ่มเติมอย่างน้อยคนละ 1 เล่มต่อปี
	      	 ประถมศึกษาปีที่ 2 อ่านหนังสือเพิ่มเติมอย่างน้อยคนละ 3 เล่มต่อภาคเรียน
	      	 ประถมศึกษาปีที่ 3 อ่านหนังสือเพิ่มเติมอย่างน้อยคนละ 4 เล่มต่อภาคเรียน
	      	 ประถมศึกษาปีที่ 4-6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อ่านหนังสือเพิ่มเติมอย่างน้อยคนละ 5 เล่ม       
ต่อภาคเรียน
	      	 มัธยมศึกษาปีที่ 2 อ่านหนังสือเพิ่มเติมอย่างน้อยคนละ 6 เล่มต่อภาคเรียน

                                                 4
มัธยมศึกษาปีที่ 3 อ่านหนังสือเพิ่มเติมอย่างน้อยคนละ 7 เล่มต่อภาคเรียน
	        	 มัธยมศึกษาปีที่ 4-6 อ่านหนังสือเพิ่มเติมอย่างน้อยคนละ 10 เล่มต่อภาคเรียน
	        จากข้อมูลที่ศึกษาค้นคว้า จะท�ำให้การด�ำเนินงานสอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงาน และ        
เกิดผลดีต่อโรงเรียน
	        4.	 กลุ่มเป้าหมาย ควรระบุกลุ่มเป้าหมายและจ�ำนวนให้ชัดเจน เพื่อประเมินระดับความส�ำเร็จ       
เมื่อสิ้นสุดโครงการ
	        5. 	ระยะเวลาด�ำเนินงาน งบประมาณ ควรก�ำหนดระยะเวลาที่จะเริ่มต้น-สิ้นสุดโครงการ และ
งบประมาณที่ต้องใช้ด�ำเนินโครงการ
	        6. 	วิธีด�ำเนินโครงการ มีขั้นตอนการด�ำเนินงานอย่างไรบ้าง วงจรเดมมิง (Deming Cycle)       
เป็นกระบวนการด�ำเนินงานเชิงระบบรูปแบบหนึ่งที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย PDCA มาจากค�ำว่า Plan
(วางแผน) Do (ปฏิบัติ) Check (ตรวจสอบ) และ Act (ปรับปรุงและพัฒนา) ซึ่งสามารถน�ำมาใช้ใน         
ขั้นตอนการด�ำเนินโครงการ
	        7. 	ผู้ที่เกี่ยวข้อง ต้องให้ใครช่วยเหลือบ้าง ควรระบุให้ชัดเจน
	        8. 	ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับในการท�ำโครงการนี้ ต้องคาดหมายว่า เมื่อเสร็จสิ้นโครงการจะ     
เกิดประโยชน์แก่กลุ่มเป้าหมายอย่างไร
	
องค์ประกอบของโครงการ
	      การเขียนโครงการเสนอฝ่ายบริหารจะต้องเขียนในแบบบันทึกทีหน่วยงานนัน ๆ ก�ำหนด โครงการ
                                                            ่           ้
ทัว ๆ ไปมีองค์ประกอบส�ำคัญ ๆ แตกต่างกันไป แต่การเสนอโครงการทีบรรจุไว้ในแผนปฏิบตการประจ�ำ
  ่                                                           ่               ัิ
ปีของสถานศึกษา โดยมีเป้าหมายเพือพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพภายใน
                                ่
ของสถานศึกษานั้น ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2554 : 60-61)  ได้ก�ำหนดแบบ
ฟอร์มการเขียนโครงการ/กิจกรรม มีองค์ประกอบที่ส�ำคัญ ดังนี้

1. 	ชื่อโครงการ .....................................................................................................................................
    	(ชื่อกิจกรรม :…………………………………………………………………..........................................…………..)
   	 แผนงาน (กลยุทธ์ระดับองค์กร) ......................................................................................................
    	ลักษณะโครงการ .............................................................................................................................
    	สนองกลยุทธ์โรงเรียน ......................................................................................................................
   	 สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ..........................................................................
 	 ผู้รับผิดชอบโครงการ ......................................................................................................................


