SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 3
วิธีดำเนินกำรวิจัย
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย
ตามแนวทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา
สาหรับนิสิตระดับอุดมศึกษา ซึ่งเป็นการศึกษาการคิดวิเคราะห์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ
คิดเห็นของนิสิตเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ออกแบบตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ซึ่งมีรายละเอียด
ในการดาเนินการวิจัยดังนี้
1. กลุ่มเป้าหมาย
2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย
3. รูปแบบการวิจัย
4. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การสร้างและการประเมินคุณภาพเครื่องมือ
5. วิธีการดาเนินการทดลองและการเก็บรวบรวมข้อมูล
6. การวิเคราะห์ข้อมูล
1. กลุ่มเป้ ำหมำย
นิสิตที่ลงทะเบียนเรียนวิชา 01387103 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา จานวน 50
คน ที่กาลังศึกษาในภาคต้น ปี การศึกษา 2558 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิม
พระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
2. ตัวแปรที่ใช้ในกำรวิจัย
2.1 ตัวแปรต้น (Independent Variable) ได้แก่
วิธีการจัดการเรียนรู้ในที่นี้หมายถึงการจัดการเรียนรู้ด้วยสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บน
เครือข่ายตามแนวทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับ
พุทธศาสนา
2.2 ตัวแปรตามได้แก่ (Dependent Variable) ได้แก่
1) การคิดวิเคราะห์ของนิสิตหลังเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ
2) ความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ
3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตหลังเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ
38
3. รูปแบบกำรวิจัย
รูปแบบการวิจัยที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยก่อนทดลอง (Pre-Experimental Design)
แบบกลุ่มเดียวที่มีการทดสอบหลังเรียน (The One-shot Case Study) รูปแบบการวิจัยนี้สามารถเขียน
เป็นแผนภูมิได้ดังนี้
เมื่อ X แทนการเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายที่ออกแบบตามแนว
คอนสตรัคติวิสต์
O แทนการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียน
แทนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน
แทนความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายฯ
4. เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย กำรสร้ำงและกำรประเมินคุณภำพเครื่องมือ
เครื่องมือที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นประกอบไปเครื่องมือที่ใช้การทดลอง ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับ
พุทธศาสนา และเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินประสิทธิภาพสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้ฯ แบบวัดการคิดวิเคราะห์ แบบสัมภาษณ์การคิดวิเคราะห์ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน และแบบสารวจความคิดเห็นของผู้เรียน ซึ่งมีรายละเอียดในการสร้างและหาประสิทธิภาพดังนี้
4.1 เครื่องมือที่ใช้ในกำรทดลอง
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ เรื่อง ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยอาศัยหลักการสาคัญของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
เป็นพื้นฐานในการออกแบบ ร่วมกับการพิจารณาถึงคุณลักษณะของสื่อ (Media Attribution) ระบบ
สัญลักษณ์ของสื่อ (Media Symbol System) ซึ่งมีกระบวนการในการออกแบบและพัฒนาดังต่อไปนี้
1. ศึกษาหลักการ ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิ
ปัญญานิยม (Cognitivism) ที่ให้ความสนใจศึกษาในกระบวนการรู้คิดของมนุษย์ (Cognitive Process)
ทฤษฏีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) ที่มีความเชื่อว่าความรู้เกิดขึ้นได้จากการสร้าง
หลักการคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) ในที่นี้ได้ศึกษาหลักการคิดวิเคราะห์ตามกรอบแนวคิด
ของ Bloom (1956) คุณลักษณะของสื่อ (Media Attribution) และระบบสัญญลักษณ์ (Media Symbol
System) ตลอดจนงานวิจัยทั้งในและต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ งานวิจัยที่
X O
39
เกี่ยวข้องกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการคิดวิเคราะห์ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องการ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น
2. ศึกษาบริษทการเรียนการสอน ในที่นี้ผู้วิจัยได้ศึกษาเนื้อหาวิชา 01387103
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา และศึกษาประสบการณ์ของผู้เรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้แบบ
คอนสตรัคติวิสต์ ศึกษาการคิดวิเคราะห์เดิมที่ผู้เรียนมี และศึกษาประสบการณ์ของผู้เรียนในการเรียน
ผ่านระบบเครือข่าย ซึ่งศึกษาได้จากการสัมภาษณ์ผู้เรียน
3. สังเคราะห์กรอบแนวคิด โดยอาศัยพื้นฐานจากการหลักการทฤษฏีที่เกี่ยวข้องร่วมกับ
บริบทการเรียนการสอนที่ได้ศึกษามาใน ข้อ 1 และข้อ 2
4. ออกแบบและพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ ในแต่ละองค์ประกอบได้แก่
1) สถานการณ์ปัญหา (Problem Base) เป็นองค์ประกอบที่ช่วยกระตุ้นให้
