SlideShare a Scribd company logo
โครงงานคณิตศาสตร์
เรื่อง อาหารทรงกลมแบ่งให้เท่า
เพราะเรารู้ตรีโกณฯ
จัดทาโดย
นายธนากร พันธ์สุภา เลขที่ 3
นายศุภกรณ์ วัฒนศรี เลขที่ 7
นางสาวสิริยากร อ่อนฉวียน เลขที่ 30
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ห้อง 9
โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก
จากการสังเกตการรับประทานอาหารที่มีลักษณะ
เป็นทรงกลม เช่น เค้ก พิซซ่า เป็นต้น ของนักเรียน
โดยหลาย ๆ ครั้งที่สังเกตได้มีลักษณะที่เหมือนกัน
คือนักเรียนทุกคนได้อาหารในการแบ่งเท่า ๆ กัน ไม่
ใครได้มากหรือน้อยกว่าใครแต่ในลักษณะส่วนใหญ่
ใช้การคาดคะเนในการแบ่งเอาจึงทาให้ในบางครั้งได้
หาในปริมาณที่ต่างกัน ซึ่งเกิดจากการคาดคะเนที่
ผิดพลาดจึงทาให้ผู้ศึกษาคิดหาวิธีการในการคานวณ
การแบ่งอาหารที่มีลักษณะเป็นทรงกลม
เนื่องจากในชีวิตประจาวันของผู้ศึกษาเองได้นาอาหาร
ที่มีลักษณะเป็นทรงกลม เช่น ส้ม,แตงโม,ส้มโอ,เค้ก,พิซ
ซ่า,โดนัส เป็นต้น มาโรงเรียนเพื่อที่จะแบ่งให้เพื่อนๆ ให้
ได้คนละเท่าๆ กัน โดยไม่ให้ใครมากหรือน้อยโดยการใช้
มีดผ่าซึ่งเป็นการคาดปริมาณเองแล้วในในบางครั้งปริมาณ
ของแต่ละบุคคลที่แบ่งก็ไม่เท่ากัน เราจึงคิดที่จะนาความรู้
เรื่องมุมในตรีโกณมิติมาประยุกต์ใช้ในการแบ่งอาหารที่มี
ลักษณะเป็นทรงกลมให้ได้ปริมาณอาหารที่เท่าๆ กัน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อหาวิธีการในการแบ่ง
อาหารที่มีลักษณะเป็นทรงกลมให
ได้ในปริมาณที่เท่าๆ กัน กับ
จานวนคน
2. เพื่อนาวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง
ตรีโกณมิติในระดับชั้น ม. 5 มา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
3. เพื่อสร้างแนวคิดในการ
พัฒนาสิ่งประดิษฐ์ทางด้าน
คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ต่อไ
1. จัดทาโครงงานระห่างวันที่
2. เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับวิชาคณิตศาสตร์
2.1 เรื่องวงกลม ม.3
2.2 เรื่องตรีโกณมิติในระดับชั้น ม.5
1. ได้รู้ถึงสิ่งในการแบ่งของที่มีลักษณะ
เป็นทรงกลมให้ได้ในปริมาณที่เท่าๆ กัน
กับจานวนคน
2. ได้นาความรู้ทางด้านวิชาคณิตศาสตร์
เรื่องตรีโกณมิติมาประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน
3. ได้รู้ถึงแนวคิดในการสร้าง
สิ่งประดิษฐ์ทางด้านวิทยาศาสตร์ต่อไป
นิยามศัพท์
เฉพาะ
1. อาหาร
รูปทรงกลม
2.ฟังก์ชัน
ตรีโกณมิติ
3.เส้นสัมผัส
วงกลม
4.
เส้นผ่าศูนย์กลา
งวงกลม
ขั้นการดาเนินงาน
1. ค้นคว้า ศึกษาข้อมูล หลักการ เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ บทนิยามและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