                                                                         5
2. 	หลักการและเหตุผล ........................................................................................................................
3. 	วัตถุประสงค์
	 3.1 ..................................................................................................................................................
	 3.2 ..................................................................................................................................................
4. 	เป้าหมาย
	 4.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ
	 4.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ	
5. 	วิธีด�ำเนินการ/ขั้นตอนด�ำเนินงาน

   	 	 ิจกรรมส�ำคัญ	
       ก                             ระยะเวลา	 งบประมาณ	                                                                   ผู้รับผิดชอบ
   1. ..............................			
   2. ..............................			
   3. ..............................			
   4. ..............................			

6. 	ระยะเวลาด�ำเนินการ ......................................................................................................................
7. 	งบประมาณ ...............................................................................................................................บาท
8. 	หน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้อง ..................................................................................................................
9. 	ระดับความส�ำเร็จ

   	 	                      ตัวชี้วัดความส�ำเร็จ	                                    วิธีการประเมิน	                           เครื่องมือ
   1.	..............................................................................		
   2.	..............................................................................		
   3.	..............................................................................		

10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ........................................................................................................................
	 	 	 	 	 	                                                             ลงชื่อ .................................... ผู้เสนอโครงการ
	 	 	 	 	                       	                                       	 (..................................)
	 	 	 	 	 	                                                             ลงชื่อ ................................... ผู้อนุมัติโครงการ
	 	 	 	 	                        	                                      	 (..................................)	

                                                                           6
สรุป
	
	      โครงการเป็นแผนหรือเค้าโครงการที่กำหนดขึ้นเพื่อเสริมการด�ำเนินงานในสภาพปกติให้เกิด
                                          �
ประสิทธิภาพ ซึ่งผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นให้ครอบคลุม สอดคล้องกับ
นโยบายของหน่วยงานต้นสังกัดและเป้าหมายของโรงเรียน เพื่อการด�ำเนินโครงการจะมีประสิทธิภาพ
สามารถแก้ปัญหาได้จริง การเขียนโครงการที่สมบูรณ์ สามารถสื่อสารให้ผู้อนุมัติหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
เข้าใจและรับรู้ได้ตรงกัน ต้องมีรายละเอียดของโครงการครบถ้วน ชัดเจน ได้แก่ ชื่อโครงการ ผู้รับ          
ผิดชอบโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีด�ำเนินการ ระยะเวลาด�ำเนินการ       
งบประมาณ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ระดับความส�ำเร็จ ผลที่คาดว่าจะได้รับ




                                                 7

More Related Content

What's hot

เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
suwanna champasak
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
Ployza Com-ed
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
natthasarttier
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรSirirat Pongpid
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Mark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
Mark'k Stk
 
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบการจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
somporn Isvilanonda
 
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการประจำปีงบประมาณ 2557
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการประจำปีงบประมาณ 2557แบบรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการประจำปีงบประมาณ 2557
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการประจำปีงบประมาณ 2557อับดลรอศักดิ์ มณีโส๊ะ
 
Somporn reearch management 19 07-2019
Somporn reearch management  19 07-2019Somporn reearch management  19 07-2019
Somporn reearch management 19 07-2019
somporn Isvilanonda
 
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
Boontrakarn Silarak
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
narissararuksri
 
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสามการนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสามrbsupervision
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
kanwan0429
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
จุลี สร้อยญานะ
 
เรื่องความหมายและความสำคัญของโครงงาน
เรื่องความหมายและความสำคัญของโครงงานเรื่องความหมายและความสำคัญของโครงงาน
เรื่องความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ณัชชา บัวผัด
 

What's hot (17)

เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
Pwนโยบายคืออะไร
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบการจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
 