ผู้เรียนเสียสมดุลทางปัญญาโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อให้ผู้เรียนต้องการที่จะค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อนามา
แก้ปัญหา ประกอบกับมีภารกิจที่ส่งเสริมประสบการณ์ให้เกิดการคิดวิเคราะห์
2) แหล่งการเรียนรู้ (Resource) เป็นองค์ประกอบที่เป็นแหล่งข้อมูลที่ถูกจัดไว้
ให้ผู้เรียนเข้ามาค้นคว้า เพื่อนาข้อมูลไปใช้ในการแก้ไขปัญหา โดยมีการจัดเนื้อหาไว้เป็นหมวดหมู่ ง่ายต่อ
การนาข้อมูลไปใช้
3) ฐานความช่วยเหลือ (Scaffolding) เป็นองค์ประกอบที่จัดไว้สาหรับ
ช่วยเหลือ ชี้แนะแนวทางแก้ปัญหาให้แก่ผู้เรียนที่อยู่ต่ากว่า Zone of Proximal Development หรือ
ผู้เรียนที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองได้
4) การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaboration) เป็นองค์ประกอบที่จัดไว้สาหรับให้
ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนด้วยกันเองเพื่อช่วยกันแก้ปัญหาหรือปฏิสัมพันธ์กับผู้เชี่ยวชาญ ตลอดจน
ผู้สอนเพื่อขอคาชี้แนะในการแก้ปัญหาตามภารกิจที่ผู้เรียนได้รับ เป็นการขยายความคิดให้แก่ผู้เรียนได้มี
ประสบการณ์ที่แตกต่างจากความคิดของตนเอง เป็นการปรับมโนมติที่คลาดเคลื่อนขณะที่เรียนรู้
5) ศูนย์ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking Center) เป็น
องค์ประกอบที่จัดไว้สาหรับช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการคิดวิเคราะห์โดยใช้เครื่องมือ หรือเทคนิคต่าง ๆ
เข้ามาประกอบไว้ภายในศูนย์
5. นาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ฯ เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา
เพื่อตรวจสอบด้านเนื้อหา ด้านสื่อ ด้านการออกแบบตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิด
วิเคราะห์ และนามาปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ
6. นาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ฯ ที่แก้ไขตาม
คาแนะนาของที่ปรึกษามาให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบประสิทธิภาพทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านเนื้อหา จานวน 1
ท่าน ด้านสื่อ จานวน 2 ท่าน ด้านการออกแบบ จานวน 2 คน และนาข้อเสนอแนะมาปรับปรุง
แก้ไขอีกครั้ง
40
7. นาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายฯ ที่ได้จากข้อ 6 ไปศึกษาบริบทการใช้
กับกลุ่มผู้เรียนที่มีลักษณะคล้ายกลุ่มเป้าหมาย โดยการจัดกลุ่มผู้เรียนในแบบกลุ่มละ 2,3,4 หรือ 5 คน
คละกันไป แล้วทาการเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมบนเครือข่ายฯ ตามด้วยการสัมภาษณ์ตัวแทน เพื่อศึกษา
ความเหมาะสมของขนาดกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งให้ทาแบบสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมฯ เพื่อ
นามาปรับปรุงอีกครั้ง ก่อนนาไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายจริง
4.2 เครื่องมือในกำรเก็บรวบรวมข้อมูลและประเมินคุณภำพ
การเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เรียนเพื่อนามาใช้ในการวิเคราะห์ทั้งในเชิงปริมาณและเชิง
คุณภาพ ตลอดจนการหาประสิทธิภาพของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายฯ จะประกอบไปด้วย
เครื่องมือประเภทต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
4.2.1 แบบประเมินประสิทธิภาพของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้สาหรับและอาจารย์ที่
ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ ในด้านของเนื้อหา ด้านสื่อ และด้านการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บน
เครือข่ายฯ
4.2.2 แบบสัมภาษณ์บริบทในสภาพจริง เป็นเครื่องมือที่ใช้ศึกษาบริบทที่เหมาะสมใน
การใช้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย ให้มีประสิทธิภาพจริง เช่น จานวนสมาชิกในกลุ่มที่เรียน
แบบร่วมมือที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
4.2.3 แบบวัดการคิดวิเคราะห์
แบบวัดการคิดวิเคราะห์ในที่นี้คือแบบวัดการคิดวิเคราะห์แบบอัตนัยใช้วัดการ
คิดวิเคราะห์ในเรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา โดยใช้ทดสอบผู้เรียนหลังจากกิจกรรมการ
เรียนสิ้นสุดลงโดยมีขั้นตอนการสร้างดังนี้
1) ศึกษาเนื้อหารายวิชา 01387103 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธ
ศาสนา ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการคิดวิเคราะห์ เพื่อนามาเป็นกรอบแนวคิดในการสร้างแบบวัดฯ
ซึ่งในที่นี้ผู้วิจัยได้ใช้กรอบแนวคิดวิเคราะห์ของ Bloom (1956) มาเป็นกรอบในการออกแบบประเด็น
คาถาม
2) สร้างแบบวัดฯ ที่สอดคล้องกับเนื้อหารายวิชาฯ และกรอบแนวคิดวิเคราะห์
ของ Bloom (1956) อันประกอบด้วย การวิเคราะห์ความสาคัญ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ การ
วิเคราะห์หลักการ พร้อมกาหนดแนวทางการให้คะแนนโดยการประยุกต์ใช้แนวทางการให้คะแนนแบบ
รูบริค (Scoring Rubrics) (สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์, 2544)
3) นาเสนอแบบวัดฯ ต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของ
คาถามกับเนื้อหาและกรอบแนวคิดวิเคราะห์ของ Bloom (1956) ตลอดจนการใช้ภาษาที่ควรมีความ
กระชับ ชัดเจน อ่านเข้าใจง่าย แล้วทาการแก้ไขจากข้อเสนอแนะของอาจารย์ที่ปรึกษา