กับมุมทางตรีโกณมิติ และเส้นสัมผัสวงกลมกับเส้นผ่านศูนย์กลาง
2. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการพิสูจน์และการให้เหตุผล
3. วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหารูปแบบการคานวณในการแบ่งอาหารที่มีลักษณะเป็นทรง
กลมให้ได้ในจานวนที่เท่ากัน
4. นาเสนอข้อมูลในรูปแบบของตาราง การหาวิธีการคานวณในการแบ่งอาหารที่มีลักษณะ
เป็นทรงกลมให้ได้ในปริมาณที่เท่ากัน
5. จัดทารายงานรูปเล่มโครงงานคณิตศาสตร์ และแผงสาหรับแสดงโครงงานคณิตศาสตร์
โดยกาหนดให้แผงสาหรับแสดงโครงงานคณิตศาสตร์ตามขนาดมาตรฐาน
6. นาเสนอการจัดทาโครงงาน คณิตศาสตร์ ให้กับผู้ที่สนใจ
วันที่/เดือน/ปี การดาเนินงาน ผู้รับผิดชอบ
26 ธันวาคม 2558 รวบรวมสมาชิกที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน เพื่อ
เข้ากลุ่มทาโครงงานคณิตศาสตร์
สมาชิกทุกคน
9-10 มกราคม 2559 ตั้งชื่อเรื่องโครงงานคณิตศาสตร์ สมาชิกทุกคน
12-13 มกราคม
2559
เขียนเค้าโครงโครงงานคณิตศาสตร์ สมาชิกทุกคน
16 มกราคม 2559 กาหนดแผนปฏิบัติงานโครงงานคณิตศาสตร์ สมาชิกทุกคน
18-24 มกราคม
2559
แบ่งหน้าที่ให้ทุกคนไปศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ
โครงงานคณิตศาสตร์
สมาชิกทุกคน
25-30 มกราคม
2559
รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการทาโครงงาน
คณิตศาสตร์ ได้แก่ มุมทางตรีโกณมิติ และเส้น
สัมผัสวงกลมกับเส้นผ่านศูนย์กลาง
สมาชิกทุกคน
2-8 กุมภาพันธ์ 2559 การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการหารูปแบบการคานวณ
ในการแบ่งอาหารที่มีลักษณะเป็นทรงกลม
สมาชิกทุกคน
วันที่/เดือน/ปี การดาเนินงาน ผู้รับผิดชอบ
26 ธันวาคม 2558 รวบรวมสมาชิกที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน เพื่อเข้ากลุ่มทาโครงงาน
คณิตศาสตร์
สมาชิกทุกคน
9-10 มกราคม 2559 ตั้งชื่อเรื่องโครงงานคณิตศาสตร์ สมาชิกทุกคน
12-13 มกราคม 2559 เขียนเค้าโครงโครงงานคณิตศาสตร์ สมาชิกทุกคน
16 มกราคม 2559 กาหนดแผนปฏิบัติงานโครงงานคณิตศาสตร์ สมาชิกทุกคน
18-24 มกราคม 2559 แบ่งหน้าที่ให้ทุกคนไปศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานคณิตศาสตร์ สมาชิกทุกคน
25-30 มกราคม 2559 รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการทาโครงงานคณิตศาสตร์ ได้แก่ มุมทาง
ตรีโกณมิติ และเส้นสัมผัสวงกลมกับเส้นผ่านศูนย์กลาง
สมาชิกทุกคน
2-8 กุมภาพันธ์ 2559 การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการหารูปแบบการคานวณในการแบ่งอาหารที่มี
ลักษณะเป็นทรงกลม