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการประจำปีงบประมาณ 2557
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการประจำปีงบประมาณ 2557แบบรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการประจำปีงบประมาณ 2557
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการประจำปีงบประมาณ 2557
 
3
33
3
 
Somporn reearch management 19 07-2019
Somporn reearch management  19 07-2019Somporn reearch management  19 07-2019
Somporn reearch management 19 07-2019
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
 
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสามการนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
 
เรื่องความหมายและความสำคัญของโครงงาน
เรื่องความหมายและความสำคัญของโครงงานเรื่องความหมายและความสำคัญของโครงงาน
เรื่องความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 

Viewers also liked

95 años papa
95 años papa95 años papa
95 años papa
pilar
 
98 smk purnama bakti
98 smk purnama bakti98 smk purnama bakti
98 smk purnama baktiPurnama Bakti
 
9 5-13 presentation
9 5-13 presentation9 5-13 presentation
9 5-13 presentation
caldwellr
 
9781107660151 excerpt
9781107660151 excerpt9781107660151 excerpt
9781107660151 excerpt
Tuyet Le
 
988087 (1)
988087 (1)988087 (1)
水晶石新品(会员)电子册 第9期
水晶石新品(会员)电子册 第9期水晶石新品(会员)电子册 第9期
水晶石新品(会员)电子册 第9期
justinyeh2010
 
快樂做父母--適才適性的親子互動-991110 台南縣宅港國小-詹翔霖教授
快樂做父母--適才適性的親子互動-991110 台南縣宅港國小-詹翔霖教授快樂做父母--適才適性的親子互動-991110 台南縣宅港國小-詹翔霖教授
快樂做父母--適才適性的親子互動-991110 台南縣宅港國小-詹翔霖教授文化大學
 

Viewers also liked (9)

95 años papa
95 años papa95 años papa
95 años papa
 
98 smk purnama bakti
98 smk purnama bakti98 smk purnama bakti
98 smk purnama bakti
 
9 5-13 presentation
9 5-13 presentation9 5-13 presentation
9 5-13 presentation
 
9781107660151 excerpt
9781107660151 excerpt9781107660151 excerpt
9781107660151 excerpt
 
988087 (1)
988087 (1)988087 (1)
988087 (1)
 
97 10d
97 10d97 10d
97 10d
 
水晶石新品(会员)电子册 第9期
水晶石新品(会员)电子册 第9期水晶石新品(会员)电子册 第9期
水晶石新品(会员)电子册 第9期
 
95_tekno 1.ebal.doc
95_tekno 1.ebal.doc95_tekno 1.ebal.doc
95_tekno 1.ebal.doc
 
快樂做父母--適才適性的親子互動-991110 台南縣宅港國小-詹翔霖教授
快樂做父母--適才適性的親子互動-991110 台南縣宅港國小-詹翔霖教授快樂做父母--適才適性的親子互動-991110 台南縣宅港國小-詹翔霖教授
快樂做父母--適才適性的親子互動-991110 台南縣宅港國小-詹翔霖教授
 

Similar to 9789740330325

การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการkasetpcc
 
ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8
Mim Papatchaya
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
จตุรพล ชานันโท
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
teerayut123
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
benty2443
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
gam030
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
fernfielook
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
poppai041507094142
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
wanneemayss
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
Piyapong Chaichana
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
wanitchaya001
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
nattawad147
 

Similar to 9789740330325 (20)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
 