4) นาเสนอแบบวัดฯ ต่อผู้เชี่ยวชาญด้านการคิดวิเคราะห์ เพื่อตรวจสอบความ
41
สอดคล้องของคาถามกับเนื้อหาและกรอบแนวคิดวิเคราะห์ ตลอดจนการใช้ภาษาที่ควรมีความกระชับ
ชัดเจน อ่านเข้าใจง่าย ทาการแก้ไขจากข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวขาญ แล้วนาไปใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
กับกลุ่มเป้าหมายต่อไป
4.2.4 แบบสัมภาษณ์การคิดวิเคราะห์
แบบสัมภาษณ์การคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนเรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับ
พุทธศาสนา เป็นแบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้นเพื่อศึกษาการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนที่เรียนด้วยสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ ซึ่งเป็นแบบสัมภาษณ์
ประเภทไม่มีโครงสร้างที่นาไปใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึก อันมีขั้นตอนในการสร้างแบบสัมภาษณ์มีดังนี้
1) ศึกษาหลักการตามกรอบแนวคิดทฤษฏีการคิดวิเคราะห์ ในที่นี้ผู้วิจัยได้ศึกษา
กรอบแนวคิดวิเคราะห์ของ Bloom (1956)
2) สร้างแบบสัมภาษณ์ฯ โดยการตั้งประเด็นคาถามในการสัมภาษณ์ ให้
สอดคล้องกับกรอบแนวคิดวิเคราะห์ของ Bloom (1956)
3) นาแบบสัมภาษณ์ฯ เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญด้านการคิด
วิเคราะห์เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างประเด็นคาถามกับกรอบแนวคิดวิเคราะห์ ตลอดจน
ความถูกต้องเหมาะสมของคาถาม ความชัดเจน และเข้าใจง่าย แล้วนาข้อเสนอแนะมาปรับปรุงแก้ไข
แบบสัมภาษณ์ฯก่อนนาไปใช้ในการเก็บข้อมูลกับกลุ่มเป้าหมายหลังจากเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้บนเครือข่ายฯ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว
4.2.5 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผมสัมฤทธิ์ทางการเรียนนี้ใช้วัดผลในรายวิชา 01387103
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา สาขาวิชา มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และ
วิทยาการจัดการ เป็นแบบทดสอบแบบอัตนัย ที่ประยุกต์การให้คะแนนในแบบรูบริค (Scoring Rubrics)
(สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์, 2544) โดยมีขั้นตอนการสร้างดังนี้
1) ศึกษาเนื้อหารายวิชา 01387103 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา
และวิธีการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อนามาเป็นพื้นฐานในการกาหนดกรอบ
แนวคิดในการสร้าง
2) สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่สอดคล้องกับเนื้อหาและ
จุดประสงค์ทางการเรียนรู้ของรายวิชา 01387103 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา พร้อม
แนวทางการให้คะแนนโดยอาศัยการประยุกต์ใช้หลักการให้คะแนนแบบรูบริค(Scoring Rubrics)
3) นาแบบทดสอบฯ เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบความตรงด้าน
เนื้อหาและความสอดคล้องระหว่างเนื้อหากับจุดประสงค์การเรียนรู้ตลอดจนภาษาที่ใช้ให้มีความกระชับ
ชัดเจน อ่านเข้าใจง่าย แล้วทาการแก้ไขจากคาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา
4) นาแบบทดสอบฯ เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญด้านวัดผลประเมินผลเพื่อตรวจสอบ
ความตรงด้านเนื้อหาความสอดคล้องระหว่างเนื้อหากับจุดประสงค์การเรียนรู้ การใช้ภาษาและความ
เหมาะสมของคาถาม แล้วทาการแก้ไขตามข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญ
5) นาแบบทดสอบฯ ไปทดลองใช้กับผู้เรียนที่เคยเรียนในรายวิชา 01387103
42
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา มาก่อน โดยทาการสัมภาษณ์เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับ
แบบทดสอบฯในประเด็นต่าง ๆ อาทิ ความยากง่าย ความครอบคลุมกับเนื้อหา ความชัดเจน ซึ่งผู้วิจัย
จะนาข้อมูลที่ได้รับมาปรับปรุงแก้ไขแบบทดสอบฯ ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
6) นาเสนอแบบทดสอบฯ ต่อผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินผลอีกครั้ง แล้วทา
การปรับปรุงแก้ไขแบบทดสอบให้เหมาะสมตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ แล้วจึงนาไปใช้ในการเก็บ
รวบรวมข้อมูลในลาดับต่อไป
4.2.6 แบบสารวจความคิดเห็น
แบบสารวจความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ฯ ที่มีลักษณะ
เป็นข้อคาถามที่ให้ผู้เรียนตอบคาถามเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านเนื้อหาในการ
เรียนรู้ (2) ด้านสื่อ (3) ด้านการออกแบบ พร้อมระบุเหตุผลและเขียนข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุง
ดังมีกระบวนการสร้างและรายละเอียดต่อไปนี้
1) ศึกษาเนื้อหา แนวคิด ทฤษฏีที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นพื้นฐานข้อ
คาถาม วิธีการสร้างแบบสารวจความคิดเห็นเพื่อนามาเป็นพื้นฐานในการกาหนดกรอบแนวคิดในการสร้าง
แบบสารวจ
2) สร้างกรอบแนวคิดในการสร้างแบบสารวจ ซึ่งประกอบด้วย ด้านเนื้อหา
ด้านสื่อและด้านการออกแบบสิ่งแวดล้อมฯ ที่อาศัยกรอบแนวคิดของ สุมาลี ชัยเจริญ (2557)
3) ร่างประเด็นคาถามตามกรอบแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างแบบสารวจ
ความคิดเห็นฯ ที่อาศัยตามกรอบแนวคิดในข้อ 2 ที่มีลักษณะเป็นข้อคาถามความคิดเห็นของผู้เรียน
เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมฯ ทั้ง 3 ด้าน โดยให้ผู้เรียนทาเครื่องหมายถูกในช่องว่ามีความเห็นสอดคล้องหรือไม่
สอดคล้อง รวมทั้งระบุเหตุผลและข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
4) จัดทาแบบสารวจความคิดเห็นฯ แล้วนาไปเสนอต่ออาจารย์ปรึกษาเพื่อ
ตรวจสอบความตรงทางด้านเนื้อหา ความถูกต้องและความสอดคล้องตามประเด็นกรอบแนวคิดและ
ความเหมาะสมในด้านการใช้ภาษาและการสื่อสารความหมาย เพื่อนามาปรับปรุงแก้ไข
5) นาแบบสารวจความคิดเห็นฯ ที่ปรับปรุงแก้ไขไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ
ความตรงทางด้านเนื้อหา ความถูกต้องและความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับกรอบแนวคิดฯ และ
ความเหมาะสมในการใช้ภาษาที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและการสื่อสารความหมาย เพื่อนามาปรับปรุง
แก้ไข ตามข้อเสนอแนะ
6) นาไปใช้กับกลุ่มที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายเพื่อตรวจสอบภาษา การสื่อสาร
ความเข้าใจของผู้เรียนและนามาปรับปรุง และใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลต่อไป
5. วิธีกำรดำเนินกำรทดลองและกำรเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้ดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล ณ ห้องปฏิบัติการ
คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร เพื่อศึกษาผลของ
43
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ เรื่องปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพดังต่อไปนี้
1. ข้อมูลเชิงปริมาณได้แก่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนซึ่งได้จากคะแนนการ
ทดสอบหลังเรียน ผลการวัดการคิดวิเคราะห์ซึ่งได้จากแบบวัดการคิดวิเคราะห์
2. ข้อมูลเชิงคุณภาพได้แก่การคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนที่ได้จากแบบสัมภาษณ์การคิด
วิเคราะห์ ความคิดเห็นของผู้เรียนซึ่งได้จากแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน
การเก็บรวมรวมข้อมูลมีขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลดังนี้
1) ผู้วิจัยชี้แจงและแนะนาผู้เรียนเกี่ยวกับวิธีการเรียนจากสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บน
เครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธ
ศาสนา
2) จัดแบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่มย่อย ๆ จานวน กลุ่ม กลุ่มละ คนโดยแต่ละกลุ่ม
ผู้เรียนมีผลการเรียนคละกัน
3) ให้ผู้เรียนทาการเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายฯ โดยใช้การเรียน
แบบร่วมมือกันแก้ปัญหา พร้อมกับทาการบันทึกวีดิทัศน์และรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมา
ประกอบการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยให้ผู้เรียนทาการเรียนกับสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บน
เครือข่ายฯ จานวน 2 ครั้ง ครั้งละ 3 ชั่วโมง
4) หลังจากผู้เรียนทาการเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายฯ เสร็จแล้ว
ให้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนกับผู้เรียน
5) เก็บรวบรวมข้อมูลด้านการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนด้วยแบบวัดการคิดวิเคราะห์
6) ทาการสัมภาษณ์ผู้เรียนกลุ่มละ 1 คน ด้วยแบบสัมภาษณ์การคิดวิเคราะห์
7) ทาการสารวจข้อมูลด้านความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บน
เครือข่ายฯ โดยใช้แบบสารวจความคิดเห็น
6. กำรวิเครำะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วย ข้อมูลเชิงปริมาณจากแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนและแบบวัดการคิดวิเคราะห์ ข้อมูลมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห์จาก
แบบสัมภาษณ์การคิดวิเคราะห์และแบบสารวจความคิดเห็นของผู้เรียน โดยผู้วิจัยจะได้นาเสนอข้อมูลการ
วิเคราะห์ตามตัวแปรที่ได้ศึกษาซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
6.1 การคิดวิเคราะห์ผู้เรียน
ผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณจากคะแนนที่ได้จากแบบวัดการคิดวิเคราะห์ของ
ผู้เรียนโดยใช้ค่าสถิติพื้นฐานได้แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
จากการสัมภาษณ์ผู้เรียนด้วยแบบสัมภาษณ์การคิดวิเคราะห์ โดยนาข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาทาการ
44
วิเคราะห์โปรโตคอล (Protocol Analysis) ทาการบรรยายเชิงวิเคราะห์ (Analytical Description)
อธิบายตีความ และสรุป
6.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้บนเครือข่ายฯ ที่ได้จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติ
พื้นฐานได้แก่ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าร้อยละ เที่ยบกับเกณฑ์การวัดผลไม่น้อยกว่า 60%
จากข้อกาหนดในรายวิชา
6.3 ความคิดเห็นของผู้เรียนต่อสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายฯ
ผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
บนเครือข่ายฯ โดยใช้การตีความและสรุป จากข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากจากแบบสารวจความคิดเห็นของ
ผู้เรียนที่มีต่อสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายฯ

More Related Content

What's hot

Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพChapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพRonnarit Junsiri
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
สมใจ จันสุกสี
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
Jirathorn Buenglee
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
NU
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศบทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
jutamat tawebunyasap
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft WordSupreeyar philarit
 
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
joyzazaz
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
khemmarat
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
Tanakorn Pansupa
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองNattapon
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยบทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
russana
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
Proud N. Boonrak
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
น๊อต เอกลักษณ์
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
Nat Wrkt
 

What's hot (20)

Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพChapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศบทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
 
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยบทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
 

Similar to บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)

การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
Ailada_oa
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
Aj Ob Panlop
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
Ailada_oa
 
นำเสนอความก้าวหน้า
นำเสนอความก้าวหน้านำเสนอความก้าวหน้า
นำเสนอความก้าวหน้า
Ramkhamhaeng University
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingintkorakate
 
Teahingint[1]
Teahingint[1]Teahingint[1]
Teahingint[1]numpueng
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingintprisana2
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
salinkarn sampim
 
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
บทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัยบทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัย
prachid007
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
Nattapon
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนpentanino
 

Similar to บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์) (20)

การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
นำเสนอความก้าวหน้า
นำเสนอความก้าวหน้านำเสนอความก้าวหน้า
นำเสนอความก้าวหน้า
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingint
 
Teahingint[1]
Teahingint[1]Teahingint[1]
Teahingint[1]
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingint
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
บทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัยบทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (11)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)