สมาชิกทุกคน
8-10 กุมภาพันธ์ 2559 สรุปการดาเนินงาน สมาชิกทุกคน
10-15 กุมภาพันธ์ 2559 จัดทารูปเล่มโครงงาน สมาชิกทุกคน
15-16 กุมภาพันธ์ 2559 ตรวจสอบความถูกต้องของโครงงาน สมาชิกทุกคน
20 กุมภาพันธ์ 2559 นาเสนอโครงงาน สมาชิกทุกคน
1. หาเส้นผ่านศูนย์กลาง โดยการทาบไม้บรรทัดสัมผัสกับขอบของอาหาร แล้วลากจาก
จุดสัมผัสให้ตั้งฉากกับอาหารที่เราจะใช้แบ่ง จากนั้นให้ AB แทนเส้นผ่านศูนย์กลาง
A A
รูปภาพแสดงเส้นสัมผัสไปตั้งฉาก
2. แบ่งเส้นผ่านศูนย์กลาง โดยหา รัศมี ( r ) จาก r =
𝐴𝐵
2
โดย
ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลาง
2
รูปภาพแสดงจุดกึ่งกลาง
3.
360
𝑛
= 𝑚
คนที่ 1 ได้ 1× 𝑚 = ครั้งที่ 1
คนที่ 2 ได้ 2× 𝑚 = ครั้งที่ 2
คนที่ 3 ได้ 3× 𝑚 = ครั้งที่ 3 เมื่อ 𝑛 คือ จานวนคน
⋮ 𝑚 คือ มุม
คนที่ 𝑛 ได้ 𝑛 × 𝑚 = ครั้งที่ 𝑛
สรุปผล
จากการดาเนินการหารูปแบบความสัมพันธ์การแบ่งอาหารทรงกลมด้วย
ตรีโกณมิติ นาเสนอรูปแบบความสัมพันธ์ได้ดังนี้
1. หาเส้นผ่านศูนย์กลาง โดยการทาบไม้บรรทัดสัมผัสกับขอบของอาหาร แล้ว
ลากจากจุดสัมผัสให้ตั้งฉากกับอาหารที่เราจะใช้แบ่งจากนั้นให้ 𝐴𝐵 แทนเส้น
ผ่านศูนย์กลาง
2. แบ่งเส้นผ่านศูนย์กลาง โดยหา รัศมี ( r ) จาก r =
𝐴𝐵
2
โดย
ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลาง
2
3.
360
𝑛
= 𝑚
คนที่ 1 ได้ 1× 𝑚 = ครั้งที่ 1
คนที่ 2 ได้ 2× 𝑚 = ครั้งที่ 2
คนที่ 3 ได้ 3× 𝑚 = ครั้งที่ 3
⋮
คนที่ 𝑛 ได้ 𝑛 × 𝑚 = ครั้งที่ 𝑛
เมื่อ 𝑛 คือ จานวนคน
𝑚 คือ มุม
อภิปรายผล
จากการแบ่งอาหารที่มีลักษณะเป็นทรงกลม สามารถหาได้โดยการทราบเส้นผ่านศูนย์กลางของอาหาร
นั้น ๆ โดยการทาบไม้บรรทัดสัมผัสกับขอบของอาหาร แล้วลากจากจุดสัมผัสให้ตั้งฉากกับอาหารที่เรา
จะใช้แบ่ง จากนั้นให้ 𝐴𝐵 แทนเส้นผ่านศูนย์กลาง แล้วหารัศมี ( r ) จาก r =
𝐴𝐵
2
ต่อจากนั้นจะ
เป็นการหมุน หมุนโดยการหาจาก
360
𝑛
เมื่อ n คือ จานวนคน จะได้คนละ
360
𝑛
= m มื่อ m คือ
มุม หมุนไปเลื่อย ๆ จนครบจานวนคน ( n ) คือ ครบ 360 องศา โคยตัดทีละ 1 × 𝑚 , 2 ×
𝑚 , 3 × 𝑚 , … , 𝑛 × 𝑚 โดยต้องเริ่มจากจุดสัมผัสกับไม้บรรทัดเสมอ
สามารถสร้างความสัมพันธ์ในการแบ่งอาหารให้ได้ในปริมาณที่เท่ากัน เพื่อช่วยในการคานวณ
ในการแบ่งอาหาร สร้างความเข้าใจในการสรุปความเข้าใจทางคณิตศาสตร์อย่างเป็นรูปธรรม
ข้อเสนอแนะ
1. ควรที่จะมีการจัดแบ่งอาหารในลักษะรูปทรงเรขาคณิตแบบอื่น ๆ
2. ควรที่จะมีการวัดปริมาตรอาหารที่แบ่งให้ได้ในปริมาตรที่เท่ากันด้วย
3. ควรที่จะมีการแบ่งในรูปแบบอื่น ๆ ที่ไม่ให้เท่ากัน แล้วแต่ความต้องการ
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์