555
555555
555
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740330325

  • 1. 1 โครงการ การบริหารงานของหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จะก�ำหนดแผนงานในแต่ละด้าน เอาไว้ และในแผนงานนั้นจะประกอบด้วยโครงการต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน เมื่อโครงการ ที่ได้จัดท�ำขึ้นมีประสิทธิภาพ น�ำไปสู่การปฏิบัติที่มีประสิทธิผล การด�ำเนินงานตามแผนที่วางไว้ ประสบความส�ำเร็จ น�ำไปสู่ความเจริญก้าวหน้าอย่างไม่หยุดยั้งขององค์กร โครงการจึงเป็นเรื่องส�ำคัญ ยิ่งที่ต้องมีประสิทธิภาพ ซึ่งเกิดมาจากการจัดท�ำที่ถูกต้อง สมบูรณ์ มีกระบวนการ องค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดท� ำโครงการซึ่งจะน�ำเสนอในที่นี้  แม้จะเน้นเฉพาะโครงการใน สถานศึกษา แต่อย่างไรก็ตาม หลักการดังกล่าวก็เป็นพื้นฐานที่สามารถประยุกต์ใช้ได้กับการจัดท�ำ โครงการทุกประเภทได้ ความหมายของโครงการ โครงการ (Project) หมายถึง แผนหรือเค้าโครงการที่ก�ำหนดขึ้นเพื่อเสริมการด�ำเนินงานใน สภาพปกติให้เกิดประสิทธิภาพ มักเป็นงานพิเศษต่างจากงานประจ�ำ โดยมีจุดมุ่งหมาย เป้าหมาย กิจกรรมการด�ำเนินงาน และระยะเวลาที่สิ้นสุดแน่นอน และจะไม่ท�ำกิจกรรมซ�้ำอีกซึ่งอาจยกเว้นถ้ามี การปรับให้ต่างจากเดิม ความส�ำคัญของโครงการ การด�ำเนินโครงการ กิจกรรมใด ๆ มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ ชัดเจน ซึ่งมีความส�ำคัญช่วย ให้งานส�ำเร็จ ดังนี้ 1. เป็นแนวทางหรือวิธีการที่จะน�ำไปสู่ปรากฏการณ์ที่ต้องการจะให้เกิดขึ้นในอนาคตอย่างมี ระบบ โดยมีการก�ำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และกิจกรรมต่าง ๆ ได้ 2. ท�ำให้การก�ำหนดล�ำดับขันของกิจกรรมต่าง ๆ ทีจะต้องท�ำมีความต่อเนืองสอดคล้องกันอย่าง ้ ่ ่ มีประสิทธิภาพ ประหยัดทรัพยากรต่าง ๆ และมีประสิทธิผลได้ 3. ท�ำให้เกิดการประสานระหว่างผู้ปฏิบัติงานหรือหน่วยงานปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ไม่ให้กิจกรรม บางอย่างขาดหายไปหรือซ�้ำซ้อนกัน
  • 2. 4. ท� ำ ให้ เ กิ ด การประเมิ น ผลอย่ า งมี ขั้ น ตอนและมี คุ ณ ภาพที่ ดี   ท� ำ ให้ ไ ด้ ส ารสนเทศจาก การประเมินที่เป็นประโยชน์ ประโยชน์ของโครงการ โครงการที่ด�ำเนินการขึ้นตามความต้องการ จ�ำเป็นของหน่วยงาน ท�ำให้ผู้เกี่ยวข้องได้รับ ประโยชน์ และช่วยให้หน่วยงานมีคุณภาพตามมา เช่น โครงการที่พัฒนาขึ้นจากการรายงานประจ�ำปี ของสถานศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษา หากมีการวางแผนโครงการอย่างเป็นระบบ ชัดเจน จะส่งผลให้นักเรียนมีคุณภาพตามหลักสูตร ครูจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และโรงเรียน มีคุณภาพ ซึ่งประโยชน์ของโครงการมีดังนี้ 1. ช่วยให้แผนมีความชัดเจน โดยบุคคลทีเ่ กียวข้องมีความเข้าใจและรับรูถงปัญหาต่าง ๆ ร่วมกัน ่ ้ึ 2. ช่วยให้การปฏิบัติตามแผนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 3. ช่วยให้การจัดและใช้ทรัพยากรได้อย่างเหมาะสมในการปฏิบัติงานรวมทั้งมีรายละเอียด ขั้นตอนต่าง ๆ ในการใช้ได้อย่างชัดเจน 4. ช่วยลดความซ�้ำซ้อนตามภารกิจของหน่วยงานย่อยในองค์การ ซึ่งจะส่งผลให้ลดหรือขจัด ความขัดแย้ง ท�ำให้บุคลากรมีความสามัคคีเพราะได้ปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับภารกิจตามความรู้ ความสามารถ 5. สร้างความมั่นใจให้ทั้งฝ่ายจัดท�ำแผนและฝ่ายปฏิบัติตามแผน 6. สามารถควบคุมแผนได้ง่าย เพราะมีการจัดแยกงานออกเป็นส่วน ๆ ตามลักษณะเฉพาะ ลักษณะของโครงการที่ดี โครงการที่ดีและมีปัจจัยอื่น