  • 1. บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรวิจัย การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย ตามแนวทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา สาหรับนิสิตระดับอุดมศึกษา ซึ่งเป็นการศึกษาการคิดวิเคราะห์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คิดเห็นของนิสิตเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ออกแบบตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ซึ่งมีรายละเอียด ในการดาเนินการวิจัยดังนี้ 1. กลุ่มเป้าหมาย 2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 3. รูปแบบการวิจัย 4. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การสร้างและการประเมินคุณภาพเครื่องมือ 5. วิธีการดาเนินการทดลองและการเก็บรวบรวมข้อมูล 6. การวิเคราะห์ข้อมูล 1. กลุ่มเป้ ำหมำย นิสิตที่ลงทะเบียนเรียนวิชา 01387103 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา จานวน 50 คน ที่กาลังศึกษาในภาคต้น ปี การศึกษา 2558 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิม พระเกียรติ จังหวัดสกลนคร 2. ตัวแปรที่ใช้ในกำรวิจัย 2.1 ตัวแปรต้น (Independent Variable) ได้แก่ วิธีการจัดการเรียนรู้ในที่นี้หมายถึงการจัดการเรียนรู้ด้วยสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บน เครือข่ายตามแนวทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับ พุทธศาสนา 2.2 ตัวแปรตามได้แก่ (Dependent Variable) ได้แก่ 1) การคิดวิเคราะห์ของนิสิตหลังเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ 2) ความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตหลังเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ
  • 2. 38 3. รูปแบบกำรวิจัย รูปแบบการวิจัยที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยก่อนทดลอง (Pre-Experimental Design) แบบกลุ่มเดียวที่มีการทดสอบหลังเรียน (The One-shot Case Study) รูปแบบการวิจัยนี้สามารถเขียน เป็นแผนภูมิได้ดังนี้ เมื่อ X แทนการเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายที่ออกแบบตามแนว คอนสตรัคติวิสต์ O แทนการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียน แทนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน แทนความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายฯ 4. เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย กำรสร้ำงและกำรประเมินคุณภำพเครื่องมือ เครื่องมือที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นประกอบไปเครื่องมือที่ใช้การทดลอง ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับ พุทธศาสนา และเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินประสิทธิภาพสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ฯ แบบวัดการคิดวิเคราะห์ แบบสัมภาษณ์การคิดวิเคราะห์ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน และแบบสารวจความคิดเห็นของผู้เรียน ซึ่งมีรายละเอียดในการสร้างและหาประสิทธิภาพดังนี้ 4.1 เครื่องมือที่ใช้ในกำรทดลอง สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ เรื่อง ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยอาศัยหลักการสาคัญของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เป็นพื้นฐานในการออกแบบ ร่วมกับการพิจารณาถึงคุณลักษณะของสื่อ (Media Attribution) ระบบ สัญลักษณ์ของสื่อ (Media Symbol System) ซึ่งมีกระบวนการในการออกแบบและพัฒนาดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาหลักการ ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิ ปัญญานิยม (Cognitivism) ที่ให้ความสนใจศึกษาในกระบวนการรู้คิดของมนุษย์ (Cognitive Process) ทฤษฏีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) ที่มีความเชื่อว่าความรู้เกิดขึ้นได้จากการสร้าง หลักการคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) ในที่นี้ได้ศึกษาหลักการคิดวิเคราะห์ตามกรอบแนวคิด ของ Bloom (1956) คุณลักษณะของสื่อ (Media Attribution) และระบบสัญญลักษณ์ (Media Symbol System) ตลอดจนงานวิจัยทั้งในและต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ งานวิจัยที่ X O
  • 3. 39 เกี่ยวข้องกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการคิดวิเคราะห์ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องการ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น 2. ศึกษาบริษทการเรียนการสอน ในที่นี้ผู้วิจัยได้ศึกษาเนื้อหาวิชา 01387103 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา และศึกษาประสบการณ์ของผู้เรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้แบบ คอนสตรัคติวิสต์ ศึกษาการคิดวิเคราะห์เดิมที่ผู้เรียนมี และศึกษาประสบการณ์ของผู้เรียนในการเรียน ผ่านระบบเครือข่าย ซึ่งศึกษาได้จากการสัมภาษณ์ผู้เรียน 3. สังเคราะห์กรอบแนวคิด โดยอาศัยพื้นฐานจากการหลักการทฤษฏีที่เกี่ยวข้องร่วมกับ บริบทการเรียนการสอนที่ได้ศึกษามาใน ข้อ 1 และข้อ 2 4. ออกแบบและพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ ในแต่ละองค์ประกอบได้แก่ 1) สถานการณ์ปัญหา (Problem Base) เป็นองค์ประกอบที่ช่วยกระตุ้นให้ ผู้เรียนเสียสมดุลทางปัญญาโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อให้ผู้เรียนต้องการที่จะค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อนามา แก้ปัญหา ประกอบกับมีภารกิจที่ส่งเสริมประสบการณ์ให้เกิดการคิดวิเคราะห์ 2) แหล่งการเรียนรู้ (Resource) เป็นองค์ประกอบที่เป็นแหล่งข้อมูลที่ถูกจัดไว้ ให้ผู้เรียนเข้ามาค้นคว้า เพื่อนาข้อมูลไปใช้ในการแก้ไขปัญหา โดยมีการจัดเนื้อหาไว้เป็นหมวดหมู่ ง่ายต่อ การนาข้อมูลไปใช้ 3) ฐานความช่วยเหลือ (Scaffolding) เป็นองค์ประกอบที่จัดไว้สาหรับ ช่วยเหลือ ชี้แนะแนวทางแก้ปัญหาให้แก่ผู้เรียนที่อยู่ต่ากว่า Zone of Proximal Development หรือ ผู้เรียนที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองได้ 4) การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaboration) เป็นองค์ประกอบที่จัดไว้สาหรับให้ ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนด้วยกันเองเพื่อช่วยกันแก้ปัญหาหรือปฏิสัมพันธ์กับผู้เชี่ยวชาญ ตลอดจน ผู้สอนเพื่อขอคาชี้แนะในการแก้ปัญหาตามภารกิจที่ผู้เรียนได้รับ เป็นการขยายความคิดให้แก่ผู้เรียนได้มี ประสบการณ์ที่แตกต่างจากความคิดของตนเอง เป็นการปรับมโนมติที่คลาดเคลื่อนขณะที่เรียนรู้ 5) ศูนย์ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking Center) เป็น องค์ประกอบที่จัดไว้สาหรับช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการคิดวิเคราะห์โดยใช้เครื่องมือ หรือเทคนิคต่าง ๆ เข้ามาประกอบไว้ภายในศูนย์ 5. นาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ฯ เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อตรวจสอบด้านเนื้อหา ด้านสื่อ ด้านการออกแบบตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์ และนามาปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ 6. นาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ฯ ที่แก้ไขตาม คาแนะนาของที่ปรึกษามาให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบประสิทธิภาพทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านเนื้อหา จานวน 1 ท่าน ด้านสื่อ จานวน 2 ท่าน ด้านการออกแบบ จานวน 2 คน และนาข้อเสนอแนะมาปรับปรุง แก้ไขอีกครั้ง