More Related Content

What's hot

ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูล
peesartwit
 
โครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำ
โครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำโครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำ
โครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำ
Apinan Isarankura Na Ayuthaya
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
sarawut saoklieo
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
sawed kodnara
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ศุภกรณ์ วัฒนศรี
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการaispretty
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
สุภาพร สิทธิการ
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
ทับทิม เจริญตา
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
Khemjira_P
 

What's hot (20)

ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูล
 
โครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำ
โครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำโครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำ
โครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำ
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 

Viewers also liked

โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
Nomjeab Nook
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)Nomjeab Nook
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานJipss JJ
 
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำสำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำPattanachai Jai
 
โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออมzeenwine
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กับโครงงานจิตอาสา พาสะอาด
ชั้นประถมศึกษาปีที่  6  กับโครงงานจิตอาสา   พาสะอาดชั้นประถมศึกษาปีที่  6  กับโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กับโครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขโครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
N'Pop Intrara
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
Suricha Phichan
 

Viewers also liked (9)

โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำสำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
 
โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออม
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กับโครงงานจิตอาสา พาสะอาด
ชั้นประถมศึกษาปีที่  6  กับโครงงานจิตอาสา   พาสะอาดชั้นประถมศึกษาปีที่  6  กับโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กับโครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขโครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 

Similar to โครงงานคณิตศาสตร์

บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
Tanakorn Pansupa
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Tanakorn Pansupa
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
Tanakorn Pansupa
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2krurain
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2krurain
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Tanakorn Pansupa
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอนLampang Rajabhat University
 
การแก้ปัญหาการแทนค่าตัวแปรม.3
การแก้ปัญหาการแทนค่าตัวแปรม.3การแก้ปัญหาการแทนค่าตัวแปรม.3
การแก้ปัญหาการแทนค่าตัวแปรม.3aapiaa
 
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติรูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
Suparat Boonkum
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
อนุชิต ไชยชมพู
 

Similar to โครงงานคณิตศาสตร์ (20)

บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
 
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 
ทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีทฤษฎีสี
ทฤษฎีสี
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
 
Basic m2-1-chapter3
Basic m2-1-chapter3Basic m2-1-chapter3
Basic m2-1-chapter3
 
การแก้ปัญหาการแทนค่าตัวแปรม.3
การแก้ปัญหาการแทนค่าตัวแปรม.3การแก้ปัญหาการแทนค่าตัวแปรม.3
การแก้ปัญหาการแทนค่าตัวแปรม.3
 
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
 
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติรูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
 
Stat11
Stat11Stat11
Stat11
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
 

More from Tanakorn Pansupa

การเครื่อนที่แนวดิ่ง
การเครื่อนที่แนวดิ่ง การเครื่อนที่แนวดิ่ง
การเครื่อนที่แนวดิ่ง
Tanakorn Pansupa
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
Tanakorn Pansupa
 
ภาคผนวก
ภาคผนวก ภาคผนวก
ภาคผนวก
Tanakorn Pansupa
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
Tanakorn Pansupa
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
Tanakorn Pansupa
 
กิตติกรรมประกาศถ่าย
กิตติกรรมประกาศถ่ายกิตติกรรมประกาศถ่าย
กิตติกรรมประกาศถ่าย
Tanakorn Pansupa
 

More from Tanakorn Pansupa (6)

การเครื่อนที่แนวดิ่ง
การเครื่อนที่แนวดิ่ง การเครื่อนที่แนวดิ่ง
การเครื่อนที่แนวดิ่ง
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ภาคผนวก
ภาคผนวก ภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
กิตติกรรมประกาศถ่าย
กิตติกรรมประกาศถ่ายกิตติกรรมประกาศถ่าย
กิตติกรรมประกาศถ่าย
 