ๆ สนับสนุนอย่างเพียงพอ จะเอื้อประโยชน์แก่บุคคล หน่วยงาน โดยให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่า ลักษณะที่ส�ำคัญของโครงการที่ดีมีดังนี้ 1. เป็นโครงการที่สามารถแก้ปัญหาได้จริง โดยผ่านการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องอย่าง ครอบคลุม เช่น จากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐาน ที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ โรงเรียนมีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ พอใช้ ซึ่งในการเขียน โครงการต้องเขียนให้เห็นทิศทางในการแก้ปัญหาของมาตรฐานที่ 4 2. มีรายละเอียดของโครงการครบถ้วน ชัดเจน โดยสามารถตอบค�ำถามต่อไปนี้ได้คือ 2.1 โครงการอะไร = ชื่อโครงการ 2.2 ท�ำไมต้องท�ำโครงการ = หลักการและเหตุผล 2
  • 3. 2.3 ท�ำเพื่ออะไร = วัตถุประสงค์ 2.4 ปริมาณที่จะท�ำเท่าไร = เป้าหมาย 2.5 ท�ำอย่างไร = วิธีด�ำเนินการ 2.6 จะท�ำเมื่อไร นานเท่าใด = ระยะเวลาด�ำเนินการ 2.7 ใช้ทรัพยากรเท่าไรและได้มาจากไหน = งบประมาณ แหล่งที่มา 2.8 ใครท�ำ = ผู้รับผิดชอบโครงการ 2.9 ต้องประสานงานกับใคร = หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน 2.10 บรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ = การประเมินผล 2.11 เมื่อเสร็จสิ้นโครงการแล้วจะได้อะไร = ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3. รายละเอียดของโครงการดังกล่าว ต้องมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน เช่น วัตถุประสงค์ต้อง สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล วิธีด�ำเนินการต้องเป็นทางที่ท�ำให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้ 4. โครงการที่ริเริ่มขึ้นมาต้องมีผลอย่างน้อยที่สุดอย่างใดอย่างหนึ่งในหัวข้อต่อไปนี้ 4.1 สนองตอบ สนับสนุนต่อนโยบายโรงเรียนหรือนโยบายส่วนรวมของประเทศ 4.2 ก่อให้เกิดการพัฒนาทั้งเฉพาะส่วนและการพัฒนาโดยส่วนรวมของประเทศ 4.3 แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ตรงจุด ตรงประเด็น 5. รายละเอียดในโครงการชัดเจน ผู้อื่นอ่านแล้วเข้าใจ และสามารถด�ำเนินการตามโครงการได้ 6. เป็นโครงการที่ปฏิบัติได้และสามารถติดตามและประเมินผลได้ การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นก่อนด�ำเนินโครงการ การวิเคราะห์ขอมูลเบืองต้นโครงการ โดยการตอบค�ำถามตามประเด็นต่อไปนี้ จะช่วยให้ทศทาง ้ ้ ิ การด�ำเนินโครงการชัดเจน น่าจะมีโอกาสประสบความส�ำเร็จ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 3
  • 4. 1 มีปัญหาอะไร หรือต้องการพัฒนาอะไร 2 วัตถุประสงค์มีอย่างไร 8 ผลประโยชน์จากการ ซึ่งต้องสอดคล้องกับนโยบาย ด�ำเนินโครงการเป็นอย่างไร และเป้าหมายของโรงเรียน การวิเคราะห์ข้อมูล 3 ยึดถือหลักการ 7 ใครเกี่ยวข้อง หน่วยงานใด ทฤษฎีอะไร ที่ท�ำให้น่าเชื่อ ให้การสนับสนุน ก่อนเขียนโครงการ ว่าโครงการจะได้ผลดี 6 มีวิธีการด�ำเนินโครงการ อย่างไร 4 ด�ำเนินโครงการกับกลุ่ม เป้าหมายใด ที่ไหน จ�ำนวนคนเท่าไร 5 ก�ำหนดระยะเวลาด�ำเนิน งาน งบประมาณ อย่างไร ภาพประกอบที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลก่อนเขียนโครงการ 1. มีปัญหาอะไร หรือต้องการพัฒนาอะไร ค�ำถามข้อนี้จะต้องตอบให้ได้เพื่อด�ำเนินการในข้อ ต่อไป 2. วัตถุประสงค์ในการด�ำเนินโครงการ ต้องก�ำหนดให้สอดคล้องกับนโยบายหรือเป้าหมาย ของสถานศึกษา เช่น เป้าหมายก�ำหนดว่า ผู้เรียนร้อยละ 50 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ใน ระดับดีขึ้นไป วัตถุประสงค์ คือ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ 3. หลักการ ทฤษฎีทนำมาอ้างอิง ควรค้นคว้าเอกสารทีจะมาใช้ประกอบในการด�ำเนินโครงการ ี่ � ่ เพื่อความถูกต้อง สอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงาน เช่น โครงการส่งเสริมการอ่าน ควรศึกษา มาตรฐานผู้เรียนด้านมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน และมีนิสัยรักการอ่านจากมาตรฐานห้องสมุด เพื่อจะได้ ก�ำหนดปริมาณการอ่านหนังสือเพิ่มเติมขั้นต�่ำที่เหมาะสมกับระดับชั้น ซึ่งมีรายละเอียด ได้แก่ ประถมศึกษาปีที่ 1 อ่านหนังสือเพิ่มเติมอย่างน้อยคนละ 1 เล่มต่อปี ประถมศึกษาปีที่ 2 อ่านหนังสือเพิ่มเติมอย่างน้อยคนละ 3 เล่มต่อภาคเรียน ประถมศึกษาปีที่ 3 อ่านหนังสือเพิ่มเติมอย่างน้อยคนละ 4 เล่มต่อภาคเรียน ประถมศึกษาปีที่ 4-6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อ่านหนังสือเพิ่มเติมอย่างน้อยคนละ 5 เล่ม ต่อภาคเรียน มัธยมศึกษาปีที่ 2 อ่านหนังสือเพิ่มเติมอย่างน้อยคนละ 6 เล่มต่อภาคเรียน 4
  • 5. มัธยมศึกษาปีที่ 3 อ่านหนังสือเพิ่มเติมอย่างน้อยคนละ 7 เล่มต่อภาคเรียน มัธยมศึกษาปีที่ 4-6 อ่านหนังสือเพิ่มเติมอย่างน้อยคนละ 10 เล่มต่อภาคเรียน จากข้อมูลที่ศึกษาค้นคว้า จะท�ำให้การด�ำเนินงานสอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงาน และ เกิดผลดีต่อโรงเรียน 4. กลุ่มเป้าหมาย ควรระบุกลุ่มเป้าหมายและจ�ำนวนให้ชัดเจน เพื่อประเมินระดับความส�ำเร็จ เมื่อสิ้นสุดโครงการ 5. ระยะเวลาด�ำเนินงาน งบประมาณ ควรก�ำหนดระยะเวลาที่จะเริ่มต้น-สิ้นสุดโครงการ และ งบประมาณที่ต้องใช้ด�ำเนินโครงการ 6. วิธีด�ำเนินโครงการ มีขั้นตอนการด�ำเนินงานอย่างไรบ้าง วงจรเดมมิง (Deming Cycle) เป็นกระบวนการด�ำเนินงานเชิงระบบรูปแบบหนึ่งที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย PDCA มาจากค�ำว่า Plan (วางแผน) Do (ปฏิบัติ) Check (ตรวจสอบ) และ Act (ปรับปรุงและพัฒนา) ซึ่งสามารถน�ำมาใช้ใน ขั้นตอนการด�ำเนินโครงการ 7. ผู้ที่เกี่ยวข้อง ต้องให้ใครช่วยเหลือบ้าง ควรระบุให้ชัดเจน 8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับในการท�ำโครงการนี้ ต้องคาดหมายว่า เมื่อเสร็จสิ้นโครงการจะ เกิดประโยชน์แก่กลุ่มเป้าหมายอย่างไร องค์ประกอบของโครงการ การเขียนโครงการเสนอฝ่ายบริหารจะต้องเขียนในแบบบันทึกทีหน่วยงานนัน ๆ ก�ำหนด โครงการ ่ ้ ทัว ๆ ไปมีองค์ประกอบส�ำคัญ ๆ แตกต่างกันไป แต่การเสนอโครงการทีบรรจุไว้ในแผนปฏิบตการประจ�ำ ่ ่ ัิ ปีของสถานศึกษา โดยมีเป้าหมายเพือพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ่ ของสถานศึกษานั้น ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2554 : 60-61) ได้ก�ำหนดแบบ ฟอร์มการเขียนโครงการ/กิจกรรม มีองค์ประกอบที่ส�ำคัญ ดังนี้ 1. ชื่อโครงการ ..................................................................................................................................... (ชื่อกิจกรรม :…………………………………………………………………..........................................…………..) แผนงาน (กลยุทธ์ระดับองค์กร) ...................................................................................................... ลักษณะโครงการ ............................................................................................................................. สนองกลยุทธ์โรงเรียน ...................................................................................................................... สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา .......................................................................... ผู้รับผิดชอบโครงการ ...................................................................................................................... 5
  • 6. 2. หลักการและเหตุผล ........................................................................................................................ 3. วัตถุประสงค์ 3.1 .................................................................................................................................................. 3.2 .................................................................................................................................................. 4. เป้าหมาย 4.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ 4.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ 5. วิธีด�ำเนินการ/ขั้นตอนด�ำเนินงาน ิจกรรมส�ำคัญ ก ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ 1. .............................. 2. .............................. 3. .............................. 4. .............................. 6. ระยะเวลาด�ำเนินการ ...................................................................................................................... 7. งบประมาณ ...............................................................................................................................บาท 8. หน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้อง .................................................................................................................. 9. ระดับความส�ำเร็จ ตัวชี้วัดความส�ำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือ 1. .............................................................................. 2. .............................................................................. 3. .............................................................................. 10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ........................................................................................................................ ลงชื่อ .................................... ผู้เสนอโครงการ (..................................) ลงชื่อ ................................... ผู้อนุมัติโครงการ (..................................) 6
  • 7. สรุป โครงการเป็นแผนหรือเค้าโครงการที่กำหนดขึ้นเพื่อเสริมการด�ำเนินงานในสภาพปกติให้เกิด � ประสิทธิภาพ ซึ่งผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นให้ครอบคลุม สอดคล้องกับ นโยบายของหน่วยงานต้นสังกัดและเป้าหมายของโรงเรียน เพื่อการด�ำเนินโครงการจะมีประสิทธิภาพ สามารถแก้ปัญหาได้จริง การเขียนโครงการที่สมบูรณ์ สามารถสื่อสารให้ผู้อนุมัติหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง เข้าใจและรับรู้ได้ตรงกัน ต้องมีรายละเอียดของโครงการครบถ้วน ชัดเจน ได้แก่ ชื่อโครงการ ผู้รับ ผิดชอบโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีด�ำเนินการ ระยะเวลาด�ำเนินการ งบประมาณ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ระดับความส�ำเร็จ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 7