  • 4. 40 7. นาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายฯ ที่ได้จากข้อ 6 ไปศึกษาบริบทการใช้ กับกลุ่มผู้เรียนที่มีลักษณะคล้ายกลุ่มเป้าหมาย โดยการจัดกลุ่มผู้เรียนในแบบกลุ่มละ 2,3,4 หรือ 5 คน คละกันไป แล้วทาการเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมบนเครือข่ายฯ ตามด้วยการสัมภาษณ์ตัวแทน เพื่อศึกษา ความเหมาะสมของขนาดกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งให้ทาแบบสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมฯ เพื่อ นามาปรับปรุงอีกครั้ง ก่อนนาไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายจริง 4.2 เครื่องมือในกำรเก็บรวบรวมข้อมูลและประเมินคุณภำพ การเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เรียนเพื่อนามาใช้ในการวิเคราะห์ทั้งในเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ ตลอดจนการหาประสิทธิภาพของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายฯ จะประกอบไปด้วย เครื่องมือประเภทต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 4.2.1 แบบประเมินประสิทธิภาพของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้สาหรับและอาจารย์ที่ ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ ในด้านของเนื้อหา ด้านสื่อ และด้านการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บน เครือข่ายฯ 4.2.2 แบบสัมภาษณ์บริบทในสภาพจริง เป็นเครื่องมือที่ใช้ศึกษาบริบทที่เหมาะสมใน การใช้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย ให้มีประสิทธิภาพจริง เช่น จานวนสมาชิกในกลุ่มที่เรียน แบบร่วมมือที่มีประสิทธิภาพสูงสุด 4.2.3 แบบวัดการคิดวิเคราะห์ แบบวัดการคิดวิเคราะห์ในที่นี้คือแบบวัดการคิดวิเคราะห์แบบอัตนัยใช้วัดการ คิดวิเคราะห์ในเรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา โดยใช้ทดสอบผู้เรียนหลังจากกิจกรรมการ เรียนสิ้นสุดลงโดยมีขั้นตอนการสร้างดังนี้ 1) ศึกษาเนื้อหารายวิชา 01387103 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธ ศาสนา ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการคิดวิเคราะห์ เพื่อนามาเป็นกรอบแนวคิดในการสร้างแบบวัดฯ ซึ่งในที่นี้ผู้วิจัยได้ใช้กรอบแนวคิดวิเคราะห์ของ Bloom (1956) มาเป็นกรอบในการออกแบบประเด็น คาถาม 2) สร้างแบบวัดฯ ที่สอดคล้องกับเนื้อหารายวิชาฯ และกรอบแนวคิดวิเคราะห์ ของ Bloom (1956) อันประกอบด้วย การวิเคราะห์ความสาคัญ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ การ วิเคราะห์หลักการ พร้อมกาหนดแนวทางการให้คะแนนโดยการประยุกต์ใช้แนวทางการให้คะแนนแบบ รูบริค (Scoring Rubrics) (สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์, 2544) 3) นาเสนอแบบวัดฯ ต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของ คาถามกับเนื้อหาและกรอบแนวคิดวิเคราะห์ของ Bloom (1956) ตลอดจนการใช้ภาษาที่ควรมีความ กระชับ ชัดเจน อ่านเข้าใจง่าย แล้วทาการแก้ไขจากข้อเสนอแนะของอาจารย์ที่ปรึกษา 4) นาเสนอแบบวัดฯ ต่อผู้เชี่ยวชาญด้านการคิดวิเคราะห์ เพื่อตรวจสอบความ
  • 5. 41 สอดคล้องของคาถามกับเนื้อหาและกรอบแนวคิดวิเคราะห์ ตลอดจนการใช้ภาษาที่ควรมีความกระชับ ชัดเจน อ่านเข้าใจง่าย ทาการแก้ไขจากข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวขาญ แล้วนาไปใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล กับกลุ่มเป้าหมายต่อไป 4.2.4 แบบสัมภาษณ์การคิดวิเคราะห์ แบบสัมภาษณ์การคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนเรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับ พุทธศาสนา เป็นแบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้นเพื่อศึกษาการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนที่เรียนด้วยสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ ซึ่งเป็นแบบสัมภาษณ์ ประเภทไม่มีโครงสร้างที่นาไปใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึก อันมีขั้นตอนในการสร้างแบบสัมภาษณ์มีดังนี้ 1) ศึกษาหลักการตามกรอบแนวคิดทฤษฏีการคิดวิเคราะห์ ในที่นี้ผู้วิจัยได้ศึกษา กรอบแนวคิดวิเคราะห์ของ Bloom (1956) 2) สร้างแบบสัมภาษณ์ฯ โดยการตั้งประเด็นคาถามในการสัมภาษณ์ ให้ สอดคล้องกับกรอบแนวคิดวิเคราะห์ของ Bloom (1956) 3) นาแบบสัมภาษณ์ฯ เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญด้านการคิด วิเคราะห์เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างประเด็นคาถามกับกรอบแนวคิดวิเคราะห์ ตลอดจน ความถูกต้องเหมาะสมของคาถาม ความชัดเจน และเข้าใจง่าย แล้วนาข้อเสนอแนะมาปรับปรุงแก้ไข แบบสัมภาษณ์ฯก่อนนาไปใช้ในการเก็บข้อมูลกับกลุ่มเป้าหมายหลังจากเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้บนเครือข่ายฯ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว 4.2.5 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดผมสัมฤทธิ์ทางการเรียนนี้ใช้วัดผลในรายวิชา 01387103 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา สาขาวิชา มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และ วิทยาการจัดการ เป็นแบบทดสอบแบบอัตนัย ที่ประยุกต์การให้คะแนนในแบบรูบริค (Scoring Rubrics) (สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์, 2544) โดยมีขั้นตอนการสร้างดังนี้ 1) ศึกษาเนื้อหารายวิชา 01387103 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา และวิธีการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อนามาเป็นพื้นฐานในการกาหนดกรอบ แนวคิดในการสร้าง 2) สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่สอดคล้องกับเนื้อหาและ จุดประสงค์ทางการเรียนรู้ของรายวิชา 01387103 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา พร้อม แนวทางการให้คะแนนโดยอาศัยการประยุกต์ใช้หลักการให้คะแนนแบบรูบริค(Scoring Rubrics) 3) นาแบบทดสอบฯ เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบความตรงด้าน เนื้อหาและความสอดคล้องระหว่างเนื้อหากับจุดประสงค์การเรียนรู้ตลอดจนภาษาที่ใช้ให้มีความกระชับ ชัดเจน อ่านเข้าใจง่าย แล้วทาการแก้ไขจากคาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา 4) นาแบบทดสอบฯ เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญด้านวัดผลประเมินผลเพื่อตรวจสอบ ความตรงด้านเนื้อหาความสอดคล้องระหว่างเนื้อหากับจุดประสงค์การเรียนรู้ การใช้ภาษาและความ เหมาะสมของคาถาม แล้วทาการแก้ไขตามข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญ 5) นาแบบทดสอบฯ ไปทดลองใช้กับผู้เรียนที่เคยเรียนในรายวิชา 01387103