โครงงานคณิตศาสตร์

  • 1. โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง อาหารทรงกลมแบ่งให้เท่า เพราะเรารู้ตรีโกณฯ จัดทาโดย นายธนากร พันธ์สุภา เลขที่ 3 นายศุภกรณ์ วัฒนศรี เลขที่ 7 นางสาวสิริยากร อ่อนฉวียน เลขที่ 30 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 9 โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก
  • 2. จากการสังเกตการรับประทานอาหารที่มีลักษณะ เป็นทรงกลม เช่น เค้ก พิซซ่า เป็นต้น ของนักเรียน โดยหลาย ๆ ครั้งที่สังเกตได้มีลักษณะที่เหมือนกัน คือนักเรียนทุกคนได้อาหารในการแบ่งเท่า ๆ กัน ไม่ ใครได้มากหรือน้อยกว่าใครแต่ในลักษณะส่วนใหญ่ ใช้การคาดคะเนในการแบ่งเอาจึงทาให้ในบางครั้งได้ หาในปริมาณที่ต่างกัน ซึ่งเกิดจากการคาดคะเนที่ ผิดพลาดจึงทาให้ผู้ศึกษาคิดหาวิธีการในการคานวณ การแบ่งอาหารที่มีลักษณะเป็นทรงกลม
  • 3. เนื่องจากในชีวิตประจาวันของผู้ศึกษาเองได้นาอาหาร ที่มีลักษณะเป็นทรงกลม เช่น ส้ม,แตงโม,ส้มโอ,เค้ก,พิซ ซ่า,โดนัส เป็นต้น มาโรงเรียนเพื่อที่จะแบ่งให้เพื่อนๆ ให้ ได้คนละเท่าๆ กัน โดยไม่ให้ใครมากหรือน้อยโดยการใช้ มีดผ่าซึ่งเป็นการคาดปริมาณเองแล้วในในบางครั้งปริมาณ ของแต่ละบุคคลที่แบ่งก็ไม่เท่ากัน เราจึงคิดที่จะนาความรู้ เรื่องมุมในตรีโกณมิติมาประยุกต์ใช้ในการแบ่งอาหารที่มี ลักษณะเป็นทรงกลมให้ได้ปริมาณอาหารที่เท่าๆ กัน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อหาวิธีการในการแบ่ง อาหารที่มีลักษณะเป็นทรงกลมให ได้ในปริมาณที่เท่าๆ กัน กับ จานวนคน 2. เพื่อนาวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง ตรีโกณมิติในระดับชั้น ม. 5 มา ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 3. เพื่อสร้างแนวคิดในการ พัฒนาสิ่งประดิษฐ์ทางด้าน คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ต่อไ
  • 4. 1. จัดทาโครงงานระห่างวันที่ 2. เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับวิชาคณิตศาสตร์ 2.1 เรื่องวงกลม ม.3 2.2 เรื่องตรีโกณมิติในระดับชั้น ม.5 1. ได้รู้ถึงสิ่งในการแบ่งของที่มีลักษณะ เป็นทรงกลมให้ได้ในปริมาณที่เท่าๆ กัน กับจานวนคน 2. ได้นาความรู้ทางด้านวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องตรีโกณมิติมาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน 3. ได้รู้ถึงแนวคิดในการสร้าง สิ่งประดิษฐ์ทางด้านวิทยาศาสตร์ต่อไป นิยามศัพท์ เฉพาะ 1. อาหาร รูปทรงกลม 2.ฟังก์ชัน ตรีโกณมิติ 3.เส้นสัมผัส วงกลม 4. เส้นผ่าศูนย์กลา งวงกลม
  • 5. ขั้นการดาเนินงาน 1. ค้นคว้า ศึกษาข้อมูล หลักการ เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ บทนิยามและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง กับมุมทางตรีโกณมิติ และเส้นสัมผัสวงกลมกับเส้นผ่านศูนย์กลาง 2. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการพิสูจน์และการให้เหตุผล 3. วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหารูปแบบการคานวณในการแบ่งอาหารที่มีลักษณะเป็นทรง กลมให้ได้ในจานวนที่เท่ากัน 4. นาเสนอข้อมูลในรูปแบบของตาราง การหาวิธีการคานวณในการแบ่งอาหารที่มีลักษณะ เป็นทรงกลมให้ได้ในปริมาณที่เท่ากัน 5. จัดทารายงานรูปเล่มโครงงานคณิตศาสตร์ และแผงสาหรับแสดงโครงงานคณิตศาสตร์ โดยกาหนดให้แผงสาหรับแสดงโครงงานคณิตศาสตร์ตามขนาดมาตรฐาน 6. นาเสนอการจัดทาโครงงาน คณิตศาสตร์ ให้กับผู้ที่สนใจ
  • 6. วันที่/เดือน/ปี การดาเนินงาน ผู้รับผิดชอบ 26 ธันวาคม 2558 รวบรวมสมาชิกที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน เพื่อ เข้ากลุ่มทาโครงงานคณิตศาสตร์ สมาชิกทุกคน 9-10 มกราคม 2559 ตั้งชื่อเรื่องโครงงานคณิตศาสตร์ สมาชิกทุกคน 12-13 มกราคม 2559 เขียนเค้าโครงโครงงานคณิตศาสตร์ สมาชิกทุกคน 16 มกราคม 2559 กาหนดแผนปฏิบัติงานโครงงานคณิตศาสตร์ สมาชิกทุกคน 18-24 มกราคม 2559 แบ่งหน้าที่ให้ทุกคนไปศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ โครงงานคณิตศาสตร์ สมาชิกทุกคน 25-30 มกราคม 2559 รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการทาโครงงาน คณิตศาสตร์ ได้แก่ มุมทางตรีโกณมิติ และเส้น สัมผัสวงกลมกับเส้นผ่านศูนย์กลาง สมาชิกทุกคน 2-8 กุมภาพันธ์ 2559 การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการหารูปแบบการคานวณ ในการแบ่งอาหารที่มีลักษณะเป็นทรงกลม สมาชิกทุกคน วันที่/เดือน/ปี การดาเนินงาน ผู้รับผิดชอบ 26 ธันวาคม 2558 รวบรวมสมาชิกที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน เพื่อเข้ากลุ่มทาโครงงาน คณิตศาสตร์ สมาชิกทุกคน 9-10 มกราคม 2559 ตั้งชื่อเรื่องโครงงานคณิตศาสตร์ สมาชิกทุกคน 12-13 มกราคม 2559 เขียนเค้าโครงโครงงานคณิตศาสตร์ สมาชิกทุกคน 16 มกราคม 2559 กาหนดแผนปฏิบัติงานโครงงานคณิตศาสตร์ สมาชิกทุกคน 18-24 มกราคม 2559 แบ่งหน้าที่ให้ทุกคนไปศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานคณิตศาสตร์ สมาชิกทุกคน 25-30 มกราคม 2559 รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการทาโครงงานคณิตศาสตร์ ได้แก่ มุมทาง ตรีโกณมิติ และเส้นสัมผัสวงกลมกับเส้นผ่านศูนย์กลาง สมาชิกทุกคน 2-8 กุมภาพันธ์ 2559 การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการหารูปแบบการคานวณในการแบ่งอาหารที่มี ลักษณะเป็นทรงกลม สมาชิกทุกคน 8-10 กุมภาพันธ์ 2559 สรุปการดาเนินงาน สมาชิกทุกคน 10-15 กุมภาพันธ์ 2559 จัดทารูปเล่มโครงงาน สมาชิกทุกคน 15-16 กุมภาพันธ์ 2559 ตรวจสอบความถูกต้องของโครงงาน สมาชิกทุกคน 20 กุมภาพันธ์ 2559 นาเสนอโครงงาน สมาชิกทุกคน
  • 7. 1. หาเส้นผ่านศูนย์กลาง โดยการทาบไม้บรรทัดสัมผัสกับขอบของอาหาร แล้วลากจาก จุดสัมผัสให้ตั้งฉากกับอาหารที่เราจะใช้แบ่ง จากนั้นให้ AB แทนเส้นผ่านศูนย์กลาง A A รูปภาพแสดงเส้นสัมผัสไปตั้งฉาก
  • 8. 2. แบ่งเส้นผ่านศูนย์กลาง โดยหา รัศมี ( r ) จาก r = 𝐴𝐵 2 โดย ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 รูปภาพแสดงจุดกึ่งกลาง 3. 360 𝑛 = 𝑚 คนที่ 1 ได้ 1× 𝑚 = ครั้งที่ 1 คนที่ 2 ได้ 2× 𝑚 = ครั้งที่ 2 คนที่ 3 ได้ 3× 𝑚 = ครั้งที่ 3 เมื่อ 𝑛 คือ จานวนคน ⋮ 𝑚 คือ มุม คนที่ 𝑛 ได้ 𝑛 × 𝑚 = ครั้งที่ 𝑛
  • 9. สรุปผล จากการดาเนินการหารูปแบบความสัมพันธ์การแบ่งอาหารทรงกลมด้วย ตรีโกณมิติ นาเสนอรูปแบบความสัมพันธ์ได้ดังนี้ 1. หาเส้นผ่านศูนย์กลาง โดยการทาบไม้บรรทัดสัมผัสกับขอบของอาหาร แล้ว ลากจากจุดสัมผัสให้ตั้งฉากกับอาหารที่เราจะใช้แบ่งจากนั้นให้ 𝐴𝐵 แทนเส้น ผ่านศูนย์กลาง 2. แบ่งเส้นผ่านศูนย์กลาง โดยหา รัศมี ( r ) จาก r = 𝐴𝐵 2 โดย ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 3. 360 𝑛 = 𝑚 คนที่ 1 ได้ 1× 𝑚 = ครั้งที่ 1 คนที่ 2 ได้ 2× 𝑚 = ครั้งที่ 2 คนที่ 3 ได้ 3× 𝑚 = ครั้งที่ 3 ⋮ คนที่ 𝑛 ได้ 𝑛 × 𝑚 = ครั้งที่ 𝑛 เมื่อ 𝑛 คือ จานวนคน 𝑚 คือ มุม
  • 10. อภิปรายผล จากการแบ่งอาหารที่มีลักษณะเป็นทรงกลม สามารถหาได้โดยการทราบเส้นผ่านศูนย์กลางของอาหาร นั้น ๆ โดยการทาบไม้บรรทัดสัมผัสกับขอบของอาหาร แล้วลากจากจุดสัมผัสให้ตั้งฉากกับอาหารที่เรา จะใช้แบ่ง จากนั้นให้ 𝐴𝐵 แทนเส้นผ่านศูนย์กลาง แล้วหารัศมี ( r ) จาก r = 𝐴𝐵 2 ต่อจากนั้นจะ เป็นการหมุน หมุนโดยการหาจาก 360 𝑛 เมื่อ n คือ จานวนคน จะได้คนละ 360 𝑛 = m มื่อ m คือ มุม หมุนไปเลื่อย ๆ จนครบจานวนคน ( n ) คือ ครบ 360 องศา โคยตัดทีละ 1 × 𝑚 , 2 × 𝑚 , 3 × 𝑚 , … , 𝑛 × 𝑚 โดยต้องเริ่มจากจุดสัมผัสกับไม้บรรทัดเสมอ สามารถสร้างความสัมพันธ์ในการแบ่งอาหารให้ได้ในปริมาณที่เท่ากัน เพื่อช่วยในการคานวณ ในการแบ่งอาหาร สร้างความเข้าใจในการสรุปความเข้าใจทางคณิตศาสตร์อย่างเป็นรูปธรรม ข้อเสนอแนะ 1. ควรที่จะมีการจัดแบ่งอาหารในลักษะรูปทรงเรขาคณิตแบบอื่น ๆ 2. ควรที่จะมีการวัดปริมาตรอาหารที่แบ่งให้ได้ในปริมาตรที่เท่ากันด้วย 3. ควรที่จะมีการแบ่งในรูปแบบอื่น ๆ ที่ไม่ให้เท่ากัน แล้วแต่ความต้องการ