  • 6. 42 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา มาก่อน โดยทาการสัมภาษณ์เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับ แบบทดสอบฯในประเด็นต่าง ๆ อาทิ ความยากง่าย ความครอบคลุมกับเนื้อหา ความชัดเจน ซึ่งผู้วิจัย จะนาข้อมูลที่ได้รับมาปรับปรุงแก้ไขแบบทดสอบฯ ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 6) นาเสนอแบบทดสอบฯ ต่อผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินผลอีกครั้ง แล้วทา การปรับปรุงแก้ไขแบบทดสอบให้เหมาะสมตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ แล้วจึงนาไปใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลในลาดับต่อไป 4.2.6 แบบสารวจความคิดเห็น แบบสารวจความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ฯ ที่มีลักษณะ เป็นข้อคาถามที่ให้ผู้เรียนตอบคาถามเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านเนื้อหาในการ เรียนรู้ (2) ด้านสื่อ (3) ด้านการออกแบบ พร้อมระบุเหตุผลและเขียนข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุง ดังมีกระบวนการสร้างและรายละเอียดต่อไปนี้ 1) ศึกษาเนื้อหา แนวคิด ทฤษฏีที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นพื้นฐานข้อ คาถาม วิธีการสร้างแบบสารวจความคิดเห็นเพื่อนามาเป็นพื้นฐานในการกาหนดกรอบแนวคิดในการสร้าง แบบสารวจ 2) สร้างกรอบแนวคิดในการสร้างแบบสารวจ ซึ่งประกอบด้วย ด้านเนื้อหา ด้านสื่อและด้านการออกแบบสิ่งแวดล้อมฯ ที่อาศัยกรอบแนวคิดของ สุมาลี ชัยเจริญ (2557) 3) ร่างประเด็นคาถามตามกรอบแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างแบบสารวจ ความคิดเห็นฯ ที่อาศัยตามกรอบแนวคิดในข้อ 2 ที่มีลักษณะเป็นข้อคาถามความคิดเห็นของผู้เรียน เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมฯ ทั้ง 3 ด้าน โดยให้ผู้เรียนทาเครื่องหมายถูกในช่องว่ามีความเห็นสอดคล้องหรือไม่ สอดคล้อง รวมทั้งระบุเหตุผลและข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง 4) จัดทาแบบสารวจความคิดเห็นฯ แล้วนาไปเสนอต่ออาจารย์ปรึกษาเพื่อ ตรวจสอบความตรงทางด้านเนื้อหา ความถูกต้องและความสอดคล้องตามประเด็นกรอบแนวคิดและ ความเหมาะสมในด้านการใช้ภาษาและการสื่อสารความหมาย เพื่อนามาปรับปรุงแก้ไข 5) นาแบบสารวจความคิดเห็นฯ ที่ปรับปรุงแก้ไขไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ ความตรงทางด้านเนื้อหา ความถูกต้องและความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับกรอบแนวคิดฯ และ ความเหมาะสมในการใช้ภาษาที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและการสื่อสารความหมาย เพื่อนามาปรับปรุง แก้ไข ตามข้อเสนอแนะ 6) นาไปใช้กับกลุ่มที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายเพื่อตรวจสอบภาษา การสื่อสาร ความเข้าใจของผู้เรียนและนามาปรับปรุง และใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลต่อไป 5. วิธีกำรดำเนินกำรทดลองและกำรเก็บรวบรวมข้อมูล ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้ดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล ณ ห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร เพื่อศึกษาผลของ
  • 7. 43 สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ เรื่องปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพดังต่อไปนี้ 1. ข้อมูลเชิงปริมาณได้แก่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนซึ่งได้จากคะแนนการ ทดสอบหลังเรียน ผลการวัดการคิดวิเคราะห์ซึ่งได้จากแบบวัดการคิดวิเคราะห์ 2. ข้อมูลเชิงคุณภาพได้แก่การคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนที่ได้จากแบบสัมภาษณ์การคิด วิเคราะห์ ความคิดเห็นของผู้เรียนซึ่งได้จากแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน การเก็บรวมรวมข้อมูลมีขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลดังนี้ 1) ผู้วิจัยชี้แจงและแนะนาผู้เรียนเกี่ยวกับวิธีการเรียนจากสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บน เครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธ ศาสนา 2) จัดแบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่มย่อย ๆ จานวน กลุ่ม กลุ่มละ คนโดยแต่ละกลุ่ม ผู้เรียนมีผลการเรียนคละกัน 3) ให้ผู้เรียนทาการเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายฯ โดยใช้การเรียน แบบร่วมมือกันแก้ปัญหา พร้อมกับทาการบันทึกวีดิทัศน์และรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมา ประกอบการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยให้ผู้เรียนทาการเรียนกับสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บน เครือข่ายฯ จานวน 2 ครั้ง ครั้งละ 3 ชั่วโมง 4) หลังจากผู้เรียนทาการเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายฯ เสร็จแล้ว ให้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนกับผู้เรียน 5) เก็บรวบรวมข้อมูลด้านการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนด้วยแบบวัดการคิดวิเคราะห์ 6) ทาการสัมภาษณ์ผู้เรียนกลุ่มละ 1 คน ด้วยแบบสัมภาษณ์การคิดวิเคราะห์ 7) ทาการสารวจข้อมูลด้านความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บน เครือข่ายฯ โดยใช้แบบสารวจความคิดเห็น 6. กำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วย ข้อมูลเชิงปริมาณจากแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนและแบบวัดการคิดวิเคราะห์ ข้อมูลมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห์จาก แบบสัมภาษณ์การคิดวิเคราะห์และแบบสารวจความคิดเห็นของผู้เรียน โดยผู้วิจัยจะได้นาเสนอข้อมูลการ วิเคราะห์ตามตัวแปรที่ได้ศึกษาซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 6.1 การคิดวิเคราะห์ผู้เรียน ผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณจากคะแนนที่ได้จากแบบวัดการคิดวิเคราะห์ของ ผู้เรียนโดยใช้ค่าสถิติพื้นฐานได้แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ จากการสัมภาษณ์ผู้เรียนด้วยแบบสัมภาษณ์การคิดวิเคราะห์ โดยนาข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาทาการ
  • 8. 44 วิเคราะห์โปรโตคอล (Protocol Analysis) ทาการบรรยายเชิงวิเคราะห์ (Analytical Description) อธิบายตีความ และสรุป 6.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้บนเครือข่ายฯ ที่ได้จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติ พื้นฐานได้แก่ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าร้อยละ เที่ยบกับเกณฑ์การวัดผลไม่น้อยกว่า 60% จากข้อกาหนดในรายวิชา 6.3 ความคิดเห็นของผู้เรียนต่อสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายฯ ผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ บนเครือข่ายฯ โดยใช้การตีความและสรุป จากข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากจากแบบสารวจความคิดเห็นของ ผู้เรียนที่มีต่อสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายฯ